ประมวลเรื่องปรัมปราโรมัน หรือ ประมวลเรื่องปรัมปราละติน (อังกฤษ: Roman mythology หรือ Latin mythology) หมายถึงความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในและเมืองสำคัญ ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีของโรมันโบราณ ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจากประมวลเรื่องปรัมปรากรีก อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับประมวลเรื่องปรัมปรากรีกในสมัยต่อมา
ความเชื่อสมัยแรก
โรมันไม่มีบทบรรยายเกี่ยวกับเทพเจ้าที่เทียบเท่ากับเรื่องราวของ “” (Titanomachy) หรือ การล่อลวงซูสโดยเทพีเฮราเช่นเดียวกับของกรีก จนกระทั่งกวีโรมันเริ่มนำโครงสร้างของกรีกมาใช้ในตอนปลายสมัยสาธารณรัฐโรมัน แต่สิ่งที่โรมันมีคือ:
- ระบบอันมีโครงสร้างที่แน่นหนาของ ประเพณีการทำพิธี, วิทยาลัยนักบวช และ ระบบกลุ่มทวยเทพที่เกี่ยวข้องกัน (pantheons of related gods)
- ตำนานอันเต็มไปด้วยมนต์ขลังทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่าง ๆ โดยบุคคลต่าง ๆ ที่บางครั้งก็กล่าวกันว่าได้รับความช่วยเหลือจากเทพ
โครงสร้างของความเชื่อ การให้คำนิยาม และความคิดที่เกี่ยวกับเทพเจ้าของโรมันค่อนข้างจะแตกต่างเป็นอันมากจากของกรีก ตัวอย่างเช่นถ้าถามชาวกรีกเกี่ยวกับเทพีดีมีเทอร์ก็อาจจะได้รับคำตอบเป็นเรื่องราวที่เป็นที่รู้จักกันถึงความโศกเศร้าของดีมีเทอร์จากการลักตัวเพอร์เซฟะนีโดยเฮดีส แต่ชาวโรมันโบราณจะเล่าว่าเทพีเซเรสมีนักบวชที่เรียกว่าผู้มีอาวุโสน้อยกว่าฟลาเมนของเทพจูปิเตอร์, เทพมาร์ส และ แต่อาวุโสมากกว่าฟลาเมนของเทพีฟลอรา และ และอาจจะบอกต่อไปว่าเป็นเทพีหนึ่งในกลุ่มเทพีสามองค์ของการเกษตรกรรม และยิ่งกว่านั้นก็อาจจะสามารถลำดับกลุ่มเทพรองที่มีหน้าที่เฉพาะในการเป็นบริวารของเทพีดีมีเทอร์ ที่รวมทั้งซาร์ริทอร์ (ผู้กำจัดวัชพืช), เมสซอร์ (เทพแห่งการเก็บเกี่ยว), คอนเว็คเตอร์ (เทพแห่งการขนผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว), คอนดิทอร์ (เทพแห่งการกักตุนเสบียง), อินซิทอร์ (เทพแห่งการหว่าน) และเทพอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกันอีกเป็นอันมาก ซึ่งไม่ใช่การบรรยายเป็นเรื่อง ๆ เป็นราว แต่เป็นการลำดับเทพตามอันดับของความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน และ ของความสัมพันธ์ระหว่างเทพกับมนุษย์
ศาสนาดั้งเดิมของโรมันในสมัยแรก ๆ ได้รับการขยายพัฒนาต่อมาโดยการเพิ่มเติมความเชื่ออีกมากมายที่บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง และโดยการผสานประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเข้ามาเป็นอันมาก ความรู้เกี่ยวกับศาสนาของโรมันโบราณเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่มิได้มาจากนักเขียนร่วมสมัยแต่เป็นความรู้ที่ได้มาจากนักเขียนในสมัยต่อมาที่พยายามแสวงหาประเพณีโบราณสิ่งที่สูญหายไป เช่นจากนักปราชญ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 นักเขียนคลาสสิกผู้อื่นเช่นกวีโอวิด ใน “” (Fasti) ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากโครงสร้างของอารยธรรมเฮเลนนิสติค ที่มักจะใช้ความเชื่อของกรีกในการปิดช่องว่างที่มีอยู่ของความเชื่อโรมันในงานเขียนของตนเอง
ประมวลเรื่องปรัมปราโรมันสมัยแรก
ตรงกันข้ามกับการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับเทพต่าง ๆ โรมันจะมีตำนานมากมายที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่าง ๆ นอกไปจากเรื่องราวที่เล่าขานกันตามท้องถิ่น ก็มีการเพิ่มเติมตำนานวีรบุรุษของกรีกที่ปะติดปะต่อกับตำนานพื้นบ้านโรมันมาตั้งแต่สมัยแรก ตัวอย่างเช่นอีเนียสของโรมันก็ถูกดึงไปเป็นสามีของพระราชธิดาของกษัตริย์ผู้เป็นบรรพบุรุษของชนละติน ฉะนั้นจึงเป็นบรรพบุรุษของรอมิวลุส และรีมุส ฉะนั้นตำนานเกี่ยวกับโทรจันจึงกลายเป็นตำนานลึกลับเกี่ยวกับบรรบุรุษของชาวโรมัน ซึ่งเป็นสาเหตุให้ทหารม้าโรมันแต่งเครื่องแบบที่มาจากภาพวาดของโทรจัน กวีนิพนธ์ “” (Aeneid) และ หนังสือสองสามเล่มแรกโดยนักประวัติศาสตร์โรมันลิวี” (Livy) เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดเกี่ยวกับปรัมปราวิทยาของมนุษย์ดังกล่าว
ประเพณีปฏิบัติต่าง ๆ โดยนักบวชของทางการของโรมันก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สร้างความแตกต่างของเทพสองระดับ “di indigetes” และ “di novensides”/“novensiles” กลุ่ม “di indigetes” หมายถึงทวยเทพดั้งเดิมของโรมัน ชื่อและรายละเอียดของเทพกลุ่มนี้ระบุด้วยตำแหน่งของนักบวชรุ่นแรกที่สุดและโดยวันเทศกาลที่เฉพาะเจาะจงที่มีด้วยกัน 30 องค์ที่มีเทศกาลที่ระบุอย่างเฉพาะเจาะจง ส่วน “di novensides”/“novensiles” คือเทพรุ่นต่อมาที่เข้ามาตามเมืองต่าง ๆ ในภายหลัง และมักจะทราบเวลาที่เข้ามาตามความจำเป็นของสถานการณ์หรือวิกฤติการณ์ ทวยเทพดั้งเดิมนอกไปจาก “di indigetes” เป็นกลุ่มทวยเทพที่เรียกว่า “เทพเฉพาะกิจ” เช่นเทพแห่งการเก็บเกี่ยว เศษชิ้นส่วนจากประเพณีที่เกี่ยวข้องกับกิจการต่าง ๆ เช่นการไถหรือการหว่านทำให้เราทราบว่ากระบวนการทุกขั้นตอนของกิจการของโรมันต่างก็มีเทพเฉพาะกิจต่าง ๆ กันไป ชื่อของเทพก็จะมาจากคำกิริยาของกิจการที่กระทำ เทพเหล่านี้ก็จะจัดเป็นกลุ่มภายใต้กลุ่มกว้าง ๆ หรือ กลุ่มเทพสนับสนุน (attendant หรือ auxiliary gods) ผู้ที่จะได้รับการกล่าวนามพร้อมกับเทพระดับสูง
เทพเฉพาะกิจและเทศกาลที่เกี่ยวข้องทำให้เราทราบว่าชาวโรมันสมัยแรกนอกจากจะเป็นกลุ่มชนที่เป็นสังคมเกษตรกรรม แต่ยังเป็นสังคมที่นิยมการต่อสู้ และ มักจะนิยมการทำสงคราม นอกจากจะมีเทพเฉพาะกิจในด้านการเกษตรแล้วชาวโรมันก็ยังมีเทพเฉพาะกิจในกิจการประจำวันที่ต้องทำการสักการบูชาตามความเหมาะสมด้วย ฉะนั้นเทพแจนัส และ ก็จะเป็นผู้รักษาประตูและเตาผิง, พิทักษ์ที่ดินและบ้าน, พิทักษ์ท้องทุ่ง, เทพแซทเทิร์นพิทักษ์การหว่าน, เทพีเซเรสพิทักษ์การเจริญเติบโตของธัญพืช, พิทักษ์ผลไม้ และ พิทักษ์ธัญญาหารและสถานที่เก็บรักษาธัญญาหาร และ พิทักษ์การเก็บเกี่ยวและเป็นเทพีแห่งการเจริญพันธุ์ แม้แต่เทพจูปิเตอร์ผู้เป็นประมุขของทวยเทพก็ยังทรงเป็นเทพที่ช่วยให้ฝนตกเพื่อช่วยในการเกษตรกรรม และคุณลักษณะทั่วไปของพระองค์จากการที่ทรงมีสายฟ้าเป็นอาวุธทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้อำนวยการของกิจการที่มนุษย์กระทำ และการที่ทรงมีอำนาจอันยิ่งใหญ่และกว้างขวางทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์กิจการทางทหารของชาวโรมันที่นอกไปจากในบริเวณเขตแดนของตนเอง เทพเจ้าสำคัญในสมัยแรกก็ได้แก่เทพมาร์ส และ ผู้มักจะเป็นเทพในกลุ่มเดียวกัน เทพมาร์สเป็นเทพเจ้าแห่งการสงครามที่ทำการฉลองกันในเดือนมีนาคมและตุลาคม ส่วนเชื่อกันโดยนักวิชาการสมัยใหม่ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งประชาคมผู้ถืออาวุธในยามสันติ
ในกลุ่มเทพของสมัยแรกก็มีไตรเทพ (triad) ที่สำคัญคือ เทพจูปิเตอร์, เทพมาร์ส และ เทพในสมัยแรกมักจะไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สำคัญ และประวัติก็ไม่มีเรื่องราวของการสมรสหรือบรรพบุรุษ ซึ่งไม่เหมือนกับเทพเจ้ากรีกเพราะจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์เดินดิน ฉะนั้นจึงแทบจะไม่มีเรื่องราวของกิจการที่กระทำ
เทพจากต่างแดน
เมื่อจักรวรรดิโรมันขยายตัวออกไปก็นำเอาประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของบ้างเมืองต่าง ๆ เข้ามาผสมผสานกับเทพเจ้าของโรมันเอง ชาวโรมันที่ไปทำการพิชิตดินแดนต่าง ๆ ก็มักจะให้เกียรติแก่เทพเจ้าของท้องถิ่นที่ทำการพิชิตได้ในระดับเดียวกับเทพเจ้าเดิมของโรมันเอง และในบางกรณีชาวโรมันก็จะอัญเชิญเทพเจ้าจากต่างแดนเข้ามาพำนักในเทวสถานในกรุงโรมที่จัดตั้งให้
อ้างอิง
- Alan Cameron Greek Mythography in the Roman World (2005) OUP, Oxford (reviewed by T P Wiseman in Times Literary Supplement 13 May 2005 page 29)
- Lexicon Iconographicum Mythologiae Classicae (LIMC) (1981-1999) Artemis-Verlag, 9 volumes.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ประมวลเรื่องปรัมปราโรมัน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
pramwleruxngprmpraormn hrux pramwleruxngprmpralatin xngkvs Roman mythology hrux Latin mythology hmaythungkhwamechuxekiywkbethphecakhxngphuthitngthinthanxyuinaelaemuxngsakhy inkhabsmuthrxitalikhxngormnobran thixaccaaebngidepnsxngswn swnhnungthiepnkhwamechuxsmytxmaaelakhwamechuxthangwrrnkrrmthiprakxbdwykhwamechuxthimacakpramwleruxngprmprakrik xikswnhnungepnkhwamechuxedimthiekidkhunkxnhnaxiththiphlkrikthimilksnathikhxnkhangcaaetktangkbpramwleruxngprmprakrikinsmytxmaethphiesersethphiphuphithkskarecriyetibotkhxngthyphuchkhwamechuxsmyaerkormnimmibthbrryayekiywkbethphecathiethiybethakberuxngrawkhxng Titanomachy hrux karlxlwngsusodyethphiehraechnediywkbkhxngkrik cnkrathngkwiormnerimnaokhrngsrangkhxngkrikmaichintxnplaysmysatharnrthormn aetsingthiormnmikhux rabbxnmiokhrngsrangthiaennhnakhxng praephnikarthaphithi withyalynkbwch aela rabbklumthwyethphthiekiywkhxngkn pantheons of related gods dd tananxnetmipdwymntkhlngthangprawtisastrthiekiywkbkarkxtngaelakhwamrungeruxngkhxngemuxngtang odybukhkhltang thibangkhrngkklawknwaidrbkhwamchwyehluxcakethph dd okhrngsrangkhxngkhwamechux karihkhaniyam aelakhwamkhidthiekiywkbethphecakhxngormnkhxnkhangcaaetktangepnxnmakcakkhxngkrik twxyangechnthathamchawkrikekiywkbethphidimiethxrkxaccaidrbkhatxbepneruxngrawthiepnthiruckknthungkhwamoskesrakhxngdimiethxrcakkarlktwephxresfaniodyehdis aetchawormnobrancaelawaethphiesersminkbwchthieriykwaphumixawuosnxykwaflaemnkhxngethphcupietxr ethphmars aela aetxawuosmakkwaflaemnkhxngethphiflxra aela aelaxaccabxktxipwaepnethphihnunginklumethphisamxngkhkhxngkarekstrkrrm aelayingkwannkxaccasamarthladbklumethphrxngthimihnathiechphaainkarepnbriwarkhxngethphidimiethxr thirwmthngsarrithxr phukacdwchphuch emssxr ethphaehngkarekbekiyw khxnewkhetxr ethphaehngkarkhnphlphlitcakkarekbekiyw khxndithxr ethphaehngkarkktunesbiyng xinsithxr ethphaehngkarhwan aelaethphxun inklumediywknxikepnxnmak sungimichkarbrryayepneruxng epnraw aetepnkarladbethphtamxndbkhxngkhwamsmphnthknxyangsbsxn aela khxngkhwamsmphnthrahwangethphkbmnusy sasnadngedimkhxngormninsmyaerk idrbkarkhyayphthnatxmaodykarephimetimkhwamechuxxikmakmaythibangkhrngkkhdaeyngknexng aelaodykarphsanpramwleruxngprmprakrikekhamaepnxnmak khwamruekiywkbsasnakhxngormnobranethathiynghlngehluxxyumiidmacaknkekhiynrwmsmyaetepnkhwamruthiidmacaknkekhiyninsmytxmathiphyayamaeswnghapraephniobransingthisuyhayip echncaknkprachyinkhriststwrrsthi 1 nkekhiynkhlassikphuxunechnkwioxwid in Fasti idrbxiththiphlepnxnmakcakokhrngsrangkhxngxarythrrmehelnnistikh thimkcaichkhwamechuxkhxngkrikinkarpidchxngwangthimixyukhxngkhwamechuxormninnganekhiynkhxngtnexng pramwleruxngprmpraormnsmyaerk trngknkhamkbkarbrryayeruxngrawekiywkbethphtang ormncamitananmakmaythiekiywkbkarkxtngaelakhwamrungeruxngkhxngemuxngtang nxkipcakeruxngrawthielakhankntamthxngthin kmikarephimetimtananwirburuskhxngkrikthipatidpatxkbtananphunbanormnmatngaetsmyaerk twxyangechnxieniyskhxngormnkthukdungipepnsamikhxngphrarachthidakhxngkstriyphuepnbrrphburuskhxngchnlatin channcungepnbrrphburuskhxngrxmiwlus aelarimus channtananekiywkbothrcncungklayepntananluklbekiywkbbrrburuskhxngchawormn sungepnsaehtuihthharmaormnaetngekhruxngaebbthimacakphaphwadkhxngothrcn kwiniphnth Aeneid aela hnngsuxsxngsamelmaerkodynkprawtisastrormnliwi Livy epnaehlngkhxmulthidithisudekiywkbprmprawithyakhxngmnusydngklaw praephniptibtitang odynkbwchkhxngthangkarkhxngormnkepnxikpccyhnungthisrangkhwamaetktangkhxngethphsxngradb di indigetes aela di novensides novensiles klum di indigetes hmaythungthwyethphdngedimkhxngormn chuxaelaraylaexiydkhxngethphklumnirabudwytaaehnngkhxngnkbwchrunaerkthisudaelaodywnethskalthiechphaaecaacngthimidwykn 30 xngkhthimiethskalthirabuxyangechphaaecaacng swn di novensides novensiles khuxethphruntxmathiekhamatamemuxngtang inphayhlng aelamkcathrabewlathiekhamatamkhwamcaepnkhxngsthankarnhruxwikvtikarn