อ็องรี เอมีล เบอนัว มาติส (ฝรั่งเศส: Henri-Émile-Benoît Matisse) (31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นจิตรกร และ ชาวฝรั่งเศส ถือกันว่าเขามีฐานะเป็นหัวหน้าและคนที่สำคัญที่สุดของกลุ่มคติโฟวิสต์ ผลงานการวาดรูปของเขาจะโดดเด่นในการที่ใช้สีสันตัดกันอย่างลื่นไหลลงตัว
อ็องรี มาติส | |
---|---|
ภาพอ็องรี มาติส โดย Carl Van Vechten, 1933. | |
เกิด | อ็องรี เอมีล เบอนัว มาติส 31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 แคว้นนอร์-ปาดกาแล, ฝรั่งเศส |
เสียชีวิต | 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 นิส, ฝรั่งเศส | (84 ปี)
สัญชาติ | ฝรั่งเศส |
ขบวนการ | คติโฟวิสต์, นวยุคนิยม, ลัทธิประทับใจยุคหลัง |
ประวัติ
อ็องรี มาติส เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 ที่เมืองเลอกาโต-ก็องเบรซี (Le Cateau-Cambrésis) แคว้นนอร์-ปาดกาแล (Nord-Pas-de-Calais) ประเทศฝรั่งเศส เติบโตในโบแอ็งน็องแวร์ม็องดัว (Bohain-en-Vermandois) เป็นบุตรชายของพ่อค้ามีฐานะมั่งคั่งคนหนึ่งในฝรั่งเศส บิดาต้องการให้เขาเป็นนักกฎหมาย ซึ่งเป็นอาชีพที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอาชีพที่ดีในสังคมฝรั่งเศสในสมัยนั้น ในตอนแรกมาติสทำตามความปรารถนาของครอบครัวโดยการเข้าศึกษาวิชากฎหมาย จากนั้นเขาได้กลายเป็นจิตรกรโดยบังเอิญ เมื่อเขาล้มป่วยลงในปี ค.ศ.1889 ขณะนั้นเขายังเป็นนักศึกษากฎหมายอยู่ เพื่อนคนหนึ่งได้แนะนำให้เขาหัดวาดรูปเพื่อเป็นการแก้เบื่อหน่าย จนกระทั่งเขาหายป่วยเขาจึงตัดสินใจเลิกเรียนวิชากฎหมายและเข้าศึกษาที่โรงเรียนวิจิตรศิลป์ ในปี ค.ศ. 1895 มาติสได้เป็นศิษย์ของกุสตาฟว์ โมโร อาจารย์ศิลปะคนสำคัญในสมัยนั้น ขณะที่ศึกษาอยู่ในสถาบันสอนศิลปะแห่งนั้นเขาได้พบกับฌอร์ฌ รูโอ, อาลแบร์ มาร์แก ฯลฯ ซึ่งต่อมาเป็นผู้ร่วมคิดค้นคนสำคัญของศิลปะกลุ่มโฟวิสต์
อิทธิพล
ต่อมาในปี ค.ศ.1897 มาติสเริ่มต้นศึกษาแนวคิดของศิลปินสมัยลัทธิประทับใจ ปอล เซซานเป็นศิลปินที่อิทธิพลต่อมาติสอย่างมาก โดยเขายกย่องว่าผลงานของเซซานมีความโดดเด่นโดยเฉพาะเรื่องของการใช้สี ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทำให้เกิดมวลปริมาตรที่มีความหนาแน่น โดยมาติสได้เขียนไว้ในบันทึกใจความว่า “ผลงานของเซซานอยู่บนรากฐานในพลังของเส้นและสี” นอกจากเซซานแล้ว ยังมีศิลปินกลุ่มอื่นที่เขาให้ความสนใจได้แก่ กลุ่มลัทธิประทับใจใหม่ ศิลปินคนสำคัญในยุคนี้เช่น ปอล โกแก็ง และปอล ซีญัก มาติสกล่าวว่า “กลุ่มลัทธิประทับใจใหม่ใช้กรรมวิธีการแต้มสีเป็นจุด เท่ากับเป็นการทำลายเอกภาพของสี เขาต้องการสร้างงานศิลปะให้มีการเคลื่อนไหว ไม่ใช่ดูนิ่งเหมือนพวกลัทธิประทับใจได้กระทำ และไม่ได้เป็นเครื่องบันทึกธรรมชาติที่ผ่านไปเฉย ๆ ดังเช่นที่ศิลปินลัทธิประทับใจทำ” บันทึกที่กล่าวมาล้วนอยู่ในบทความเรื่อง ‘คำให้การของจิตรกร’ ซึ่งมาติสตีพิมพ์ในวารสารเลอกรังค์รีวิวเมื่อปี ค.ศ.1908
