บทความนี้ไม่มีจาก |
มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงของเรื่อง |
วิทยานิพนธ์, ปริญญานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (อังกฤษ: thesis หรือ dissertation) เป็นเอกสารที่เขียนโดยนักวิจัย นักศึกษา หรือนักวิชาการ พรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ โดยเขียนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์เป็นเอกสารบังคับในการจบการศึกษา สำหรับนักวิจัยหรือนักวิชาการจะใช้เป็นเอกสารในการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ
ศัพมูลวิทยา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์มีส่วนประกอบใหญ่ๆ 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนนำ ส่วนเนื้อความ และส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
ส่วนนำ
ส่วนนำ (Preliminaries) มักประกอบด้วย ปกวิทยานิพนธ์ ใบรองปก และหน้าปกใน ซึ่งจะบอกเกี่ยวกับ ชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้แต่ง และสถาบันที่เป็นเจ้าของวิทยานิพนธ์นั้น ต่อด้วยหน้าอนุมัติ ซึ่งเป็นหน้าสำหรับกรรมการตรวจและสอบวิทยานิพนธ์ลงนามเพื่ออนุมัติรับรองวิทยานิพนธ์ และตามด้วยส่วนสำคัญของส่วนนำ คือ ซึ่งเป็นการสรุปสาระสำคัญของวิทยานิพนธ์ทั้งเล่มแบบสั้นๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ในส่วนนำจะมีสารบัญต่างๆ ปิดท้าย อาทิ สารบัญเนื้อหา สารบัญตาราง สารบัญภาพ
วิทยานิพนธ์บางเล่มจะมี ในส่วนนำด้วย มักจะอยู่ก่อนหน้าบทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศเป็นส่วนที่ผู้เขียนวิทยานิพนธ์บรรยายแสดงความขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าและจัดทำวิทยานิพนธ์ อาทิเช่น ขอบคุณผู้มีพระคุณ บิดามารดา และอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
ส่วนเนื้อความ
ส่วนเนื้อความ (Text) คือส่วนที่เป็นเนื้อหาสาระของวิทยานิพนธ์ เป็นการพรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัย โดยส่วนเนื้อความมักประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ 3 ส่วน คือ บทนำ ตัวเรื่อง และ บทสรุป
บทนำ (Introduction) เป็นส่วนที่ผู้เขียนใช้อธิบายถึง ที่มาและความสำคัญของปัญหาที่นำไปสู่การค้นคว้าวิจัย และสรุปสาระสำคัญของสิ่งที่จะทำการศึกษาวิจัยจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนที่ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องที่จะทำการค้นคว้าวิจัย จากนั้นเป็นการกล่าวถึง ทฤษฎี ตัวแบบ แนวเหตุผล ที่จะใช้อ้างอิงหรือเป็นหลักเกณฑ์ในการสนับสนุนผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ จากนั้นกล่าวถึงของการวิจัย ขอบเขตของการศึกษาวิจัย และ เพื่ออธิบายคำศัพท์ที่ได้กำหนดขึ้นโดยมีความหมายเฉพาะตัวสำหรับการค้นคว้าวิจัยนั้นๆ เท่านั้น ในส่วนบทนำของบางเล่มจะมีสมมุติฐาน เพื่อเป็นการคาดคะเนถึงผลการค้นคว้าวิจัย ที่สอดคล้องวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นๆ ด้วย
ตัวเรื่อง (Body of the text) วิทยานิพนธ์แต่ละสาขาวิชา จะมีแบบฉบับในการเขียนเนื้อหาตัวเรื่องแตกต่างกันไป ส่วนประกอบหลักๆ ของตัวเรื่องมักประกอบด้วย การอธิบายวิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จากนั้นจึงกล่าวโดยละเอียดถึงผลที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยด้วยวิธีการต่างๆ ตามวิธีดำเนินการวิจัย หลังจากกล่าวถึงผลที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยแล้ว ก็จะเป็นส่วนสาระสำคัญของตัวเรื่อง คือการอภิปรายผลการวิจัย ซึ่งเป็นการวิจารณ์หรือการอภิปรายผลการวิจัยเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจารณ์หรือการอภิปรายผลการวิจัย