thwyethphdngedimnxkipcak di indigetes epnklumthwyethphthieriykwa ethphechphaakic echnethphaehngkarekbekiyw esschinswncakpraephnithiekiywkhxngkbkickartang echnkarithhruxkarhwanthaiherathrabwakrabwnkarthukkhntxnkhxngkickarkhxngormntangkmiethphechphaakictang knip chuxkhxngethphkcamacakkhakiriyakhxngkickarthikratha ethphehlanikcacdepnklumphayitklumkwang hrux klumethphsnbsnun attendant hrux auxiliary gods phuthicaidrbkarklawnamphrxmkbethphradbsung ethphechphaakicaelaethskalthiekiywkhxngthaiherathrabwachawormnsmyaerknxkcakcaepnklumchnthiepnsngkhmekstrkrrm aetyngepnsngkhmthiniymkartxsu aela mkcaniymkarthasngkhram nxkcakcamiethphechphaakicindankarekstraelwchawormnkyngmiethphechphaakicinkickarpracawnthitxngthakarskkarbuchatamkhwamehmaasmdwy channethphaecns aela kcaepnphurksapratuaelaetaphing phithksthidinaelaban phithksthxngthung ethphaesthethirnphithkskarhwan ethphiesersphithkskarecriyetibotkhxngthyphuch phithksphlim aela phithksthyyaharaelasthanthiekbrksathyyahar aela phithkskarekbekiywaelaepnethphiaehngkarecriyphnthu aemaetethphcupietxrphuepnpramukhkhxngthwyethphkyngthrngepnethphthichwyihfntkephuxchwyinkarekstrkrrm aelakhunlksnathwipkhxngphraxngkhcakkarthithrngmisayfaepnxawuththaihthrngidchuxwaepnphuxanwykarkhxngkickarthimnusykratha aelakarthithrngmixanacxnyingihyaelakwangkhwangthaihthrngidchuxwaepnphuphithkskickarthangthharkhxngchawormnthinxkipcakinbriewnekhtaednkhxngtnexng ethphecasakhyinsmyaerkkidaekethphmars aela phumkcaepnethphinklumediywkn ethphmarsepnethphecaaehngkarsngkhramthithakarchlxngknineduxnminakhmaelatulakhm swnechuxknodynkwichakarsmyihmwaepnethphecaaehngprachakhmphuthuxxawuthinyamsnti inklumethphkhxngsmyaerkkmiitrethph triad thisakhykhux ethphcupietxr ethphmars aela ethphinsmyaerkmkcaimmilksnathiepnexklksnkhxngtnexngthisakhy aelaprawtikimmieruxngrawkhxngkarsmrshruxbrrphburus sungimehmuxnkbethphecakrikephraacaimekhamayungekiywkbchiwitkhxngmnusyedindin channcungaethbcaimmieruxngrawkhxngkickarthikrathaethphcaktangaednemuxckrwrrdiormnkhyaytwxxkipknaexapraephnikhwamechuxekiywkbethphecakhxngbangemuxngtang ekhamaphsmphsankbethphecakhxngormnexng chawormnthiipthakarphichitdinaedntang kmkcaihekiyrtiaekethphecakhxngthxngthinthithakarphichitidinradbediywkbethphecaedimkhxngormnexng aelainbangkrnichawormnkcaxyechiyethphecacaktangaednekhamaphankinethwsthaninkrungormthicdtngihxangxingAlan Cameron Greek Mythography in the Roman World 2005 OUP Oxford reviewed by T P Wiseman in Times Literary Supplement 13 May 2005 page 29 Lexicon Iconographicum Mythologiae Classicae LIMC 1981 1999 Artemis Verlag 9 volumes duephimethphecakrikaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb pramwleruxngprmpraormn