ภายหลังในปี ค.ศ.1899 มาติสได้พบเดอแร็งและวลาแม็งก์ ซึ่งเป็นศิลปินที่นำไปสู่การเกิดกลุ่มคติโฟวิสต์ในเวลาต่อมา อีกทั้งมาติสยังได้สร้างงานและเปิดเผยแพร่ข้อมูลในบันทึกเกี่ยวกับศิลปะออกมา ทำให้ศิลปินรุ่นต่อมาต่างรู้สึกว่าพวกศิลปินรุ่นเก่าในอดีตและศิลปินสมัยใหม่บางพวก เช่น พวกสัญลักษณ์นิยมนั้นต่างปิดบังคุณค่าอันบริสุทธิ์ของภาพไว้ ทำให้พวกเขาไม่ยอมรับในเรื่องการใช้สีที่ดูลี้ลับแต่เพียงอย่างเดียว พวกลัทธิสัญลักษณ์นิยมเริ่มเสื่อมลง ขณะเดียวกันการใช้สีในภาพวาดขนาดเล็กของเปอร์เซียและลายผ้าของอียิปต์โบราณได้เข้ามามีบทบาทต่อความคิดของมาติสและกลุ่มคติโฟวิสต์ โดยกล่าวว่า รูปแบบที่เหมือนตามธรรมชาติจะต้องเปลี่ยนรูปไป แสงจะต้องไม่ลอกเลียนแบบธรรมชาติ แต่ต้องแสดงออกให้เห็นถึงความรู้สึกของสี และมีความงดงามคล้ายศิลปะการตกแต่ง ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นจุดมุ่งหมายของมาติสและศิลปินกลุ่มคติโฟวิสต์
คติโฟวิสต์
เป็นลัทธิที่เกิดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 Fauvism เป็นคำที่มาจากภาษาฝรั่งเศสแปลว่า สัตว์ป่า (Wild-Beast) โดยใช้เป็นชื่อเรียกศิลปินกลุ่มหนึ่งที่แสดงงานในปี ค.ศ.1905 ที่งานแสดงศิลปะชาลอนโตตอน ในงานนั้นมีผลงานปะปนกันหลากหลาย ได้แก่ผลงานประติมากรรมของโดนาเตลโลแห่งยุคเรอเนสซองส์ ส่วนศิลปะสมัยใหม่คือผลงานที่ให้ความรู้สึกที่รุนแรง ดุดัน หยาบคายอีกทั้งยังให้ความรู้สึกตื่นเต้นในเวลาเดียวกัน จนทำให้หลุยส์ โวแซล (Louis Vauxcelles) นักวิจารณ์ศิลปะให้ความเห็นไว้ว่า “โดนาเตลโลถูกล้อมรอบด้วยฝูงสัตว์ป่า” ศิลปินกลุ่มดังกล่าวจึงนำคำว่า “Fauvism” มาตั้งเป็นชื่อกลุ่มและลัทธิของตน
แนวคิดของศิลปินคติโฟวิสต์
กลุ่มคติโฟวิสต์เชื่อว่าศิลปะสร้างผลงงานโดยการแสดงออกถึงความรู้สึกภายในด้วยเส้นและสี สามารถแสดงถึงความเด็ดเดี่ยวและกล้าหาญในการแสดงออกถึงอารมณ์ของศิลปิน โดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงสิ่งที่ตาเห็น แต่คำนึงถึงความรู้สึกและประสบการณ์ของศิลปินที่เกิดขึ้นโดยตรง ซึ่งเป็นการตอบโต้แนวความคิดของกลุ่มลัทธิประทับใจ ซึ่งวาดตามสิ่งที่ตาเห็น แต่สิ่งที่ศิลปินกลุ่มคติโฟวิสต์นั้นได้สร้างผลงานจิตรกรรมแนวใหม่ขึ้นมา คือ มีรูปทรงอิสระ ใช้สีที่ตัดกันรุนแรง พวกเขาสร้างขึ้นตามสัญชาตญาณแห่งการแสดงออกอย่างเต็มที่ ผลงานที่ปรากฏจะให้ความรู้สึกสนุกสนานในลีลาของรอยแปรง จังหวะของสิ่งต่าง ๆ มีอารมณ์จินตนาการและภาพลักษณ์แปลกแยกออกไปจากการวาดของพวกลัทธิประทับใจ ซึ่งจะเล่นแต่เรื่องของสี แสง และบรรยากาศตามสภาพที่เป็นอยู่ในธรรมชาติ กลุ่มคติโฟวิสต์ได้นำลีลาของเส้นมาสังเคราะห์ใช้ใหม่ เช่นการตัดเส้นรอบนอกของสิ่งต่าง ๆ เพื่อเน้นให้เด่นชัดดัดแปลงรูปทรงที่ไม่จำเป็นให้มีรูปแบบเรียบง่าย ต้องการแสดงทั้งรูปทรงและแสงไปพร้อม ๆ กัน สีที่จิตรกรกลุ่มนี้นิยมใช้เป็นอย่างมาก ได้แก่ สีเขียว สีส้ม สีน้ำเงิน สีแดงของอิฐ และสีม่วง พวกเขาใช้สีดังกล่าวนี้ให้ตัดขัดแย้งกันอย่างรุนแรง แต่ประสานกันได้อย่างเป็นเอกภาพ ผลที่ออกมาของภาพบางภาพดูนุ่มนวลและเด่นชัด แนวคิดของกลุ่มคติโฟวิสต์นี้ จังหวะและลีลาของสีนั้นจะทำหน้าที่สำคัญมากกว่าสิ่งใดทั้งหมด สีจะมีความสำคัญมากกว่าเรื่องของวิชาทัศนียภาพและเรื่องรูปทรง