มักเป็นการอธิบายให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตามความสัมพันธ์ของ ทฤษฎี ตัวแบบ แนวเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ ที่สอดคล้องกับผลของการค้นคว้าวิจัย หรือนำเสนอให้ผู้อ่านเห็นความสำคัญของผลการศึกษาวิจัยที่สนับสนุนหรือคัดค้านสมมุติฐานที่มีผู้เสนอมาก่อนหรือที่ผู้เขียนสร้างขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถยกตัวอย่างเปรียบเทียบผลการค้นคว้าวิจัยของผู้เขียนกับของบุคคลอื่นโดยเน้นปัญหาหรือข้อโต้แย้งในสาระสำคัญของเรื่อง ทั้งนี้การเขียนตัวเรื่องอาจสอดแทรกเนื้อหาบางอย่างในส่วนท้าย เช่น ชี้ให้เห็นข้อดีข้อเสียของวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ใช้ในการค้นคว้าวิจัย นำเสนอปัญหาและอุปสรรคในการค้นคว้าวิจัย แนะนำแนวทางที่จะนำผลการค้นคว้าวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเสนอคำแนะนำสำหรับการแก้ปัญหา หรือปรับปรุงสถานการณ์ที่ได้จากการค้นคว้าวิจัย รวมทั้งเสนอแนวความคิดปัญหาหรือหัวข้อใหม่สำหรับการค้นคว้าวิจัยต่อไป
บทสรุป (Conclusion) เป็นส่วนที่นำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยโดยสรุปเป็นประเด็นสาระสำคัญของผลของการศึกษาวิจัย ผู้เขียนสามารถอธิบายแนวคิดสำคัญที่ได้จากการศึกษาวิจัย และวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยพร้อมทั้งแนะนำแนวทางแก้ไขปัญหาโดยสรุปได้
ส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
ส่วนหรือบรรณานุกรม (References or Bibliography) จะแสดงรายชื่อหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ บุคคล และวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และที่ได้อ้างถึงในส่วนนำและเนื้อความ เพื่อให้ผู้สนใจสามารถค้นคว้าข้อมูลเหล่านั้นในเชิงลึกต่อไป
วิทยานิพนธ์บางเล่มอาจมี (Appendix) เพื่อใช้นำเสนอข้อมูลต่างๆ หรือสิ่งที่จะช่วยให้เข้าใจสาระของวิทยานิพนธ์ดียิ่งขึ้น เนื้อหามักประกอบด้วยเอกสารข้อเท็จจริงต่างๆ ดังนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนเนื้อเรื่อง ข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้จากการปฏิบัติการ เช่น การทดลอง การศึกษาเฉพาะกรณี สำเนาเอกสารหายาก คำอธิบายระเบียบวิธี กระบวนการและวิธีการรวบรวมข้อมูล แบบฟอร์ม แบบสอบถาม ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ คำอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอน หรือวิธีการ นามานุกรม (directory) ของบุคคลที่อ้างถึงในวิทยานิพนธ์
หน้าสุดท้ายของวิทยานิพนธ์ มักมีประวัติผู้เขียน (Curriculum vitae หรือ Vita) ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการศึกษาและการทำงานของผู้เขียน ประวัติผู้เขียนโดยทั่วไป ประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล พร้อมคำนำหน้า ได้แก่ นาย นาง บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ พร้อมทั้งวันเดือนปีและสถานที่เกิด ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าขึ้นไป และ พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา รวมทั้งประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ รางวัล หรือเฉพาะที่สำคัญ ตำแหน่งและสถานที่ทำงานของผู้เขียน
ปัจจุบันในการจัดการบรรณานุกรม สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดการบรรณานุกรม หรือรายการที่นำมาอ้างอิงได้ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม EndNote Procite ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการลงรายการอ้างอิงที่สมบูรณ์และถูกต้อง
การสอบวิทยานิพนธ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- สิทธิ์ ธีรสรณ์. การสร้างสรรค์งานวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์.
- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คู่มือการเขียนวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าแบบอิสระ พ.ศ. 2547 2006-07-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir withyaniphnth priyyaniphnth hrux dusdiniphnth xngkvs thesis hrux dissertation epnexksarthiekhiynodynkwicy nksuksa hruxnkwichakar phrrnnakhntxn withikar aelaphlkarsuksawicythikhnkhwawicymaid odyekhiynxyangepnrabb miaebbaephn sahrbnksuksainsthabnxudmsuksa withyaniphnthepnexksarbngkhbinkarcbkarsuksa sahrbnkwicyhruxnkwichakarcaichepnexksarinkareluxntaaehnngthangwichakarsphmulwithyaswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidswnprakxbkhxngwithyaniphnthwithyaniphnthmiswnprakxbihy 3 swndwykn khux swnna swnenuxkhwam aelaswnexksarxangxinghruxbrrnanukrm swnna swnna Preliminaries mkprakxbdwy pkwithyaniphnth ibrxngpk aelahnapkin sungcabxkekiywkb chuxhwkhxwithyaniphnth phuaetng aelasthabnthiepnecakhxngwithyaniphnthnn txdwyhnaxnumti sungepnhnasahrbkrrmkartrwcaelasxbwithyaniphnthlngnamephuxxnumtirbrxngwithyaniphnth aelatamdwyswnsakhykhxngswnna khux sungepnkarsrupsarasakhykhxngwithyaniphnththngelmaebbsn ephuxepnaenwthangihphuxanthrabthungenuxhakhxngwithyaniphnth inswnnacamisarbytang pidthay xathi sarbyenuxha sarbytarang sarbyphaph withyaniphnthbangelmcami inswnnadwy mkcaxyukxnhnabthkhdyx kittikrrmprakasepnswnthiphuekhiynwithyaniphnthbrryayaesdngkhwamkhxbkhunphuthiihkhwamchwyehluxinkarsuksakhnkhwaaelacdthawithyaniphnth xathiechn khxbkhunphumiphrakhun bidamarda aelaxacarythipruksa epntn swnenuxkhwam swnenuxkhwam Text khuxswnthiepnenuxhasarakhxngwithyaniphnth epnkarphrrnnakhntxn withikar aelaphlkarsuksawicy odyswnenuxkhwammkprakxbdwyenuxhahlk 3 swn khux bthna tweruxng aela bthsrup bthna Introduction epnswnthiphuekhiynichxthibaythung thimaaelakhwamsakhykhxngpyhathinaipsukarkhnkhwawicy aelasrupsarasakhykhxngsingthicathakarsuksawicycakexksarthiekiywkhxng sungepnswnthiihkhwamruthwipekiywkberuxngthicathakarkhnkhwawicy caknnepnkarklawthung thvsdi twaebb aenwehtuphl thicaichxangxinghruxepnhlkeknthinkarsnbsnunphlkarsuksawicythikhnkhwawicymaid caknnklawthungkhxngkarwicy khxbekhtkhxngkarsuksawicy aela ephuxxthibaykhasphththiidkahndkhunodymikhwamhmayechphaatwsahrbkarkhnkhwawicynn ethann inswnbthnakhxngbangelmcamismmutithan ephuxepnkarkhadkhaenthungphlkarkhnkhwawicy thisxdkhlxngwtthuprasngkhkhxngkarwicynn dwy tweruxng Body of the text withyaniphnthaetlasakhawicha camiaebbchbbinkarekhiynenuxhatweruxngaetktangknip swnprakxbhlk khxngtweruxngmkprakxbdwy karxthibaywithidaeninkarwicy ekhruxngmuxthiichinkarwicy caknncungklawodylaexiydthungphlthiidcakkarkhnkhwawicydwywithikartang tamwithidaeninkarwicy hlngcakklawthungphlthiidcakkarkhnkhwawicyaelw kcaepnswnsarasakhykhxngtweruxng khuxkarxphiprayphlkarwicy sungepnkarwicarnhruxkarxphiprayphlkarwicyephuxihbrrlucudmunghmayhruxwtthuprasngkhkhxngkarwicy karwicarnhruxkarxphiprayphlkarwicy