แผลร้อนใน (อังกฤษ: aphthous stomatitis) หรือ แอ็ฟทา (อังกฤษ: Aphthae) คือ แผลเปิดภายในช่องปากเกิดจากการแตกของเยื่อเมือก
แผลร้อนใน (aphthous stomatitis) | |
---|---|
ร้อนในบริเวณริมฝีปากล่าง | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | K12.0 |
ICD- | 528.2 |
000998 | |
ent/700 derm/486 ped/2672 | |
MeSH | D013281 |
อาการ
แผลร้อนในจะเกิดเป็นจุดแดงหรือตุ่มและต่อมาจะพัฒนาแยกออกมาเป็นแผลเปิด มีลักษณะเป็นสีขาว รูปวงรี โดยมีขอบเป็นสีแดงนูนออกมา มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ซึ่งในบางครั้งอาจจะกว้างถึง 1 ซม. จะมีอาการเจ็บปวดบริเวณแผล
ระยะเวลาของอาการอาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 2 สัปดาห์
สาเหตุ
สาเหตุของ "ร้อนใน" การแพทย์แผนปัจจุบันไม่ทราบเป็นที่ชัดเจน แต่ปัจจัยที่มักจะก่อให้เกิด ได้แก่ ความเครียด การนอนดึก การกัดโดน การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน การมีประจำเดือน หรืออาจเกิดจากการขาด วิตามิน B12 ธาตุเหล็ก หรือกรดโฟลิก อาจลดและป้องกันการเกิดแผลร้อนในได้ด้วยการรับประทานน้ำในปริมาณมาก ๆ หลังหรือพร้อมอาหารในทันที ควรรับประทานน้ำมาก ๆ ระหว่างมื้อแทน เพราะช่วยให้กรดในกระเพาะอาหารทำงานได้ดีขึ้น และลดโอกาสที่กรดจะเอ่อล้นขึ้นมาในท่อหลอดอาหาร ซึ่งจะทำให้ระคายเคืองเยื่อบุหลอดอาหารและช่องปาก จนทำให้เกิดแผลร้อนในได้ง่าย
ชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ
แผลร้อนในจะเรียกว่า "mouth ulcer" หรือ "canker sore" และยังคงเรียก "aphthous stomatitis" หรือ "aphthous ulcer"
อ้างอิง
- Chahine L, Sempson N, Wagoner C (1997). "The effect of sodium lauryl sulfate on recurrent aphthous ulcers: a clinical study". Compend Contin Educ Dent 18 (12) : 1238–40. PMID 9656847.
แหล่งข้อมูลอื่น
- แผลร้อนใน ที่เว็บไซต์ Curlie
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aephlrxnin xngkvs aphthous stomatitis hrux aexftha xngkvs Aphthae khux aephlepidphayinchxngpakekidcakkaraetkkhxngeyuxemuxkaephlrxnin aphthous stomatitis rxninbriewnrimfipaklangbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10K12 0ICD 528 2000998ent 700 derm 486 ped 2672MeSHD013281xakaraephlrxnincaekidepncudaednghruxtumaelatxmacaphthnaaeykxxkmaepnaephlepid milksnaepnsikhaw rupwngri odymikhxbepnsiaedngnunxxkma mikhnadesnphansunyklangpraman 3 mm sunginbangkhrngxaccakwangthung 1 sm camixakarecbpwdbriewnaephl rayaewlakhxngxakarxacekidkhunidtngaet 1 thung 2 spdahsaehtusaehtukhxng rxnin karaephthyaephnpccubnimthrabepnthichdecn aetpccythimkcakxihekid idaek khwamekhriyd karnxnduk karkdodn karepliynaeplngkhxnghxromn karmipracaeduxn hruxxacekidcakkarkhad witamin B12 thatuehlk hruxkrdoflik xacldaelapxngknkarekidaephlrxniniddwykarrbprathannainprimanmak hlnghruxphrxmxaharinthnthi khwrrbprathannamak rahwangmuxaethn ephraachwyihkrdinkraephaaxaharthanganiddikhun aelaldoxkasthikrdcaexxlnkhunmainthxhlxdxahar sungcathaihrakhayekhuxngeyuxbuhlxdxaharaelachxngpak cnthaihekidaephlrxninidngaychuxeriykinphasaxngkvsaephlrxnincaeriykwa mouth ulcer hrux canker sore aelayngkhngeriyk aphthous stomatitis hrux aphthous ulcer xangxingChahine L Sempson N Wagoner C 1997 The effect of sodium lauryl sulfate on recurrent aphthous ulcers a clinical study Compend Contin Educ Dent 18 12 1238 40 PMID 9656847 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aephlrxninaehlngkhxmulxunaephlrxnin thiewbist Curlie