กลุ่มอาการเรย์โนด์ (หรือ "เรย์โน" ตามการทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส; อังกฤษ: Raynaud syndrome) หรือปรากฏการณ์เรย์โนด์ (อังกฤษ: Raynaud's phenomenon) เป็นอาการทางการแพทย์ตั้งชื่อตามแพทย์ชาวฝรั่งเศส ผู้อธิบายอาการนี้ครั้งแรกในวิทยานิพนธ์ของเขาในปี 1862 อาการเรย์โนเกิดจาก ส่งผลให้เกิดชุด (episodes) ของการไหลเวียนเลือดที่ลดลงในหลอดเลือดฝอยตอนปลาย โดยทั่วไปมักปรากฏอาการนี้นิ้วมือ และบ้างที่นิ้วเท้า และพบได้น้อยในจมูก, หู และริมฝีปาก ช่วงเหล่านี้ส่งผลให้ผิวหนังเกิดกลาย จากนั้นจึงเป็นสีน้ำเงิน บ่อยครั้งอาจมีอาการ หรือเจ็บปวด และทันใดที่การไหลเวียนเลือดกลับคืนมา บริเวณผิวหนังตรงนั้นจะกลายเป็นสีแดงและมีอาการแสบไหม้ โดยทั่วไปเกิดขึ้นครั้งละหลายนาที แต่บางกรณีอาจเกิดเป็นชั่วโมง
กลุ่มอาการเรย์โนด์ | |
---|---|
ชื่ออื่น | Raynaud's, Raynaud's disease, Raynaud's phenomenon, Raynaud's syndrome |
มือของผู้ป่วยกลุ่มอาการเรย์โน | |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา | วิทยารูมาตอยด์ |
อาการ | ตรงที่เกิดอาการกลายเป็น, จากนั้นน้ำเงิน, จากนั้นแดง, อาการแสบไหม้ |
ภาวะแทรกซ้อน | , |
การตั้งต้น | 15–30 ปี ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง |
ระยะดำเนินโรค | เป็นได้ครั้งละหลายชั่วโมง |
ปัจจัยเสี่ยง | ความหนาวเย็น, ความเครียดทางจิตใจ |
วิธีวินิจฉัย | ตามอาการ |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | คอซัลเกีย, |
การรักษา | หลีกเลี่ยงความเย็น, ยายับยั้งแคลเซียมชานเนิล, |
ความชุก | 4% ของประชากร |
ตัวกระตุ้นโดยทั่วไปคือความหนาวเย็นและภาวะเครียดทางอารมณ์ อาการเรย์โนยังแบ่งออกเป็นเรย์โนปฐมภูมิ (Primary Raynaud's) หรือ ซึ่งเกิดจากอาการหรือสาเหตุที่ไม่ทราบ ส่วนเรย์โนทุติยภูมิ (Secondary Raynaud's) เกิดจากอาการอื่น มีวัยเกิดโรคที่แก่กว่า และมีอาการเจ็บปวดที่รุนแรงกว่ามาก รวมถึงอาจปรากฏแบบอสมมาตรและเกี่ยวกับบาดแผลบนผิวหนัง เรย์โนทุติยภูมิอาจเกิดจาก เช่น สเคลอโรเดอร์มา และ ลูปัส, อาการบาดเจ็บที่มือ, , การสูบบุหรี่, ปัญหาเกี่ยวกับไทรอยด์ และยาบางชนิด เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด โดยทั่วไปการวินิจฉัยจะดำเนินไปตามอาการ
การรักษาขั้นต้นคือการป้องกันไม่ให้ตรงที่เกิดอาการถูกความหนาวเย็น ส่วนการควบคุมอื่น ๆ อาจมีการสั่งห้ามใช้นิโคตินหรือตัวกระตุ้นอื่น ๆ บางกรณีที่อาการไม่ดีขึ้นอาจให้ยากลุ่มยับยั้งแคลเซียมชานเนิล และ ในกรณีที่ร้ายแรงมากบางกรณีอาจพบ หรือ ซึ่งพบได้ยากมาก
มีผู้ป่วยด้วยอาการนี้ราว 4% ของประชากร เวลาเกิดโรคอยู่ตั้งแต่ 15 ถึง 30 ปี และพบมากกว่าในผู้หญิง ส่วนเรย์โนแบบทุติยภูมิมีกพบในผู้สูงอายุมากกว่า ทั้งสองแบบของเรย์โนพบได้ทั่วไปในพื้นที่ที่มีภูมิอากาศที่หนาวเย็น
อ้างอิง
- "What Is Raynaud's?". NHLBI. 21 มีนาคม 2014. จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2016.
- "What Are the Signs and Symptoms of Raynaud's?". NHLBI. 21 มีนาคม 2014. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2016.
- Wigley, FM; Flavahan, NA (11 August 2016). "Raynaud's Phenomenon". The New England Journal of Medicine. 375 (6): 556–65. doi:10.1056/nejmra1507638. PMID 27509103.
- "Who Is at Risk for Raynaud's?". NHLBI. 21 มีนาคม 2014. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2016.
- Barker, Roger A. (2005). The A-Z of Neurological Practice: A Guide to Clinical Neurology (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. p. 728. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 เมษายน 2017.
- ICD10 ฉบับภาษาไทย
- "What Causes Raynaud's?". NHLBI. 21 มีนาคม 2014. จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
- What Is Raynaud's Disease at
- Questions and Answers about Raynaud’s Phenomenon at National Institutes of Health
- Bakst R, Merola JF, Franks AG, Sanchez M (October 2008). "Raynaud's phenomenon: pathogenesis and management". Journal of the American Academy of Dermatology. 59 (4): 633–53. doi:10.1016/j.jaad.2008.06.004. PMID 18656283.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumxakareryond hrux eryon tamkarthbsphthphasafrngess xngkvs Raynaud syndrome hruxpraktkarneryond xngkvs Raynaud s phenomenon epnxakarthangkaraephthytngchuxtamaephthychawfrngess phuxthibayxakarnikhrngaerkinwithyaniphnthkhxngekhainpi 1862 xakareryonekidcak sngphlihekidchud episodes khxngkarihlewiyneluxdthildlnginhlxdeluxdfxytxnplay odythwipmkpraktxakarniniwmux aelabangthiniwetha aelaphbidnxyincmuk hu aelarimfipak chwngehlanisngphlihphiwhnngekidklay caknncungepnsinaengin bxykhrngxacmixakar hruxecbpwd aelathnidthikarihlewiyneluxdklbkhunma briewnphiwhnngtrngnncaklayepnsiaedngaelamixakaraesbihm odythwipekidkhunkhrnglahlaynathi aetbangkrnixacekidepnchwomngklumxakareryondchuxxunRaynaud s Raynaud s disease Raynaud s phenomenon Raynaud s syndromemuxkhxngphupwyklumxakareryonkarxxkesiyng r eɪ ˈ n oʊ ray NOHsakhawichawithyarumatxydxakartrngthiekidxakarklayepn caknnnaengin caknnaedng xakaraesbihmphawaaethrksxn kartngtn15 30 pi swnihyepnphuhyingrayadaeninorkhepnidkhrnglahlaychwomngpccyesiyngkhwamhnaweyn khwamekhriydthangciticwithiwinicchytamxakarorkhxunthikhlayknkhxslekiy karrksahlikeliyngkhwameyn yaybyngaekhlesiymchanenil khwamchuk4 khxngprachakr twkratunodythwipkhuxkhwamhnaweynaelaphawaekhriydthangxarmn xakareryonyngaebngxxkepneryonpthmphumi Primary Raynaud s hrux sungekidcakxakarhruxsaehtuthiimthrab swneryonthutiyphumi Secondary Raynaud s ekidcakxakarxun miwyekidorkhthiaekkwa aelamixakarecbpwdthirunaerngkwamak rwmthungxacpraktaebbxsmmatraelaekiywkbbadaephlbnphiwhnng eryonthutiyphumixacekidcak echn sekhlxoredxrma aela lups xakarbadecbthimux karsubbuhri pyhaekiywkbithrxyd aelayabangchnid echn yaemdkhumkaenid odythwipkarwinicchycadaeniniptamxakar karrksakhntnkhuxkarpxngknimihtrngthiekidxakarthukkhwamhnaweyn swnkarkhwbkhumxun xacmikarsnghamichniokhtinhruxtwkratunxun bangkrnithixakarimdikhunxacihyaklumybyngaekhlesiymchanenil aela inkrnithirayaerngmakbangkrnixacphb hrux sungphbidyakmak miphupwydwyxakarniraw 4 khxngprachakr ewlaekidorkhxyutngaet 15 thung 30 pi aelaphbmakkwainphuhying swneryonaebbthutiyphumimikphbinphusungxayumakkwa thngsxngaebbkhxngeryonphbidthwipinphunthithimiphumixakasthihnaweynxangxing What Is Raynaud s NHLBI 21 minakhm 2014 cakaehlngedimemux 4 tulakhm 2016 subkhnemux 1 tulakhm 2016 What Are the Signs and Symptoms of Raynaud s NHLBI 21 minakhm 2014 cakaehlngedimemux 5 tulakhm 2016 subkhnemux 1 tulakhm 2016 Wigley FM Flavahan NA 11 August 2016 Raynaud s Phenomenon The New England Journal of Medicine 375 6 556 65 doi 10 1056 nejmra1507638 PMID 27509103 Who Is at Risk for Raynaud s NHLBI 21 minakhm 2014 cakaehlngedimemux 5 tulakhm 2016 subkhnemux 1 tulakhm 2016 Barker Roger A 2005 The A Z of Neurological Practice A Guide to Clinical Neurology phasaxngkvs Cambridge University Press p 728 ISBN 9780521629607 cakaehlngedimemux 24 emsayn 2017 ICD10 chbbphasaithy What Causes Raynaud s NHLBI 21 minakhm 2014 cakaehlngedimemux 4 tulakhm 2016 subkhnemux 1 tulakhm 2016 aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhDICD 10 I73 0ICD 443 0 179600MeSH D011928 25933 195295006thrphyakrphaynxk 000412 med 1993 klumxakareryondwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb klumxakareryond What Is Raynaud s Disease at Questions and Answers about Raynaud s Phenomenon at National Institutes of Health Bakst R Merola JF Franks AG Sanchez M October 2008 Raynaud s phenomenon pathogenesis and management Journal of the American Academy of Dermatology 59 4 633 53 doi 10 1016 j jaad 2008 06 004 PMID 18656283