ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือ ดาวเทียมธีออส (THEOS: Thailand Earth Observation Satellite) เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) เพื่อใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย โดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศส ดำเนินงานโดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ. หรือ GISTDA) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ บริษัท อี เอ ดี เอส แอสเตรียม (EADS Astrium) ประเทศฝรั่งเศส ด้วยงบประมาณ 6,000 ล้านบาท นับเป็นดวงแรกของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อเรียก
ชื่อ THEOS มาจากคำย่อภาษาอังกฤษว่า Thailand Earth Observation Satellite หมายถึง ระบบสำรวจพื้นผิวโลกโดยใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายจากดาวเทียมของประเทศไทย โดยพ้องกับภาษากรีก แปลว่า พระเจ้า
วันที่ 20 มกราคม 2554 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีหนังสือไปยัง สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อขอพระราชทานชื่อใหม่ให้ดาวเทียม THEOS ต่อมา วันที่ 18 มกราคม 2555 สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือตอบกลับความว่า พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อดาวเทียมดังกล่าวว่า ไทยโชต และให้ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Thaichote ตั้งแต่วันที่ 10 ธันวาคม 2554 สืบไป โดยมีความหมายว่า "ดาวเทียมที่ทำให้ประเทศไทยรุ่งเรือง"
ลักษณะ
ดาวเทียมไทยโชต เป็นดาวเทียมขนาดเล็ก มีน้ำหนัก 750 กิโลกรัม เป็น (Low Earth Orbit: LEO) โคจรสูงจากพื้นโลกประมาณ 820 กิโลเมตร โคจรรอบโลกซ้ำแนวโคจรเดิมทุก 26 วัน มีอายุทางเทคโนโลยีขั้นต่ำ 5 ปี แต่อายุการใช้งานจริงมากกว่านั้น มีกล้องถ่ายภาพ 2 กล้อง ใช้ระบบ สามารถบันทึกภาพจากการสะท้อนแสงของพื้นโลก (ต้องการแสงอาทิตย์) ได้ทั้ง ภาพแบบขาวดำ (Panchromatic) ที่รายละเอียด 2 เมตร ความกว้างของภาพที่มุมตั้งฉากกับพื้นผิวโลก 22 กม. และภาพแบบหลายช่วงคลื่น (Multispectral) เพื่อนำมาแสดงร่วมกันให้เห็นเป็นภาพสี จำนวน 4 ที่รายละเอียด 15 เมตร ความกว้างของภาพที่มุมตั้งฉากกับพื้นผิวโลก 90 กิโลเมตร ได้แก่ 3 ช่วงคลื่นแสงที่ตามองเห็น (ช่วงคลื่นแสงสีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน) และ 1 ช่วงคลื่น (Near IR)
การส่งขึ้นสู่อวกาศ
ดาวเทียมธีออส ขึ้นสู่อวกาศ วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เวลาในประเทศไทย 13:37:16 น. หรือ 6:37:16 น. ตามเวลามาตรฐานสากล (UTC) โดยจรวดนำส่ง เนปเปอร์ (Dnepr) ของบริษัท ISC Kosmotras ประเทศยูเครน จากฐานส่งจรวด (Yasny) ประเทศรัสเซีย
เหตุการณ์การส่งดาวเทียมไม่สามารถได้ เนื่องจากฐานส่งจรวดที่เมืองยาสนีเป็นเขตทหาร จึงเป็นการรายงานสดทางโทรศัพท์มายังสถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมธีออส อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี จรวดถูกยิงสู่ท้องฟ้าจากไซโลด้วยแรงขับเคลื่อนของจรวดท่อนที่ 1 ไปทางทิศใต้ตามแนวขั้วโลกมีมุมเอียงไปทางตะวันตก 8.9 องศา จรวดท่อนที่ 1 ขับเคลื่อนจากพื้นดินเป็นเวลา 110 วินาทีขึ้นไปที่ระดับสูง 60 กิโลเมตร แล้วแยกตัวออกและตกลงสู่พื้นโลกที่ประเทศคาซัคสถาน ต่อจากนั้นจรวดท่อนที่ 2 ขับเคลื่อนและนำดาวเทียมขึ้นต่อไปอีกเป็นเวลา 180 วินาที ได้ระดับความสูง 300 กิโลเมตร หรือเมื่อผ่านไป 290 วินาทีจาก Lift-off แล้วจรวดท่อนที่ 2 แยกตัวและตกลงในมหาสมุทรอินเดีย จรวดส่วนสุดท้ายพร้อมดาวเทียม เคลื่อนต่อไปตามวิถีการส่งจนถึงระดับความสูง 690 กิโลเมตร ดาวเทียมแยกตัวออกมาโคจรเป็นอิสระจากจรวดส่วนสุดท้าย ที่เวลาในประเทศไทย 15:09 น. สถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมที่เมืองคิรูนา (Kiruna) ประเทศสวีเดน จะเป็นสถานีแรกที่ติดต่อกับดาวเทียมได้ (First Contact) ต่อจากนั้นดาวเทียมโคจรผ่านประเทศไทยครั้งแรก เวลา 21:16 น. ซึ่งสถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมธีออส อ.ศรีราชา เริ่มปฏิบัติการควบคุมการโคจรดาวเทียมและตรวจสอบการทำงานต่างๆ เพื่อให้ดาวเทียม THEOS มีความสมบูรณ์พร้อมใช้งาน อันเป็นงานและภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลดาวเทียมแก่หน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ
สถานีรับสัญญาณ
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอยู่ที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และสถานีควบคุมดาวเทียม อยู่ที่ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
ผลประโยชน์
- สิทธิการใช้งาน ตัวดาวเทียมธีออส และสถานีควบคุมและรับสัญญาณภาคพื้นดิน
- ใช้สำรวจทรัพยากรทั้งภายในประเทศ ซึ่งมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน แสดงความประสงค์นำข้อมูลดาวเทียมธีออสไปใช้ประโยชน์ในการสำรวจหาข้อมูล และใช้ทำแผนที่ในภารกิจที่รับผิดชอบ เช่น เช่น การสำรวจหาชนิดของพืชผลการเกษตร, การประเมินหาผลผลิตการเกษตร, การสำรวจหาพื้นที่ป่าไม้, การสำรวจหาพื้นที่ป่าถูกบุกรุกทำลาย, การสำรวจหาพื้นที่ป่าถูกไฟไหม้, การสำรวจหาพื้นที่สวนป่า, การสำรวจหาชนิดป่า, การสำรวจหาพื้นที่ทำนากุ้งและประมงชายฝั่ง, การสำรวจหามลพิษจากคราบน้ำมันในทะเล, การสำรวจหาแหล่งน้ำ, การสำรวจหาแหล่งชุมชน, การสำรวจหาพื้นที่ปลูกฝิ่น, การวางผังเมือง, การสร้างถนนและวางแผนจราจร, การทำแผนที่, การสำรวจหาบริเวณที่เกิดอุทกภัย, การสำรวจหาพื้นที่ที่เกิดดินถล่ม, การสำรวจหาพื้นที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ
- ลดค่าใช้จ่ายการสั่งซื้อภาพจากดาวเทียมต่างประเทศ และสามารถขายข้อมูลการสำรวจทรัพยากรระหว่างประเทศ
- ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการออกแบบและสร้างดาวเทียม แก่บุคลากรไทย
- การพัฒนาระบบดาวเทียม ระบบภาคพื้นดิน การควบคุมรับสัญญาณ และการจัดทำผลิตภัณฑ์ภาพ
- ได้สิทธิ์ในการรับสัญญาณและการให้บริการข้อมูลดาวเทียม SPOT-2, 4, และ 5 ก่อนดาวเทียมธีออสจะขึ้นสู่อวกาศ
- ได้สิทธิ์ในการพัฒนาบุคลากร ทั้งจากการได้ทุนการศึกษา ตลอดระยะเวลา 10 ปี โดยเป็นทุนฝึกอบรมในฝรั่งเศส สำหรับเจ้าหน้าที่ไทย ในด้านเทคโนโลยีดาวเทียมและการประยุกต์ใช้ จำนวน 80 ทุน และทุนการศึกษาระดับปริญญาโท-เอก จำนวนทั้งสิ้น 24 ทุน
นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่งเศสจะเดินทางมาเพื่ออบรม และจัดสัมมนาให้แก่เจ้าหน้าที่ไทยทุกปี
อ้างอิง
- “ดาวเทียมไทยโชต”: นามพระราชทาน 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
- (PDF). งานสารบรรณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 12 มีนาคม 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 30 สิงหาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2021.
แหล่งข้อมูลอื่น
- THEOS Thailand Earth Observation Satellite, สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 มิถุนายน 2017, สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010
- สทอภ. - ตอบคำถามถามบ่อย 2007-02-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สทอภ. - การปล่อยสู่วงโคจร
- รู้จัก “ธีออส” ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรสัญชาติไทยดวงแรก 2007-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawethiymithyocht Thaichote hrux dawethiymthixxs THEOS Thailand Earth Observation Satellite epndawethiymsarwckhxmulrayaikl Remote Sensing ephuxichsarwcthrphyakrthrrmchatikhxngpraethsithy odykhwamrwmmuxrahwangrthbalithyaelarthbalfrngess daeninnganody sanknganphthnaethkhonolyixwkasaelaphumisarsneths sthxph hrux GISTDA krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi rwmkb bristh xi ex di exs aexsetriym EADS Astrium praethsfrngess dwyngbpraman 6 000 lanbath nbepndwngaerkkhxngithyaelaexechiytawnxxkechiyngitchuxeriykchux THEOS macakkhayxphasaxngkvswa Thailand Earth Observation Satellite hmaythung rabbsarwcphunphiwolkodyichethkhonolyiphaphthaycakdawethiymkhxngpraethsithy odyphxngkbphasakrik aeplwa phraeca wnthi 20 mkrakhm 2554 krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi idmihnngsuxipyng sanknganelkhathikarkhnarthmntriephuxkhxphrarachthanchuxihmihdawethiym THEOS txma wnthi 18 mkrakhm 2555 sanknganelkhathikarkhnarthmntri idmihnngsuxtxbklbkhwamwa phrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngphrakrunaoprdekla phrarachthanchuxdawethiymdngklawwa ithyocht aelaihichchuxphasaxngkvswa Thaichote tngaetwnthi 10 thnwakhm 2554 subip odymikhwamhmaywa dawethiymthithaihpraethsithyrungeruxng lksnadawethiymithyocht epndawethiymkhnadelk minahnk 750 kiolkrm epn Low Earth Orbit LEO okhcrsungcakphunolkpraman 820 kiolemtr okhcrrxbolksaaenwokhcredimthuk 26 wn mixayuthangethkhonolyikhnta 5 pi aetxayukarichngancringmakkwann miklxngthayphaph 2 klxng ichrabb samarthbnthukphaphcakkarsathxnaesngkhxngphunolk txngkaraesngxathity idthng phaphaebbkhawda Panchromatic thiraylaexiyd 2 emtr khwamkwangkhxngphaphthimumtngchakkbphunphiwolk 22 km aelaphaphaebbhlaychwngkhlun Multispectral ephuxnamaaesdngrwmknihehnepnphaphsi canwn 4 thiraylaexiyd 15 emtr khwamkwangkhxngphaphthimumtngchakkbphunphiwolk 90 kiolemtr idaek 3 chwngkhlunaesngthitamxngehn chwngkhlunaesngsiaedng siekhiyw aelasinaengin aela 1 chwngkhlun Near IR karsngkhunsuxwkasdawethiymthixxs khunsuxwkas wnphuththi 1 tulakhm ph s 2551 ewlainpraethsithy 13 37 16 n hrux 6 37 16 n tamewlamatrthansakl UTC odycrwdnasng enpepxr Dnepr khxngbristh ISC Kosmotras praethsyuekhrn cakthansngcrwd Yasny praethsrsesiy ehtukarnkarsngdawethiymimsamarthid enuxngcakthansngcrwdthiemuxngyasniepnekhtthhar cungepnkarrayngansdthangothrsphthmayngsthanikhwbkhumaelarbsyyandawethiymthixxs x sriracha c chlburi crwdthukyingsuthxngfacakisoldwyaerngkhbekhluxnkhxngcrwdthxnthi 1 ipthangthisittamaenwkhwolkmimumexiyngipthangtawntk 8 9 xngsa crwdthxnthi 1 khbekhluxncakphundinepnewla 110 winathikhunipthiradbsung 60 kiolemtr aelwaeyktwxxkaelatklngsuphunolkthipraethskhaskhsthan txcaknncrwdthxnthi 2 khbekhluxnaelanadawethiymkhuntxipxikepnewla 180 winathi idradbkhwamsung 300 kiolemtr hruxemuxphanip 290 winathicak Lift off aelwcrwdthxnthi 2 aeyktwaelatklnginmhasmuthrxinediy crwdswnsudthayphrxmdawethiym ekhluxntxiptamwithikarsngcnthungradbkhwamsung 690 kiolemtr dawethiymaeyktwxxkmaokhcrepnxisracakcrwdswnsudthay thiewlainpraethsithy 15 09 n sthanikhwbkhumaelarbsyyandawethiymthiemuxngkhiruna Kiruna praethsswiedn caepnsthaniaerkthitidtxkbdawethiymid First Contact txcaknndawethiymokhcrphanpraethsithykhrngaerk ewla 21 16 n sungsthanikhwbkhumaelarbsyyandawethiymthixxs x sriracha erimptibtikarkhwbkhumkarokhcrdawethiymaelatrwcsxbkarthangantang ephuxihdawethiym THEOS mikhwamsmburnphrxmichngan xnepnnganaelapharkichlkinkarihbrikarkhxmuldawethiymaekhnwynganthnginaelatangpraethssthanirbsyyansthanirbsyyandawethiymxyuthiekhtladkrabng krungethphmhankhr aelasthanikhwbkhumdawethiym xyuthi xaephxsriracha cnghwdchlburiphlpraoychnsiththikarichngan twdawethiymthixxs aelasthanikhwbkhumaelarbsyyanphakhphundin ichsarwcthrphyakrthngphayinpraeths sungmihnwynganthngphakhrth aelaexkchn aesdngkhwamprasngkhnakhxmuldawethiymthixxsipichpraoychninkarsarwchakhxmul aelaichthaaephnthiinpharkicthirbphidchxb echn echn karsarwchachnidkhxngphuchphlkarekstr karpraeminhaphlphlitkarekstr karsarwchaphunthipaim karsarwchaphunthipathukbukrukthalay karsarwchaphunthipathukifihm karsarwchaphunthiswnpa karsarwchachnidpa karsarwchaphunthithanakungaelapramngchayfng karsarwchamlphiscakkhrabnamninthael karsarwchaaehlngna karsarwchaaehlngchumchn karsarwchaphunthiplukfin karwangphngemuxng karsrangthnnaelawangaephncracr karthaaephnthi karsarwchabriewnthiekidxuthkphy karsarwchaphunthithiekiddinthlm karsarwchaphunthiprasbphycakkhlunykssunami ldkhaichcaykarsngsuxphaphcakdawethiymtangpraeths aelasamarthkhaykhxmulkarsarwcthrphyakrrahwangpraethsidrbkarthaythxdethkhonolyikarxxkaebbaelasrangdawethiym aekbukhlakrithy karphthnarabbdawethiym rabbphakhphundin karkhwbkhumrbsyyan aelakarcdthaphlitphnthphaph idsiththiinkarrbsyyanaelakarihbrikarkhxmuldawethiym SPOT 2 4 aela 5 kxndawethiymthixxscakhunsuxwkas idsiththiinkarphthnabukhlakr thngcakkaridthunkarsuksa tlxdrayaewla 10 pi odyepnthunfukxbrminfrngess sahrbecahnathiithy indanethkhonolyidawethiymaelakarprayuktich canwn 80 thun aelathunkarsuksaradbpriyyaoth exk canwnthngsin 24 thun nxkcakni phuechiywchaycakfrngesscaedinthangmaephuxxbrm aelacdsmmnaihaekecahnathiithythukpixangxing dawethiymithyocht namphrarachthan 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati PDF ngansarbrrn mhawithyalyxublrachthani 12 minakhm 2012 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 30 singhakhm 2021 subkhnemux 30 singhakhm 2021 aehlngkhxmulxunTHEOS Thailand Earth Observation Satellite sanknganphthnaethkhonolyixwkasaelaphumisarsneths cakaehlngedimemux 23 mithunayn 2017 subkhnemux 16 minakhm 2010 sthxph txbkhathamthambxy 2007 02 13 thi ewyaebkaemchchin sthxph karplxysuwngokhcr ruck thixxs dawethiymsarwcthrphyakrsychatiithydwngaerk 2007 03 12 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamkarsuxsar aelaothrkhmnakhmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk