พูโรมัยซิน (อังกฤษ: Puromycin) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ สังเคราะห์ขึ้นได้จากแบคทีเรีย พูโรมัยซินจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยการทำให้การสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียสิ้นสุดเร็วกว่าปกติในระหว่างกระบวนการการแปรรหัสพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์แบคทีเรียนั้นขาดโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและเพิ่มจำนวน จนทำให้แบคทีเรียนั้นตายไปในที่สุด พูโรมัยซินละลายน้ำได้ค่อนข้างดี (50 mg/ml) ณ ที่ความเข้มข้นไม่เกิน 10 mg/ml จะเป็นสารละลายใสไม่มีสี โดยพูโรมัยซินในรูปแบบสารละลายนี้จะคงสภาพอยู่ได้เป็นระยะเวลา 1 ปี ณ อุณหภูมิ -20 °C.
ชื่อ | |
---|---|
3′-Deoxy-N,N-dimethyl-3′-(O-methyl-L-tyrosinamido)adenosine | |
(2S)-2-Amino-N-{(2S,3S,4R,5R)-5-[6-(dimethylamino)-9H-purin-9-yl]-4-hydroxy-2-(hydroxymethyl)oxolan-3-yl}-3-(4-methoxyphenyl)propanamide | |
เลขทะเบียน | |
| |
3D model () |
|
| |
| |
เคมสไปเดอร์ |
|
ดรักแบงก์ |
|
| |
MeSH | Puromycin |
ผับเคม CID |
|
| |
(EPA) |
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C22H29N7O5 | |
มวลโมเลกุล | 471.50956 |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa อ้างอิงกล่องข้อมูล |
กลไกการออกฤทธิ์
พูโรมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มย่อยอะมิโนนิวคลีโอไซด์ ที่สกัดได้จากแบคทีเรีย ซึ่งยานี้จะออกฤทธิ์รบกวนการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียก่อโรค โดยทำให้การสังเคราะห์โปรตีนนั้นๆสิ้นสุดกระบวนการเร็วกว่าปกติในช่วงที่มีการการแปรรหัสพันธุกรรมในไรโบโซมของเซลล์แบคทีเรีย โดยพูโรมัยซินมีส่วนของโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับปลายสาย 3' ของอะมิโนอะซิทิเลทเตด ทีอาร์เอ็นเอ (aminoacylated tRNA) ซึ่งส่วนนี้จะเข้าจับตำแหน่ง A site บนไรโบโซมของแบคทีเรียแทนทีอาร์เอ็นเอ จนเกิดเป็นสายพูโรมิซิเลท (puromycylated nascent chain) ขึ้น และทำให้สายพอลีเพพไทด์ที่กำลังสังเคราะห์ในไรโบโซมนั้นสิ้นสุดและถูกปล่อยออกไปเร็วกว่าปกติ ซึ่งสายพอลีเพพไทด์ที่ได้นี้จะไม่สามารถทำงานได้ ส่งผลให้เซลล์แบคทีเรียนั้นไม่สามารถดำรงชีวิตและขยายพันธุ์ได้ จนตายไปในที่สุด ทั้งนี้ กลไกการออกฤทธิ์โดยละเอียดของพูโรมัยซินนั้นยังไม่ทราบแน่ชัดเท่าใดนัก แต่การที่ตำแหน่ง 3' ของพูโรมัยซินมีหมู่แทนที่เอไมด์แทนที่จะเป็นเอสเทอร์เหมือนที่พบในทีอาร์เอ็นเอนั้น ทำให้ยานี้มีความคงทนต่อการเกิด และส่งผลยับยั้งการทำงานของไรโบโซมได้ดี อย่างไรก็ตาม พูโรมัยซินนั้นไม่ได้ออกฤทธิ์อย่างจำเพาะ โดยจะส่งผลต่อทั้งเซลล์โพรคาริโอตและยูคาริโอต
นอกจากนี้ พูโรมัยซินยังออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ dipeptidyl-peptidase II (serine peptidase) และเอนไซม์ cytosol alanyl aminopeptidase (metallopeptidase) แบบผันกลับได้ โดยกลไกการยับยั้งนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ยิ่งไปกว่า พูโรมัยซินยังถูกนำมาใช้เพื่อแยกเอนไซม์สองชนิดออกจากกัน คือ เอนไซม์ aminopeptidase M ที่ถูกกระตุ้นได้โดยพูโรมัยซิน และเอนไซม์ cytosol alanyl aminopeptidase ที่ถูกยับยั้งได้โดยพูโรมัยซิน
การใช้ประโยชน์
การเพาะเลี้ยงเซลล์
ในการศึกษาด้านชีววิทยาของเซลล์ได้มีการนำเอาพูโรมัยซินมาใช้ในระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์ เนื่องด้วยคุณสมบัติที่เป็นพิษต่อทั้งเซลล์โพรคาริโอตและยูคาริโอต โดยเซลล์ตัวอย่างจะถูกทำให้ทนต่อพูโรมัยซินด้วยการตกแต่งพันธุกรรมด้วยยีนดื้อยาที่มีชื่อว่า pac gene ที่ทำหน้าที่ผลิตเอนไซม์ N-acetyl-transferase ที่ได้จากแบคทีเรีย จากนั้นเซลล์ตัวอย่างจะถูกนำไปเพาะเลี้ยงในอาหารจำเพาะที่มีพูโรมัยซินละลายอยู่ที่ความเข้มข้น 1-10 μg/ml (ถึงแม้ว่าความเป็นพิษต่อยูคาริโอตของพูโรมัยซินนั้นจะเกิดขึ้นได้ที่ความเข้มข้นน้อยกว่า 1 μg/ml ก็ตาม) พูโรมัยซินจะออกฤทธิ์ฆ่าเซลล์ที่ไม่ได้รับการตกแต่งพันธุกรรมด้วยยีนดื้อยาได้มากถึงร้อยละ 99 ภายในระยะเวลา 2 วัน
การคัดเลือก Escherichia coli
พูโรมัยซินออกฤทธิ์ต้าน E. coli ได้น้อยมาก โดยจะทำการเพาะเลี้ยงหาสายพันธุ์ที่ทนต่อพูโรมัยซินในอาหารเลี้ยงเชื้อ LB agar ที่มีความเข้มข้นของพูโรมัยซิน 125 µg/ml แต่การใช้พูโรมัยซินในการคัดเลือกสายพันธุ์ E. coli นี้ต้องการการปรับ pH ของสารละลายที่แม่นยำ ณ ค่าที่ต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ที่ต้องการคัดเลือก จานเพาะเชื้อที่ผสมพูโรมัยซินแล้วมีความคงตัวประมาณ 1 เดือนเมื่อเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4 °C.
การคัดเลือกยีสต์
การดื้อต่อพูโรมัยซินในยีสต์พบว่าเกิดจากการแสดงออกของยีน puromycin N-acetyl-transferase (pac) ความเข้มข้นของพูโรมัยซินที่ใช้ในการคัดเลือกยีสต์อย่างบริเวอร์ยีสต์นั้นจะสูงกว่าที่ใช้ในการคัดเลือกเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งนี้ การกำจัดยีนที่ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาหลายขนานผ่านกลไกการขับยาออกอย่าง ยีน Pdr5 จะทำให้เซลล์มีความไวต่อพูโรมัยซินเพิ่มขึ้นได้
อ้างอิง
- Fermentek. (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-01. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.
- Pestka, S. (1971). "Inhibitors of ribosome functions". Annu. Rev. Microbiol. 25: 487–562. doi:10.1146/annurev.mi.25.100171.002415. PMID 4949424.
- Eggers DK, Welch WJ, Hansen WJ (1997). "Complexes between nascent polypeptides and their molecular chaperones in the cytosol of mammalian cells". Mol Biol Cell. 8 (8): 1559–1573. doi:10.1091/mbc.8.8.1559. PMC 276176. PMID 9285825.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Starck SR, Green HM, Alberola-Ila J, Roberts RW (2004). "A general approach to detect protein expression in vivo using fluorescent puromycin conjugates". Chem. Biol. 11 (7): 999–1008. doi:10.1016/j.chembiol.2004.05.011. PMID 15271358.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Dando, Pam M.; Young, Nina E.; Barrett, Alan J. (1997). "Aminopeptidase PS: a Widely Distributed Cytosolic Peptidase". ใน Hopsu-Havu, Väinö K.; Järvinen, Mikko; Kirschke, Heidrun (บ.ก.). Proteolysis in Cell Functions. IOS Press. pp. 88–95. ISBN .
- McDonald JK, Reilly TJ, Zeitman BB, Ellis S (1968). "Dipeptidyl arylamidase II of the pituitary. Properties of lysylalanyl-beta-naphthylamide hydrolysis: inhibition by cations, distribution in tissues, and subcellular localization". The Journal of Biological Chemistry. 243 (8): 2028–37. PMID 5646493.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()[] - http://www.puromycin.com/protocols.htm
- MacDonald C, Piper RC (2015). "Puromycin- and methotrexate-resistance cassettes and optimized Cre-recombinase expression plasmids for use in yeast". Yeast. 32 (5): 423–38. doi:10.1002/yea.3069. PMC 4454448. PMID 25688547.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- ฐานข้อมูลออนไลน์สำหรับเอนไซม์เปปทิเดสและสารที่ยับยั้งเอนไซม์เปปทิเดส: พูโรมัยซิน[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phuormysin xngkvs Puromycin epnyaptichiwnainklumxamioniklokhisd sngekhraahkhunidcakaebkhthieriy phuormysincaxxkvththiybyngkarsngekhraahoprtinkhxngaebkhthieriy odykarthaihkarsngekhraahoprtinkhxngaebkhthieriysinsuderwkwapktiinrahwangkrabwnkarkaraeprrhsphnthukrrm sngphlihesllaebkhthieriynnkhadoprtinthicaepninkardarngchiwitaelaephimcanwn cnthaihaebkhthieriynntayipinthisud phuormysinlalaynaidkhxnkhangdi 50 mg ml n thikhwamekhmkhnimekin 10 mg ml caepnsarlalayisimmisi odyphuormysininrupaebbsarlalaynicakhngsphaphxyuidepnrayaewla 1 pi n xunhphumi 20 C phuormysin chux3 Deoxy N N dimethyl 3 O methyl L tyrosinamido adenosine 2S 2 Amino N 2S 3S 4R 5R 5 6 dimethylamino 9H purin 9 yl 4 hydroxy 2 hydroxymethyl oxolan 3 yl 3 4 methoxyphenyl propanamideelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 53 79 2 Y58 58 2 DiHCl Y3D model rupphaphaebbottxbCHEBI 17939 YChEMBL469912 Nekhmsipedxr 388623 Ydrkaebngk DB08437 YD05653 YMeSH Puromycinphbekhm CID 4395304A6ZS6Q2CL YPGN54228S5 DiHCl Y EPA DTXSID8036788InChI 1S C22H29N7O5 c1 28 2 19 17 20 25 10 24 19 29 11 26 17 22 18 31 16 15 9 30 34 22 27 21 32 14 23 8 12 4 6 13 33 3 7 5 12 h4 7 10 11 14 16 18 22 30 31H 8 9 23H2 1 3H3 H 27 32 t14 15 16 18 22 m0 s1 YKey RXWNCPJZOCPEPQ NVWDDTSBSA N YInChI 1 C22H29N7O5 c1 28 2 19 17 20 25 10 24 19 29 11 26 17 22 18 31 16 15 9 30 34 22 27 21 32 14 23 8 12 4 6 13 33 3 7 5 12 h4 7 10 11 14 16 18 22 30 31H 8 9 23H2 1 3H3 H 27 32 t14 15 16 18 22 m0 s1Key RXWNCPJZOCPEPQ NVWDDTSBBOO C N C H 3 C H O C H n2cnc1c2ncnc1N C C C H 3O CO C H N Cc4ccc OC cc4khunsmbtisutrekhmi C 22H 29N 7O 5mwlomelkul 471 50956hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPa xangxingklxngkhxmulklikkarxxkvththiphuormysinepnyaptichiwnaklumyxyxamionniwkhlioxisd thiskdidcakaebkhthieriy sungyanicaxxkvththirbkwnkarsngekhraahoprtinkhxngaebkhthieriykxorkh odythaihkarsngekhraahoprtinnnsinsudkrabwnkarerwkwapktiinchwngthimikarkaraeprrhsphnthukrrminirobosmkhxngesllaebkhthieriy odyphuormysinmiswnkhxngokhrngsrangthikhlaykhlungkbplaysay 3 khxngxamionxasithielthetd thixarexnex aminoacylated tRNA sungswnnicaekhacbtaaehnng A site bnirobosmkhxngaebkhthieriyaethnthixarexnex cnekidepnsayphuormisielth puromycylated nascent chain khun aelathaihsayphxliephphithdthikalngsngekhraahinirobosmnnsinsudaelathukplxyxxkiperwkwapkti sungsayphxliephphithdthiidnicaimsamarththanganid sngphlihesllaebkhthieriynnimsamarthdarngchiwitaelakhyayphnthuid cntayipinthisud thngni klikkarxxkvththiodylaexiydkhxngphuormysinnnyngimthrabaenchdethaidnk aetkarthitaaehnng 3 khxngphuormysinmihmuaethnthieximdaethnthicaepnexsethxrehmuxnthiphbinthixarexnexnn thaihyanimikhwamkhngthntxkarekid aelasngphlybyngkarthangankhxngirobosmiddi xyangirktam phuormysinnnimidxxkvththixyangcaephaa odycasngphltxthngesllophrkharioxtaelayukharioxt nxkcakni phuormysinyngxxkvththiybyngexnism dipeptidyl peptidase II serine peptidase aelaexnism cytosol alanyl aminopeptidase metallopeptidase aebbphnklbid odyklikkarybyngniyngimepnthithrabaenchd yingipkwa phuormysinyngthuknamaichephuxaeykexnismsxngchnidxxkcakkn khux exnism aminopeptidase M thithukkratunidodyphuormysin aelaexnism cytosol alanyl aminopeptidase thithukybyngidodyphuormysinkarichpraoychnkarephaaeliyngesll inkarsuksadanchiwwithyakhxngesllidmikarnaexaphuormysinmaichinrabbkarephaaeliyngesll enuxngdwykhunsmbtithiepnphistxthngesllophrkharioxtaelayukharioxt odyeslltwxyangcathukthaihthntxphuormysindwykartkaetngphnthukrrmdwyyinduxyathimichuxwa pac gene thithahnathiphlitexnism N acetyl transferase thiidcakaebkhthieriy caknneslltwxyangcathuknaipephaaeliynginxaharcaephaathimiphuormysinlalayxyuthikhwamekhmkhn 1 10 mg ml thungaemwakhwamepnphistxyukharioxtkhxngphuormysinnncaekidkhunidthikhwamekhmkhnnxykwa 1 mg ml ktam phuormysincaxxkvththikhaesllthiimidrbkartkaetngphnthukrrmdwyyinduxyaidmakthungrxyla 99 phayinrayaewla 2 wn karkhdeluxk Escherichia coli phuormysinxxkvththitan E coli idnxymak odycathakarephaaeliynghasayphnthuthithntxphuormysininxahareliyngechux LB agar thimikhwamekhmkhnkhxngphuormysin 125 µg ml aetkarichphuormysininkarkhdeluxksayphnthu E coli nitxngkarkarprb pH khxngsarlalaythiaemnya n khathitangknxxkip thngnikhunxyukbsayphnthuthitxngkarkhdeluxk canephaaechuxthiphsmphuormysinaelwmikhwamkhngtwpraman 1 eduxnemuxekbiwthixunhphumi 4 C karkhdeluxkyist karduxtxphuormysininyistphbwaekidcakkaraesdngxxkkhxngyin puromycin N acetyl transferase pac khwamekhmkhnkhxngphuormysinthiichinkarkhdeluxkyistxyangbriewxryistnncasungkwathiichinkarkhdeluxkesllkhxngstweliynglukdwynm thngni karkacdyinthikxihekidkarduxtxyahlaykhnanphanklikkarkhbyaxxkxyang yin Pdr5 cathaihesllmikhwamiwtxphuormysinephimkhunidxangxingFermentek phasaxngkvs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 09 01 subkhnemux 14 January 2018 Pestka S 1971 Inhibitors of ribosome functions Annu Rev Microbiol 25 487 562 doi 10 1146 annurev mi 25 100171 002415 PMID 4949424 Eggers DK Welch WJ Hansen WJ 1997 Complexes between nascent polypeptides and their molecular chaperones in the cytosol of mammalian cells Mol Biol Cell 8 8 1559 1573 doi 10 1091 mbc 8 8 1559 PMC 276176 PMID 9285825 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Starck SR Green HM Alberola Ila J Roberts RW 2004 A general approach to detect protein expression in vivo using fluorescent puromycin conjugates Chem Biol 11 7 999 1008 doi 10 1016 j chembiol 2004 05 011 PMID 15271358 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Dando Pam M Young Nina E Barrett Alan J 1997 Aminopeptidase PS a Widely Distributed Cytosolic Peptidase in Hopsu Havu Vaino K Jarvinen Mikko Kirschke Heidrun b k Proteolysis in Cell Functions IOS Press pp 88 95 ISBN 978 90 5199 322 6 McDonald JK Reilly TJ Zeitman BB Ellis S 1968 Dipeptidyl arylamidase II of the pituitary Properties of lysylalanyl beta naphthylamide hydrolysis inhibition by cations distribution in tissues and subcellular localization The Journal of Biological Chemistry 243 8 2028 37 PMID 5646493 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter lingkesiy http www puromycin com protocols htm MacDonald C Piper RC 2015 Puromycin and methotrexate resistance cassettes and optimized Cre recombinase expression plasmids for use in yeast Yeast 32 5 423 38 doi 10 1002 yea 3069 PMC 4454448 PMID 25688547 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter aehlngkhxmulxunthankhxmulxxnilnsahrbexnismeppthiedsaelasarthiybyngexnismeppthieds phuormysin lingkesiy