mkepnkarxthibayihphuxanehnkhlxytamkhwamsmphnthkhxng thvsdi twaebb aenwehtuphl hruxkdeknth thisxdkhlxngkbphlkhxngkarkhnkhwawicy hruxnaesnxihphuxanehnkhwamsakhykhxngphlkarsuksawicythisnbsnunhruxkhdkhansmmutithanthimiphuesnxmakxnhruxthiphuekhiynsrangkhun nxkcakniyngsamarthyktwxyangepriybethiybphlkarkhnkhwawicykhxngphuekhiynkbkhxngbukhkhlxunodyennpyhahruxkhxotaeynginsarasakhykhxngeruxng thngnikarekhiyntweruxngxacsxdaethrkenuxhabangxyanginswnthay echn chiihehnkhxdikhxesiykhxngwsduxupkrnaelawithikarthiichinkarkhnkhwawicy naesnxpyhaaelaxupsrrkhinkarkhnkhwawicy aenanaaenwthangthicanaphlkarkhnkhwawicyipichihekidpraoychn hruxesnxkhaaenanasahrbkaraekpyha hruxprbprungsthankarnthiidcakkarkhnkhwawicy rwmthngesnxaenwkhwamkhidpyhahruxhwkhxihmsahrbkarkhnkhwawicytxip bthsrup Conclusion epnswnthinaesnxphlkarkhnkhwawicyodysrupepnpraednsarasakhykhxngphlkhxngkarsuksawicy phuekhiynsamarthxthibayaenwkhidsakhythiidcakkarsuksawicy aelawiphakswicarnphlkarwicyphrxmthngaenanaaenwthangaekikhpyhaodysrupid swnexksarxangxinghruxbrrnanukrm swnhruxbrrnanukrm References or Bibliography caaesdngraychuxhnngsux exksar singphimph bukhkhl aelawsdutang thiichinkarsuksa khnkhwa wicy aelathiidxangthunginswnnaaelaenuxkhwam ephuxihphusnicsamarthkhnkhwakhxmulehlanninechingluktxip withyaniphnthbangelmxacmi Appendix ephuxichnaesnxkhxmultang hruxsingthicachwyihekhaicsarakhxngwithyaniphnthdiyingkhun enuxhamkprakxbdwyexksarkhxethccringtang dngni khxmulephimetiminswnenuxeruxng khxmulephimetimthiidcakkarptibtikar echn karthdlxng karsuksaechphaakrni saenaexksarhayak khaxthibayraebiybwithi krabwnkaraelawithikarrwbrwmkhxmul aebbfxrm aebbsxbtham thiichinkarrwbrwmkhxmul opraekrmkhxmphiwetxrthiichinwithyaniphnth khaxthibayekiywkbkhntxn hruxwithikar namanukrm directory khxngbukhkhlthixangthunginwithyaniphnth hnasudthaykhxngwithyaniphnth mkmiprawtiphuekhiyn Curriculum vitae hrux Vita sungepnraylaexiydekiywkbprawtikarsuksaaelakarthangankhxngphuekhiyn prawtiphuekhiynodythwip prakxbdwy chux namskul phrxmkhanahna idaek nay nang brrdaskdi smnskdi phrxmthngwneduxnpiaelasthanthiekid tngaetradbpriyyatri hruxethiybethakhunip aela ph s thisaerckarsuksa rwmthngprasbkarn phlnganthangwichakar rangwl hruxechphaathisakhy taaehnngaelasthanthithangankhxngphuekhiyn pccubninkarcdkarbrrnanukrm samarthichopraekrmkhxmphiwetxrchwyinkarcdkarbrrnanukrm hruxraykarthinamaxangxingid twxyangechn opraekrm EndNote Procite sungchwyxanwykhwamsadwkinkarlngraykarxangxingthismburnaelathuktxngkarsxbwithyaniphnthswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingsiththi thirsrn karsrangsrrkhnganwithyaniphnthaeladusdiniphnth ISBN 9749212354 bnthitwithyaly mhawithyalyechiyngihm khumuxkarekhiynwithyaniphnthaelakarkhnkhwaaebbxisra ph s 2547 2006 07 20 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamwicha khwamru aelasastrtangniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk