ในสาขาสังคมศาสตร์และจิตวิทยาสังคม กลุ่มใน (อังกฤษ: ingroup) เป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลนับว่าตนเป็นสมาชิก โดยเปรียบเทียบกัน กลุ่มนอก (อังกฤษ: outgroup) ซึ่งเป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลไม่นับว่าตนเป็นสมาชิก ยกตัวอย่างเช่น เราอาจจะเห็นว่าตนเป็นสมาชิกของกลุ่มต่าง ๆ ที่จำแนกโดยเชื้อชาติ วัฒนธรรม เพศ อายุ หรือศาสนา และมีการพบว่า ความรู้สึกทางจิตใจว่าเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคม มีบทบาทในปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง ๆ มากมาย
คำภาษาอังกฤษว่า ingroup และ outgroup เกิดความนิยมเพราะงานของเฮ็นรี่ ทัชเฟ็ล และเพื่อนร่วมงาน เมื่อกำลังสร้างทฤษฎีเอกลักษณ์ทางสังคม (social identity theory) และได้ศึกษาความแตกต่างของกลุ่มในกลุ่มนอก โดยวิธีที่เรียกว่า minimal group paradigm พวกเขาพบว่า เราสามารถสร้างกลุ่มในตามความชอบใจของตน ภายในไม่กี่นาที และกลุ่มเช่นนี้อาจจะมีเอกลักษณ์อะไรบางอย่างที่เป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ความชอบใจในภาพศิลป์บางอย่าง
ปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กัน
การจำแนกประเภทบุคคลในใจ ออกเป็นกลุ่มในและกลุ่มนอก สัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางสังคมหลายอย่าง ตัวอย่างต่อไปนี้ ล้วนแต่เป็นเรื่องที่นักวิชาการได้ให้ความสนใจ
ความลำเอียงกับกลุ่มใน
ในสถานการณ์บางอย่าง เราจะชอบใจและผูกพันกับกลุ่มในเหนือกลุ่มนอก หรือเหนือบุคคลใดก็ได้ที่ไม่ใช่คนในกลุ่มใน ซึ่งสามารถเห็นได้ในการประเมินคนอื่น การเชื่อมต่อสัมพันธ์ การแบ่งของที่มี และเรื่องอื่น ๆ
การดูถูกกลุ่มนอก
การเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มในต่างจากกลุ่มนอก เป็นเรื่องของความลำเอียงที่ให้กับคนในกลุ่มใน ที่ไม่ให้กับกลุ่มนอก การดูถูกกลุ่มนอก (Outgroup derogation) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อเรารู้สึกว่าสมาชิกกลุ่มนอก เป็นภัยต่อสมาชิกกลุ่มใน ซึ่งมักจะประกอบด้วยความลำเอียงต่อกลุ่มใน (แต่ไม่เสมอไป) เพราะว่า เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอาศัยความสนิทสนมคุ้นเคยกับสมาชิกกลุ่มใน มีงานวิจัยที่เสนอว่า การดูถูกกลุ่มนอก เกิดขึ้นเมื่อเรารู้สึกว่า กลุ่มนอกหยุดยั้งหรือขัดขวางเป้าหมายของกลุ่มใน และว่า การดูถูกกลุ่มนอก เป็นผลตามธรรมชาติของการจัดประเภทตน (และผู้อื่น)
อิทธิพลทางสังคม
เรามักจะได้รับอิทธิพลจากคนในกลุ่มในมากกว่า คือ ในสถานการณ์ที่การแบ่งกลุ่ม เป็นสิ่งที่ชัดเจนในใจ เราจะเปลี่ยนความคิดของเราให้เข้ากับคนในกลุ่ม
การเพิ่มความรุนแรงของกลุ่ม
การเพิ่มความรุนแรงของกลุ่ม (group polarization) หมายถึงความโน้มเอียงของกลุ่ม ที่จะตัดสินใจไปในทางที่รุนแรงกว่าความปรารถนาในเบื้องต้นของสมาชิก แต่ว่า การตัดสินใจที่น้อมไปในความเชื่อหลักของกลุ่ม ก็มีด้วยเหมือนกัน มีหลักฐานที่แสดงว่า ปรากฏการณ์นี้สัมพันธ์กับสถานการณ์ที่มีการแบ่งกลุ่มในกลุ่มนอกที่ชัดเจนทางใจ
ความเหมือนกันของสมาชิก
การแบ่งเป็นกลุ่มสังคม ทำให้เรารู้สึกมากขึ้นว่า สมาชิกในแต่ละกลุ่มเหมือนกัน ซึ่งมีผลเป็นปรากฏการณ์ "เอกพรรณของกลุ่มนอก" (outgroup homogeneity) ซึ่งหมายถึงความรู้สึกว่า สมาชิกของคนกลุ่มนอกเหมือน ๆ กัน คือเป็น "เอกพรรณ" ในขณะที่รู้สึกว่า สมาชิกกลุ่มใน มีความหลากหลายมากกว่า เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมากกว่าเมื่อเป็นเรื่องไม่ดี แต่ในบางสถานการณ์ เราจะรู้สึกว่า สมาชิกกลุ่มในเหมือน ๆ กันเมื่อกล่าวถึงเรื่องที่ดี ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "เอกพรรณของกลุ่มใน" (ingroup homogeneity)
บทบาทตามทฤษฎี ในวิวัฒนาการมนุษย์
ในจิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ ความลำเอียงกับกลุ่มใน อาจเป็นกลไกทางจิตใจที่ได้การคัดเลือก เพราะมีประโยชน์ในการสร้างพวกหรือแนวร่วม จนถึงกับอ้างว่า คุณสมบัติบางอย่างเช่นเพศหรือผิวพันธุ์ เป็นเรื่องที่ยืดหยุ่นไม่ได้ หรืออาจเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ในระบบที่ได้วิวัฒนาการมาเช่นนี้ แต่ว่า ก็มีหลักฐานแล้วว่า องค์ประกอบบางอย่างเกี่ยวกับความลำเอียง เป็นเรื่องที่ยืดหยุ่นได้ เพราะสามารถกำจัดได้โดยเปลี่ยนการจัดประเภททางสังคมใหม่ งานวิจัยหนึ่งในสาขาพันธุศาสตร์เชิงพฤติกรรม (behavioural genetics) เสนอว่า อาจมีกลไกทางชีวภาพ ที่กำหนดให้มีทั้งระบบที่ยืดหยุ่นได้ และยืดหยุ่นไม่ได้แต่ขาดไม่ได้
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Tajfel, H. (1970). "Experiments in Intergroup Discrimination" (PDF).
- Tajfel, H.; Billig, M. G.; Bundy, R. P.; Flament, C. (เมษายน–มิถุนายน 1971). "Social categorization and intergroup behaviour" (PDF). European Journal of Social Psychology. 1 (2): 149–178. doi:10.1002/ejsp.2420010202. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2022.
- Tajfel, H. (1974). "Social Identity and Intergroup Behavior" (PDF).
- Aronson, E.; Wilson, T. D.; Akert, R. D. (2009). Social psychology (7th ed.). Upper Saddle River: Prentice Hall. ISBN .
- Brewers, Marilynn B. (1999). (PDF). Journal of Social Issues. 55 (3): 429–444. doi:10.1111/0022-4537.00126. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 4 มีนาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2015.
- Hewstone, Miles; Rubin, Mark; Willis, Hazel (2002). "Intergroup Bias". ใน Richard J. Crisp (บ.ก.). Social Psychology. Vol. 3. New York, NY: Routledge. pp. 323–344.
- Smith, Eliot R; Mackie, Diane M, "Chapter 6: Me, you, and them: Effects of social categorization", Social Psychology (3 ed.), Psychology Press, สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2015
- Zhong, Chen-Bo; Phillips, Katherine W.; Leonardelli, Geoffrey J.; Galinsky, Adam D. (2008). "Negational categorization and intergroup behavior" (PDF). Personality and Social Psychology Bulletin. 34 (6): 793–806. doi:10.1177/0146167208315457. PMID 18391025.
- Leyens, Jacques-Philippe; Yzerbyt, Vincent; Schadron, Georges (1994). Stereotypes and Social Cognition. London: Sage Publications. pp. 104–107. ISBN .
- Quattrone, George A.; Jones, Edward E. (1980). "The perception of variability within in-groups and out-groups: Implications for the law of small numbers". Journal of Personality and Social Psychology. 38 (1): 141–152. doi:10.1037/0022-3514.38.1.141. ISSN 0022-3514.
- Jackson, Lynne M. (2011). The Psychology of Prejudice: From Attitudes to Social Action. Washington, DC: American Psychological Association. pp. 110–112. ISBN .
- L. Cosmides; J. Tooby; R. Kurzban (1 เมษายน 2003). . Trends in Cognitive Sciences. 7 (4): 173–179. doi:10.1016/S1364-6613(03)00057-3. PMID 12691766. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2012.
- L. A. Hirschfeld (1996). Race in the Making: Cognition, Culture, and the Child's Construction of Human Kinds. Cambridge, Massachusetts: Mit Press. ISBN .
- F. J. Gil-White (สิงหาคม–ตุลาคม 2001). "Are Ethnic Groups Biological "Species" to the Human Brain? Essentialism in Our Cognition of Some Social Categories". Current Anthropology. The University of Chicago Press. 42 (4): 515–553. doi:10.1086/321802. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2012.
- R. Kurzban; J. Tooby; L. Cosmides (18 ธันวาคม 2001). "Can race be erased? Coalitional computation and social categorization". Proceedings of the National Academy of Science USA. 98 (26): 15387–15392. doi:10.1073/pnas.251541498. PMC 65039. PMID 11742078. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2012.
- G. J. Lewis; T. C. Bates (พฤศจิกายน 2010). "Genetic Evidence for Multiple Biological Mechanisms Underlying In-Group Favoritism". Psychological Science. 21 (11): 1623–1628. doi:10.1177/0956797610387439. PMID 20974715. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2012.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิพจนานุกรม มีความหมายของคำว่า: ingroup, outgroup
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insakhasngkhmsastraelacitwithyasngkhm klumin xngkvs ingroup epnklumsngkhmthibukhkhlnbwatnepnsmachik odyepriybethiybkn klumnxk xngkvs outgroup sungepnklumsngkhmthibukhkhlimnbwatnepnsmachik yktwxyangechn eraxaccaehnwatnepnsmachikkhxngklumtang thicaaenkodyechuxchati wthnthrrm ephs xayu hruxsasna aelamikarphbwa khwamrusukthangciticwaepnsmachikkhxngklumsngkhm mibthbathinpraktkarnthangsngkhmtang makmay khaphasaxngkvswa ingroup aela outgroup ekidkhwamniymephraangankhxngehnri thchefl aelaephuxnrwmngan emuxkalngsrangthvsdiexklksnthangsngkhm social identity theory aelaidsuksakhwamaetktangkhxngkluminklumnxk odywithithieriykwa minimal group paradigm phwkekhaphbwa erasamarthsrangklumintamkhwamchxbickhxngtn phayinimkinathi aelaklumechnnixaccamiexklksnxairbangxyangthiepneruxngelk nxy echn khwamchxbicinphaphsilpbangxyangpraktkarnthismphnthknkarcaaenkpraephthbukhkhlinic xxkepnkluminaelaklumnxk smphnthkbpraktkarnthangsngkhmhlayxyang twxyangtxipni lwnaetepneruxngthinkwichakaridihkhwamsnic khwamlaexiyngkbklumin insthankarnbangxyang eracachxbicaelaphukphnkbkluminehnuxklumnxk hruxehnuxbukhkhlidkidthiimichkhninklumin sungsamarthehnidinkarpraeminkhnxun karechuxmtxsmphnth karaebngkhxngthimi aelaeruxngxun karduthukklumnxk kareluxkptibtitxklumintangcakklumnxk epneruxngkhxngkhwamlaexiyngthiihkbkhninklumin thiimihkbklumnxk karduthukklumnxk Outgroup derogation epnpraktkarnthiekidkhun emuxerarusukwasmachikklumnxk epnphytxsmachikklumin sungmkcaprakxbdwykhwamlaexiyngtxklumin aetimesmxip ephraawa epnpraktkarnthiekidkhunxasykhwamsnithsnmkhunekhykbsmachikklumin minganwicythiesnxwa karduthukklumnxk ekidkhunemuxerarusukwa klumnxkhyudynghruxkhdkhwangepahmaykhxngklumin aelawa karduthukklumnxk epnphltamthrrmchatikhxngkarcdpraephthtn aelaphuxun xiththiphlthangsngkhm eramkcaidrbxiththiphlcakkhninkluminmakkwa khux insthankarnthikaraebngklum epnsingthichdecninic eracaepliynkhwamkhidkhxngeraihekhakbkhninklum karephimkhwamrunaerngkhxngklum karephimkhwamrunaerngkhxngklum group polarization hmaythungkhwamonmexiyngkhxngklum thicatdsinicipinthangthirunaerngkwakhwamprarthnainebuxngtnkhxngsmachik aetwa kartdsinicthinxmipinkhwamechuxhlkkhxngklum kmidwyehmuxnkn mihlkthanthiaesdngwa praktkarnnismphnthkbsthankarnthimikaraebngkluminklumnxkthichdecnthangic khwamehmuxnknkhxngsmachik karaebngepnklumsngkhm thaiherarusukmakkhunwa smachikinaetlaklumehmuxnkn sungmiphlepnpraktkarn exkphrrnkhxngklumnxk outgroup homogeneity sunghmaythungkhwamrusukwa smachikkhxngkhnklumnxkehmuxn kn khuxepn exkphrrn inkhnathirusukwa smachikklumin mikhwamhlakhlaymakkwa epnpraktkarnthiekidkhunmakkwaemuxepneruxngimdi aetinbangsthankarn eracarusukwa smachikkluminehmuxn knemuxklawthungeruxngthidi sungepnpraktkarnthieriykwa exkphrrnkhxngklumin ingroup homogeneity bthbathtamthvsdi inwiwthnakarmnusyincitwithyaechingwiwthnakar khwamlaexiyngkbklumin xacepnklikthangciticthiidkarkhdeluxk ephraamipraoychninkarsrangphwkhruxaenwrwm cnthungkbxangwa khunsmbtibangxyangechnephshruxphiwphnthu epneruxngthiyudhyunimid hruxxacepneruxngthikhadimidinrabbthiidwiwthnakarmaechnni aetwa kmihlkthanaelwwa xngkhprakxbbangxyangekiywkbkhwamlaexiyng epneruxngthiyudhyunid ephraasamarthkacdidodyepliynkarcdpraephththangsngkhmihm nganwicyhnunginsakhaphnthusastrechingphvtikrrm behavioural genetics esnxwa xacmiklikthangchiwphaph thikahndihmithngrabbthiyudhyunid aelayudhyunimidaetkhadimidduephimlththixanacniym khtiehnaekyati wthnthrrmyxyechingxrrthaelaxangxingTajfel H 1970 Experiments in Intergroup Discrimination PDF Tajfel H Billig M G Bundy R P Flament C emsayn mithunayn 1971 Social categorization and intergroup behaviour PDF European Journal of Social Psychology 1 2 149 178 doi 10 1002 ejsp 2420010202 PDF cakaehlngedimemux 27 tulakhm 2020 subkhnemux 19 emsayn 2022 Tajfel H 1974 Social Identity and Intergroup Behavior PDF Aronson E Wilson T D Akert R D 2009 Social psychology 7th ed Upper Saddle River Prentice Hall ISBN 0 13814478 8 Brewers Marilynn B 1999 PDF Journal of Social Issues 55 3 429 444 doi 10 1111 0022 4537 00126 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 4 minakhm 2016 subkhnemux 23 mithunayn 2015 Hewstone Miles Rubin Mark Willis Hazel 2002 Intergroup Bias in Richard J Crisp b k Social Psychology Vol 3 New York NY Routledge pp 323 344 Smith Eliot R Mackie Diane M Chapter 6 Me you and them Effects of social categorization Social Psychology 3 ed Psychology Press subkhnemux 17 mithunayn 2015 Zhong Chen Bo Phillips Katherine W Leonardelli Geoffrey J Galinsky Adam D 2008 Negational categorization and intergroup behavior PDF Personality and Social Psychology Bulletin 34 6 793 806 doi 10 1177 0146167208315457 PMID 18391025 Leyens Jacques Philippe Yzerbyt Vincent Schadron Georges 1994 Stereotypes and Social Cognition London Sage Publications pp 104 107 ISBN 0 80398584 3 Quattrone George A Jones Edward E 1980 The perception of variability within in groups and out groups Implications for the law of small numbers Journal of Personality and Social Psychology 38 1 141 152 doi 10 1037 0022 3514 38 1 141 ISSN 0022 3514 Jackson Lynne M 2011 The Psychology of Prejudice From Attitudes to Social Action Washington DC American Psychological Association pp 110 112 ISBN 1 43380920 6 L Cosmides J Tooby R Kurzban 1 emsayn 2003 Trends in Cognitive Sciences 7 4 173 179 doi 10 1016 S1364 6613 03 00057 3 PMID 12691766 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 15 minakhm 2014 subkhnemux 16 krkdakhm 2012 L A Hirschfeld 1996 Race in the Making Cognition Culture and the Child s Construction of Human Kinds Cambridge Massachusetts Mit Press ISBN 0 26208247 0 F J Gil White singhakhm tulakhm 2001 Are Ethnic Groups Biological Species to the Human Brain Essentialism in Our Cognition of Some Social Categories Current Anthropology The University of Chicago Press 42 4 515 553 doi 10 1086 321802 subkhnemux 16 krkdakhm 2012 R Kurzban J Tooby L Cosmides 18 thnwakhm 2001 Can race be erased Coalitional computation and social categorization Proceedings of the National Academy of Science USA 98 26 15387 15392 doi 10 1073 pnas 251541498 PMC 65039 PMID 11742078 subkhnemux 16 krkdakhm 2012 G J Lewis T C Bates phvscikayn 2010 Genetic Evidence for Multiple Biological Mechanisms Underlying In Group Favoritism Psychological Science 21 11 1623 1628 doi 10 1177 0956797610387439 PMID 20974715 subkhnemux 16 krkdakhm 2012 aehlngkhxmulxunwikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa ingroup outgroup