จิตรกรคนสำคัญอื่น ๆ ของคติโฟวิสต์ได้แก่ มอริส วลาแม็งก์ (Maurice Vlaminck), อ็องเดร เดอแร็ง (Andre Derain), ฌอร์ฌ รูโอ (Georges Rouault) เป็นต้น ความเคลื่อนไหวของศิลปินกลุ่มคติโฟวิสต์เกิดขึ้นและหมดความนิยมลงในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น แต่ผลของความคิดนี้กลับไปผูกพันคล้ายคลึงกับคตินิยมทางศิลปะอีกแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า กลุ่มลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ซึ่งเจริญในประเทศเยอรมนี และต่อมาทั้งสองกลุ่มนี้กลายเป็นต้นเค้าทำให้เกิดศิลปะกลุ่มนิยมนามธรรมไปในที่สุด
ชีวิตบั้นปลาย
ในปี พ.ศ. 2484 เขาป่วยเป็นโรคมะเร็งและเข้ารับการผ่าตัด จนต้องนั่งรถเข็น มาติสไม่ย่อท้อปล่อยให้การนั่งรถเข็นเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน ด้วยความช่วยเหลือจากผู้อื่นเขาเริ่มสร้างงานศิลปะแบบตัดปะกระดาษที่เรียกว่า "gouaches découpés" การทดลองนี้ทำให้เขาได้ทำงานศิลปะในสื่อชนิดใหม่อันเรียบง่ายแต่สนุกสนานรื่นเริงด้วยสีสันและรูปทรงเรขาคณิต
มาติส ประสบความสำเร็จในชั่วชีวิตเขาในฐานะจิตรกร ประติมากร และช่างพิมพ์ ปัจจุบันภาพเขียนของมาติส มีค่าสูงถึง 17 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี ค.ศ. 2002 ประติมากรรม Reclining Nude I (Dawn) ของเขาขายได้ 9.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นสถิติที่สูงสำหรับประติมากรรมของศิลปินคนหนึ่ง
มาติสเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลว ในวัย 84 ปี ที่เมืองนิส ประเทศฝรั่งเศส
ผลงาน
ด้านจิตรกรรม
ในด้านงานจิตรกรรมมาติสได้ผลิตงานออกมาเรื่อย ๆ งานของเขาถือเป็นผู้นำของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะโฟวิสต์ เขามีนิทรรศการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1901 และมีนิทรรศการเดี่ยวในปีค.ศ. 1904 การใช้สีสันสดใสชัดเจนของเขาโดดเด่นจนเป็นที่สังเกตเห็นได้ชัด
การเสื่อมลงของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะโฟวิสต์ ในปีค.ศ. 1906 มิได้มีผลกับชื่อเสียงของมาติส งานของเขาก้าวหน้าไปไกลกว่าและผลงานชั้นดีที่เกิดขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1901 ถึง ค.ศ. 1912
ด้านประติมากรรม
ในวงการประติมากรด้วยกัน แม้ว่าจะไม่ค่อยมีคนนิยมชมชอบในประติมากรรมของมาติส แต่ในหมู่นักวิจารณ์และนักประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยใหม่ต่างก็เห็นว่า งานของเขามีความสำคัญไม่น้อยไปกว่างานจิตรกรรมของเขาในด้านของการบุกเบิกรูปแบบ และแนวคิดใหม่ ในงานประติมากรรมของเขาก็ใช้หลักเดียวกันกับจิตรกรรมคือการทำขึ้นมาเพื่อคัดค้านโต้ตอบวิธีการที่ทำแค่ตาเห็นของลัทธิประทับใจ
อ้างอิง
- กำจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. ()
- จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552. ()
- วุฒิ วัฒนสิน. ประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ สิปประภา, กรุงเทพ, 2552. ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha xxngri exmil ebxnw matis frngess Henri Emile Benoit Matisse 31 thnwakhm kh s 1869 3 phvscikayn kh s 1954 epncitrkr aela chawfrngess thuxknwaekhamithanaepnhwhnaaelakhnthisakhythisudkhxngklumkhtiofwist phlngankarwadrupkhxngekhacaoddedninkarthiichsisntdknxyanglunihllngtwxxngri matisphaphxxngri matis ody Carl Van Vechten 1933 ekidxxngri exmil ebxnw matis 31 thnwakhm kh s 1869 1869 12 31 aekhwnnxr padkaael frngessesiychiwit3 phvscikayn kh s 1954 1954 11 03 84 pi nis frngesssychatifrngesskhbwnkarkhtiofwist nwyukhniym lththiprathbicyukhhlngprawtixxngri matis ekidemuxwnthi 31 thnwakhm kh s 1869 thiemuxngelxkaot kxngebrsi Le Cateau Cambresis aekhwnnxr padkaael Nord Pas de Calais praethsfrngess etibotinobaexngnxngaewrmxngdw Bohain en Vermandois epnbutrchaykhxngphxkhamithanamngkhngkhnhnunginfrngess bidatxngkarihekhaepnnkkdhmay sungepnxachiphthiidrbkarykyxngwaepnxachiphthidiinsngkhmfrngessinsmynn intxnaerkmatisthatamkhwamprarthnakhxngkhrxbkhrwodykarekhasuksawichakdhmay caknnekhaidklayepncitrkrodybngexiy emuxekhalmpwylnginpi kh s 1889 khnannekhayngepnnksuksakdhmayxyu ephuxnkhnhnungidaenanaihekhahdwadrupephuxepnkaraekebuxhnay cnkrathngekhahaypwyekhacungtdsinicelikeriynwichakdhmayaelaekhasuksathiorngeriynwicitrsilp inpi kh s 1895 matisidepnsisykhxngkustafw omor xacarysilpakhnsakhyinsmynn khnathisuksaxyuinsthabnsxnsilpaaehngnnekhaidphbkbchxrch ruox xalaebr maraek l sungtxmaepnphurwmkhidkhnkhnsakhykhxngsilpaklumofwistxiththiphltxmainpi kh s 1897 matiserimtnsuksaaenwkhidkhxngsilpinsmylththiprathbic pxl essanepnsilpinthixiththiphltxmatisxyangmak odyekhaykyxngwaphlngankhxngessanmikhwamoddednodyechphaaeruxngkhxngkarichsi sungmikhwamsmphnthsungknaelakn thaihekidmwlprimatrthimikhwamhnaaenn odymatisidekhiyniwinbnthukickhwamwa phlngankhxngessanxyubnrakthaninphlngkhxngesnaelasi nxkcakessanaelw yngmisilpinklumxunthiekhaihkhwamsnicidaek klumlththiprathbicihm silpinkhnsakhyinyukhniechn pxl okaekng aelapxl siyk matisklawwa klumlththiprathbicihmichkrrmwithikaraetmsiepncud ethakbepnkarthalayexkphaphkhxngsi ekhatxngkarsrangngansilpaihmikarekhluxnihw imichduningehmuxnphwklththiprathbicidkratha aelaimidepnekhruxngbnthukthrrmchatithiphanipechy dngechnthisilpinlththiprathbictha bnthukthiklawmalwnxyuinbthkhwameruxng khaihkarkhxngcitrkr sungmatistiphimphinwarsarelxkrngkhriwiwemuxpi kh s 1908 phayhlnginpi kh s 1899 matisidphbedxaerngaelawlaaemngk sungepnsilpinthinaipsukarekidklumkhtiofwistinewlatxma xikthngmatisyngidsrangnganaelaepidephyaephrkhxmulinbnthukekiywkbsilpaxxkma thaihsilpinruntxmatangrusukwaphwksilpinrunekainxditaelasilpinsmyihmbangphwk echn phwksylksnniymnntangpidbngkhunkhaxnbrisuththikhxngphaphiw thaihphwkekhaimyxmrbineruxngkarichsithidulilbaetephiyngxyangediyw phwklththisylksnniymerimesuxmlng khnaediywknkarichsiinphaphwadkhnadelkkhxngepxresiyaelalayphakhxngxiyiptobranidekhamamibthbathtxkhwamkhidkhxngmatisaelaklumkhtiofwist odyklawwa rupaebbthiehmuxntamthrrmchaticatxngepliynrupip aesngcatxngimlxkeliynaebbthrrmchati aettxngaesdngxxkihehnthungkhwamrusukkhxngsi aelamikhwamngdngamkhlaysilpakartkaetng sungsingehlaniepncudmunghmaykhxngmatisaelasilpinklumkhtiofwistkhtiofwistepnlththithiekidinchwngkhriststwrrsthi 19 Fauvism epnkhathimacakphasafrngessaeplwa stwpa Wild Beast odyichepnchuxeriyksilpinklumhnungthiaesdngnganinpi kh s 1905 thinganaesdngsilpachalxnottxn inngannnmiphlnganpapnknhlakhlay idaekphlnganpratimakrrmkhxngodnaetlolaehngyukherxenssxngs swnsilpasmyihmkhuxphlnganthiihkhwamrusukthirunaerng dudn hyabkhayxikthngyngihkhwamrusuktunetninewlaediywkn cnthaihhluys owaesl Louis Vauxcelles nkwicarnsilpaihkhwamehniwwa odnaetlolthuklxmrxbdwyfungstwpa silpinklumdngklawcungnakhawa Fauvism matngepnchuxklumaelalththikhxngtnaenwkhidkhxngsilpinkhtiofwistklumkhtiofwistechuxwasilpasrangphlngnganodykaraesdngxxkthungkhwamrusukphayindwyesnaelasi samarthaesdngthungkhwameddediywaelaklahayinkaraesdngxxkthungxarmnkhxngsilpin odyimcaepntxngkhanungthungsingthitaehn aetkhanungthungkhwamrusukaelaprasbkarnkhxngsilpinthiekidkhunodytrng sungepnkartxbotaenwkhwamkhidkhxngklumlththiprathbic sungwadtamsingthitaehn aetsingthisilpinklumkhtiofwistnnidsrangphlngancitrkrrmaenwihmkhunma khux mirupthrngxisra ichsithitdknrunaerng phwkekhasrangkhuntamsychatyanaehngkaraesdngxxkxyangetmthi phlnganthipraktcaihkhwamrusuksnuksnaninlilakhxngrxyaeprng cnghwakhxngsingtang mixarmncintnakaraelaphaphlksnaeplkaeykxxkipcakkarwadkhxngphwklththiprathbic sungcaelnaeteruxngkhxngsi aesng aelabrryakastamsphaphthiepnxyuinthrrmchati klumkhtiofwistidnalilakhxngesnmasngekhraahichihm echnkartdesnrxbnxkkhxngsingtang ephuxennihednchdddaeplngrupthrngthiimcaepnihmirupaebberiybngay txngkaraesdngthngrupthrngaelaaesngipphrxm kn sithicitrkrklumniniymichepnxyangmak idaek siekhiyw sism sinaengin siaedngkhxngxith aelasimwng phwkekhaichsidngklawniihtdkhdaeyngknxyangrunaerng aetprasanknidxyangepnexkphaph phlthixxkmakhxngphaphbangphaphdunumnwlaelaednchd aenwkhidkhxngklumkhtiofwistni cnghwaaelalilakhxngsinncathahnathisakhymakkwasingidthnghmd sicamikhwamsakhymakkwaeruxngkhxngwichathsniyphaphaelaeruxngrupthrng citrkrkhnsakhyxun khxngkhtiofwistidaek mxris wlaaemngk Maurice Vlaminck xxngedr edxaerng Andre Derain chxrch ruox Georges Rouault epntn khwamekhluxnihwkhxngsilpinklumkhtiofwistekidkhunaelahmdkhwamniymlnginpraethsfrngessethann aetphlkhxngkhwamkhidniklbipphukphnkhlaykhlungkbkhtiniymthangsilpaxikaebbhnungsungeriykwa klumlththisaaedngphlngxarmn sungecriyinpraethseyxrmni aelatxmathngsxngklumniklayepntnekhathaihekidsilpaklumniymnamthrrmipinthisudchiwitbnplayinpi ph s 2484 ekhapwyepnorkhmaerngaelaekharbkarphatd cntxngnngrthekhn matisimyxthxplxyihkarnngrthekhnepnxupsrrkhtxkarthangan dwykhwamchwyehluxcakphuxunekhaerimsrangngansilpaaebbtdpakradasthieriykwa gouaches decoupes karthdlxngnithaihekhaidthangansilpainsuxchnidihmxneriybngayaetsnuksnanruneringdwysisnaelarupthrngerkhakhnit matis prasbkhwamsaercinchwchiwitekhainthanacitrkr pratimakr aelachangphimph pccubnphaphekhiynkhxngmatis mikhasungthung 17 landxllarshrth inpi kh s 2002 pratimakrrm Reclining Nude I Dawn khxngekhakhayid 9 2 landxllarshrth nbepnsthitithisungsahrbpratimakrrmkhxngsilpinkhnhnung matisesiychiwitdwyorkhhwiclmehlw inwy 84 pi thiemuxngnis praethsfrngessphlngandancitrkrrm indanngancitrkrrmmatisidphlitnganxxkmaeruxy ngankhxngekhathuxepnphunakhxngkarekhluxnihwthangsilpainlksnaofwist ekhaminithrrskarkhrngaerkinpi kh s 1901 aelaminithrrskarediywinpikh s 1904 karichsisnsdischdecnkhxngekhaoddedncnepnthisngektehnidchd karesuxmlngkhxngkarekhluxnihwthangsilpainlksnaofwist inpikh s 1906 miidmiphlkbchuxesiyngkhxngmatis ngankhxngekhakawhnaipiklkwaaelaphlnganchndithiekidkhunrahwang kh s 1901 thung kh s 1912 danpratimakrrm inwngkarpratimakrdwykn aemwacaimkhxymikhnniymchmchxbinpratimakrrmkhxngmatis aetinhmunkwicarnaelankprawtisastrsilpasmyihmtangkehnwa ngankhxngekhamikhwamsakhyimnxyipkwangancitrkrrmkhxngekhaindankhxngkarbukebikrupaebb aelaaenwkhidihm innganpratimakrrmkhxngekhakichhlkediywknkbcitrkrrmkhuxkarthakhunmaephuxkhdkhanottxbwithikarthithaaekhtaehnkhxnglththiprathbicxangxingkacr sunphngssri silpasmyihm krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2554 ISBN 978 974 03 2765 3 ciraphthn phitrpricha olksilpastwrrsthi 20 krungethph emuxngobran 2552 ISBN 974 7383 32 2 wuthi wthnsin prawtisastrsilpa krungethph sipprapha krungethph 2552 ISBN 978 616 7133 03 4 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk