ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน (อังกฤษ: Oxidative phosphorylation) เป็นวิถีเมแทบอลิซึมซึ่งใช้พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอาหารเพื่อสร้างอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เก็บสะสมพลังงานเพื่อใช้ในเมแทบอลิซึม แม้สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ บนโลกจะใช้สารอาหารต่างกัน แต่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยออกซิเจนแทบทุกชนิดล้วนเกิดปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันเพื่อสร้าง ATP สาเหตุที่วิถีนี้พบได้แพร่หลายอาจเป็นเพราะมันเป็นวิถีที่ทรงประสิทธิภาพในการปลดปล่อยพลังงาน เมื่อเทียบกับกระบวนการการหมักทางเลือก เช่น ไกลโคไลสิสแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic glycolysis)
ระหว่างปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน อิเล็กตรอนจะถูกขนส่งจากตัวให้อิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอน เช่น ออกซิเจน ในปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์เหล่านี้ปลดปล่อยพลังงาน ซึ่งถูกใช้เพื่อสร้าง ATP ในยูคาริโอต ปฏิกิริยารีดอกซ์เหล่านี้ดำเนินโดยโปรตีนคอมเพลกซ์ภายในผนังระหว่างเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย ขณะที่ในโปรคาริโอต โปรตีนเหล่านี้พบได้ในช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์ ชุดโปรตีนที่เกี่ยวโยงกันนี้เรียกว่า ลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน (electron transport chain) ในยูคาริโอต มีโปรตีนคอมเพลกซ์จำนวนห้าคอมเพลกซ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ขณะที่ในโปรคาริโอต อาจพบเอนไซม์หลายชนิด โดยใช้ตัวให้และรับอิเล็กตรอนที่หลากหลาย
พลังงานที่อิเล็กตรอนปลดปล่อยออกมาและไหลผ่านลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอนนี้ถูกนำไปใช้เพื่อขนส่งอิเล็กตรอนข้ามเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย ในกระบวนการที่เรียกว่า เคมิออสโมซิส (chemiosmosis) ซึ่งสร้างพลังงานศักย์ในรูปของความแตกต่าง (gradient) ของค่า pH และศักย์ไฟฟ้าข้ามเยื่อหุ้มนี้ การเก็บสะสมพลังงานดังกล่าวจะลดลงเมื่อโปรตอนไหลกลับผ่านเยื่อหุ้มและลดความแตกต่างนี้ ผ่านเอนไซม์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า เอทีพีซินเทส (ATP synthase) เอนไซม์นี้ใช้พลังงานดังกล่าวเพื่อสร้าง ATP จากอะดีโนซีนไดฟอสเฟต (ADP) ในปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชัน ปฏิกิริยานี้ถูกขับเคลื่อนโดยการไหลของโปรตอน ซึ่งทำให้เกิดการหมุนบางส่วนของเอนไซม์ เอทีพีซินเทสเป็นมอเตอร์กลแบบหมุน
แม้ว่า ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันจะเป็นส่วนสำคัญของเมแทบอลิซึม แต่ปฏิกิริยาดังกล่าวก็ผลิตออกซิเจนที่เกิดปฏิกิริยาได้ (reactive oxygen) อย่างและไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ซึ่งนำไปสู่การแพร่กระจายของอนุมูลอิสระ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่เซลล์ และเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคภัยต่าง ๆ และอาจรวมถึงการสูงวัย (ภาวะสู่วัยชรา) ด้วย ยาและพิษหลายชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ที่ดำเนินวิถีเมแทบอลิซึม
แหล่งที่เกิด
การถ่ายเทอิเล็กตรอนเกิดที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย ซึ่งไม่ยอมให้สารชนิดใดผ่านแม้แต่อนุภาคขนาดเล็ก เช่น โปรตอน เว้นแต่สารที่มีตัวขนส่งเฉพาะเท่านั้น ส่วนช่องว่างภายในเยื่อหุ้มชั้นใน บรรจุของเหลวที่เรียกว่า แมกตริกซ์ (matrix) ภายในของเหลวนี้มีเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับวัฏจักรเครบส์ และ
ลำดับการขนส่งอิเล็กตรอน
การขนส่งอิเล็กตรอนในไมโทคอนเดรียเป็นการส่งอิเล็กตรอนเป็นลำดับผ่านตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆกันที่อยู่ที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย ตัวรับอิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นเอนไซม์หลายตัวที่ทำงานอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม (complex) ที่สำคัญมี 4 กลุ่มคือ
- complex I เป็นเอนไซม์ขนาดใหญ่ รับผิดชอบ 2 ปฏิกิริยาคือ รับอิเล็กตรอนจาก NADH + H+ และส่งอิเล็กตรอนต่อให้ซึ่งยูบิควิโนนจะส่งอิเล็กตรอนต่อให้ เอนไซม์กลุ่มที่ 3 และขับ H+ จากแมกตริกซ์เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกและเยื่อหุ้มชั้นใน
- complex II เป็นเอนไซม์ในวัฏจักรเครบส์เพียงตัวเดียวที่ยึดติดกับเยื่อหุ้ม โดยกลุ่มเอนไซม์นี้จะรับอิเล็กตรอนจาก FADH2 และส่งต่อไปให้กลุ้มเอนไซม์ที่ 3 ต่อไป โดยไม่มีการขับ H+ เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม
- complex III กลุ่มเอนไซม์นี้ทำหน้าที่ในการรับอิเล็กตรอนจาก ยูบิควิโนนแล้วส่งต่อให้ ซึ่งไซโตโครมซีจะนำอิเล็กตรอนไปส่งให้กลุ่มเอนไซม์ที่ 4 ต่อไป โดยที่กลุ่มเอนไซม์นี้จะมีการขับ H+ เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มด้วย
- complex IV รับอิเล็กตรอนจากไซโตโครม ซีแล้วส่งให้ออกซิเจนได้เป็นน้ำ การทำงานของเอนไซม์กลุ่มนี้จะขับ H+ เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม
การเกิดศักย์ไฟฟ้าระหว่างเยื่อหุ้ม
จากข้างต้น หากมีการขับ H+ เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มตลอดเวลาจะทำให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มกับช่องว่างภายในเยื่อหุ้มชั้นใน กล่าวคือที่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มจะมีสภาพเป็นเหมือนขั้วบวก
การสร้าง ATP
การไหลกลับของโปรตรอนจากที่ที่มีความเข้มข้นมากคือช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มกลับเข้าในเยื่อหุ้มชั้นในจะเกิดขึ้นได้เองตาม เมื่อโปรตรอนไหลกลับผ่านช่องทางเฉพาะ จะนำพลังงานที่ไหลกลับนี้ไปสร้าง ATP โดยช่องทางเฉพาะที่โปรตรอนไหลกลับนี้มีเอนไซม์ ATP synthase อยู่ การไหลกลับของโปรตรอนจะเกิดขึ้นได้เมมื่อมีการสะสมของโปรตรอนถึงระดับที่กำหนด ซึ่ง ณ ระดับนั้น การขนส่งอิเล็กตรอนผ่านกลุ่มเอนไซม์ต่างๆจะหยุด จากนั้นจึงจะมีการไหลกลับของโปรตรอนเพื่อสร้าง ATP
การควบคุมปฏิกิริยา
ความต้องการพลังงานของเซลล์เป็นปัจจัยสำคัญในการควบคุมปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่น อัตราการหายใจจะถูกควบคุมด้วยปริมาณ ADP ถ้า ADP สูง อัตราการหายใจและการเกิดปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นจะสูง เมื่อปริมาณ ATP สูง อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะต่ำลง เพราะจะสร้าง ATP เท่าที่จำเป็นต้องใช้เท่านั้น ในเซลล์บางชนิดจะนำพลังงานที่ได้จากการไหลกลับของโปรตรอนไปสร้างความร้อน ไม่ได้นำไปสร้าง ATP เช่นเซลล์ในที่มีไมโทคอนเดรียมาก ซึ่งเรียกว่า brown fat เพราะจะเห็นเนื้อเยื่อที่มีเซลล์ชนิดนี้อยู่เป็นสีน้ำตาล ความร้อนที่ได้นี้จะนำไปใช้สร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย
อ้างอิง
- Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ptikiriyaxxksiedthiffxsofrielchn xngkvs Oxidative phosphorylation epnwithiemaethbxlisumsungichphlngnganthipldplxyxxkmacakptikiriyaxxksiedchnkhxngsarxaharephuxsrangxadionsinitrfxseft ATP sungepnomelkulthiekbsasmphlngnganephuxichinemaethbxlisum aemsingmichiwittang bnolkcaichsarxahartangkn aetsingmichiwitthixasyxxksiecnaethbthukchnidlwnekidptikiriyaxxksiedthiffxsofrielchnephuxsrang ATP saehtuthiwithiniphbidaephrhlayxacepnephraamnepnwithithithrngprasiththiphaphinkarpldplxyphlngngan emuxethiybkbkrabwnkarkarhmkthangeluxk echn iklokhilsisaebbimichxxksiecn anaerobic glycolysis karkhnthayxielktrxninimothkhxnedriykhxngyukharioxt aelakarsrang ATP rahwangptikiriyaxxksiedthiffxsofrielchn xielktrxncathukkhnsngcaktwihxielktrxnipyngtwrbxielktrxn echn xxksiecn inptikiriyaridxks ptikiriyaridxksehlanipldplxyphlngngan sungthukichephuxsrang ATP inyukharioxt ptikiriyaridxksehlanidaeninodyoprtinkhxmephlksphayinphnngrahwangeyuxhumimothkhxnedriy khnathiinoprkharioxt oprtinehlaniphbidinchxngwangrahwangeyuxhumesll chudoprtinthiekiywoyngknnieriykwa lukoskhxngkarkhnsngxielktrxn electron transport chain inyukharioxt mioprtinkhxmephlkscanwnhakhxmephlksekhamaekiywkhxng khnathiinoprkharioxt xacphbexnismhlaychnid odyichtwihaelarbxielktrxnthihlakhlay phlngnganthixielktrxnpldplxyxxkmaaelaihlphanlukoskhxngkarkhnsngxielktrxnnithuknaipichephuxkhnsngxielktrxnkhameyuxhumchninkhxngimothkhxnedriy inkrabwnkarthieriykwa ekhmixxsomsis chemiosmosis sungsrangphlngnganskyinrupkhxngkhwamaetktang gradient khxngkha pH aelaskyiffakhameyuxhumni karekbsasmphlngngandngklawcaldlngemuxoprtxnihlklbphaneyuxhumaelaldkhwamaetktangni phanexnismkhnadihythieriykwa exthiphisineths ATP synthase exnismniichphlngngandngklawephuxsrang ATP cakxadionsinidfxseft ADP inptikiriyafxsofrielchn ptikiriyanithukkhbekhluxnodykarihlkhxngoprtxn sungthaihekidkarhmunbangswnkhxngexnism exthiphisinethsepnmxetxrklaebbhmun aemwa ptikiriyaxxksiedthiffxsofrielchncaepnswnsakhykhxngemaethbxlisum aetptikiriyadngklawkphlitxxksiecnthiekidptikiriyaid reactive oxygen xyangaelaihodrecnephxrxxkisd sungnaipsukaraephrkracaykhxngxnumulxisra sungkxihekidkhwamesiyhayaekesll aelaepnsaehtuhnungkhxngorkhphytang aelaxacrwmthungkarsungwy phawasuwychra dwy yaaelaphishlaychnidmivththiybyngkickrrmkhxngexnismthidaeninwithiemaethbxlisumaehlngthiekidkarthayethxielktrxnekidthieyuxhumchninkhxngimothkhxnedriy sungimyxmihsarchnididphanaemaetxnuphakhkhnadelk echn oprtxn ewnaetsarthimitwkhnsngechphaaethann swnchxngwangphayineyuxhumchnin brrcukhxngehlwthieriykwa aemktriks matrix phayinkhxngehlwnimiexnismthicaepnsahrbwtckrekhrbs aelaladbkarkhnsngxielktrxnkarkhnsngxielktrxninimothkhxnedriyepnkarsngxielktrxnepnladbphantwrbxielktrxntangknthixyuthieyuxhumchninkhxngimothkhxnedriy twrbxielktrxnehlaniepnexnismhlaytwthithanganxyudwyknepnklum complex thisakhymi 4 klumkhux complex I epnexnismkhnadihy rbphidchxb 2 ptikiriyakhux rbxielktrxncak NADH H aelasngxielktrxntxihsungyubikhwionncasngxielktrxntxih exnismklumthi 3 aelakhb H cakaemktriksekhasuchxngwangrahwangeyuxhumchnnxkaelaeyuxhumchnin complex II epnexnisminwtckrekhrbsephiyngtwediywthiyudtidkbeyuxhum odyklumexnismnicarbxielktrxncak FADH2 aelasngtxipihklumexnismthi 3 txip odyimmikarkhb H ekhasuchxngwangrahwangeyuxhum complex III klumexnismnithahnathiinkarrbxielktrxncak yubikhwionnaelwsngtxih sungisotokhrmsicanaxielktrxnipsngihklumexnismthi 4 txip odythiklumexnismnicamikarkhb H ekhasuchxngwangrahwangeyuxhumdwy complex IV rbxielktrxncakisotokhrm siaelwsngihxxksiecnidepnna karthangankhxngexnismklumnicakhb H ekhasuchxngwangrahwangeyuxhumkarekidskyiffarahwangeyuxhumcakkhangtn hakmikarkhb H ekhasuchxngwangrahwangeyuxhumtlxdewlacathaihekidkhwamtangskyrahwangchxngwangrahwangeyuxhumkbchxngwangphayineyuxhumchnin klawkhuxthichxngwangrahwangeyuxhumcamisphaphepnehmuxnkhwbwkkarsrang ATPkarihlklbkhxngoprtrxncakthithimikhwamekhmkhnmakkhuxchxngwangrahwangeyuxhumklbekhaineyuxhumchnincaekidkhunidexngtam emuxoprtrxnihlklbphanchxngthangechphaa canaphlngnganthiihlklbniipsrang ATP odychxngthangechphaathioprtrxnihlklbnimiexnism ATP synthase xyu karihlklbkhxngoprtrxncaekidkhunidemmuxmikarsasmkhxngoprtrxnthungradbthikahnd sung n radbnn karkhnsngxielktrxnphanklumexnismtangcahyud caknncungcamikarihlklbkhxngoprtrxnephuxsrang ATPkarkhwbkhumptikiriyakhwamtxngkarphlngngankhxngesllepnpccysakhyinkarkhwbkhumptikiriyafxsofrielchn xtrakarhayiccathukkhwbkhumdwypriman ADP tha ADP sung xtrakarhayicaelakarekidptikiriyafxsofrielchncasung emuxpriman ATP sung xtrakarekidptikiriyacatalng ephraacasrang ATP ethathicaepntxngichethann inesllbangchnidcanaphlngnganthiidcakkarihlklbkhxngoprtrxnipsrangkhwamrxn imidnaipsrang ATP echnesllinthimiimothkhxnedriymak sungeriykwa brown fat ephraacaehnenuxeyuxthimiesllchnidnixyuepnsinatal khwamrxnthiidnicanaipichsrangkhwamxbxunihaekrangkayxangxingLehninger A L Nelson D L and Cox M M 1993 Principle of Biochemistry 2nd ed New York Worth