ปลาตีน | |
---|---|
ปลาจุมพรวด หรือ ปลาตีนจุดฟ้า (Boleophthalmus boddarti) ที่แหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรบุรี | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้นใหญ่: | Osteichthyes |
ชั้น: | Actinopterygii |
อันดับใหญ่: | |
อันดับ: | Perciformes |
อันดับย่อย: | |
วงศ์: | Gobiidae |
วงศ์ย่อย: | Oxudercinae |
สกุล | |
ชื่อพ้อง | |
|
ปลาตีน คือปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อย Oxudercinae ในวงศ์ปลาบู่ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามชายทะเลโคลนและป่าชายเลนในเขตร้อนตั้งแต่เขตมหาสมุทรแอตแลนติก ชายฝั่งแอฟริกาจนถึงเอเชียแปซิฟิก มีความยาวลำตัวแตกต่างออกไปตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร ในชนิด จนถึงเกือบหนึ่งฟุต ในชนิด Periophthalmodon schlosseri
ลักษณะพิเศษและพฤติกรรม
หัวมีขนาดโต มีตาหนึ่งคู่ตั้งอยู่ส่วนบนสุดของหัวโปนออกมาเห็นได้ชัด ดวงตาสามารถกรอกไปมาได้ จึงใช้มองเห็นได้ดีเมื่อพ้นน้ำ สามารถเคลื่อนที่บนบกได้ โดยใช้ครีบอกที่แข็งแรงไถลตัวไปตามพื้นเลนและสามารถกระโดดได้ด้วย และสามารถใช้ชีวิตอยู่บนบกได้เป็นเวลานานเนื่องจากมีอวัยวะพิเศษอยู่ข้างเหงือกที่สามารถเก็บความชุ่มชื้นจากน้ำได้ และจะสูดอากาศบนบกเข้าปาก เพื่อนำออกซิเจนเข้าไปผสมกับน้ำเพื่อหายใจผ่านเหงือกเหมือนปลาทั่วไป ดังนั้น ปลาตีนจึงต้องทำตัวให้คงความชื้นอยู่ตลอด ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ตำแหน่งของปากอยู่ปลายสุดของหัวขนานกับพื้น หากินในเวลาน้ำลด โดยใช้ปากดูดกินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กในพื้นเลน ทำให้แลดูผิวเผินเหมือนสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมากกว่าปลา
ปกติปลาตีนจะอาศัยอยู่รวมกันหลายตัวไม่มีออกนอกเขตของตัวเอง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาตีนตัวผู้จะมีสีเข้มขึ้นและมีอาณาเขตของการสืบพันธุ์ โดยจะมีการสร้างหลุมซึ่งมันจะใช้ปากขุดโคลนมากอง บนปากหลุม เรียกว่า หลุมปลาตีน และมีพฤติกรรมหวงเขตแดนเมื่อมีปลาตีนตัวอื่นรุกล้ำ โดยจะแสดงการกางครีบหลังขู่ และเคลื่อนที่เข้าหาผู้รุกล้ำทันที ปลาตีนตัวผู้และตัวเมียจะผสมพันธุ์ในหลุมที่ตัวผู้ขุดไว้
แหล่งที่อยู่ในประเทศไทย
อาศัยในป่าชายเลนในประเทศไทยมีกระจายเป็นตอน ๆ ริมฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยตั้งแต่จังหวัดชลบุรี, จังหวัดตราด เรื่อยลงไปถึงจังหวัดปัตตานี ส่วนทางฝั่งทะเลอันดามันพบตั้งแต่จังหวัดระนองลงไปสุด ชายแดนไทยที่จังหวัดสตูล
สำหรับปลาตีนชนิดที่พบได้ในประเทศไทย ได้แก่ , Periophthalmodon schlosseri และ Boleophthalmus boddarti โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันออกไป เช่น จุมพรวด, ตุมพรวด, กำพุด, กระจัง หรือ ไอ้จัง เป็นต้น
อ้างอิง
- school.net.th 2007-06-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- "ท่องโลกกว้าง: สัตว์ป่าหน้าแปลก". ไทยพีบีเอส. 9 February 2015. สืบค้นเมื่อ 10 February 2015.[]
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ปลาตีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
platinplacumphrwd hrux platincudfa Boleophthalmus boddarti thiaehlmphkebiy cnghwdephchrburikarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachnihy Osteichthyeschn Actinopterygiixndbihy xndb Perciformesxndbyxy wngs Gobiidaewngsyxy OxudercinaeskulParapocryptes PeriophthalmodonchuxphxngPeriophthalminae Periophthalmidae platin khuxplathixyuinwngsyxy Oxudercinae inwngsplabu kracayphnthuxyuthwiptamchaythaelokhlnaelapachayelninekhtrxntngaetekhtmhasmuthraextaelntik chayfngaexfrikacnthungexechiyaepsifik mikhwamyawlatwaetktangxxkiptngaetephiyngimkiesntiemtr inchnid cnthungekuxbhnungfut inchnid Periophthalmodon schlosserilksnaphiessaelaphvtikrrmhwmikhnadot mitahnungkhutngxyuswnbnsudkhxnghwopnxxkmaehnidchd dwngtasamarthkrxkipmaid cungichmxngehniddiemuxphnna samarthekhluxnthibnbkid odyichkhribxkthiaekhngaerngithltwiptamphunelnaelasamarthkraoddiddwy aelasamarthichchiwitxyubnbkidepnewlananenuxngcakmixwywaphiessxyukhangehnguxkthisamarthekbkhwamchumchuncaknaid aelacasudxakasbnbkekhapak ephuxnaxxksiecnekhaipphsmkbnaephuxhayicphanehnguxkehmuxnplathwip dngnn platincungtxngthatwihkhngkhwamchunxyutlxd twphumikhnadihykwatwemiy taaehnngkhxngpakxyuplaysudkhxnghwkhnankbphun hakininewlanald odyichpakdudkinxaharcaphwkstwnakhnadelkinphuneln thaihaelduphiwephinehmuxnstweluxykhlanhruxstwkhrungbkkhrungnamakkwapla pktiplatincaxasyxyurwmknhlaytwimmixxknxkekhtkhxngtwexng emuxthungvduphsmphnthu platintwphucamisiekhmkhunaelamixanaekhtkhxngkarsubphnthu odycamikarsranghlumsungmncaichpakkhudokhlnmakxng bnpakhlum eriykwa hlumplatin aelamiphvtikrrmhwngekhtaednemuxmiplatintwxunrukla odycaaesdngkarkangkhribhlngkhu aelaekhluxnthiekhahaphuruklathnthi platintwphuaelatwemiycaphsmphnthuinhlumthitwphukhudiwaehlngthixyuinpraethsithyxasyinpachayelninpraethsithymikracayepntxn rimfngthaeldanxawithytngaetcnghwdchlburi cnghwdtrad eruxylngipthungcnghwdpttani swnthangfngthaelxndamnphbtngaetcnghwdranxnglngipsud chayaednithythicnghwdstul sahrbplatinchnidthiphbidinpraethsithy idaek Periophthalmodon schlosseri aela Boleophthalmus boddarti odymichuxeriyktang knxxkip echn cumphrwd tumphrwd kaphud kracng hrux ixcng epntn wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb platinxangxingschool net th 2007 06 17 thi ewyaebkaemchchin thxngolkkwang stwpahnaaeplk ithyphibiexs 9 February 2015 subkhnemux 10 February 2015 lingkesiy aehlngkhxmulxunewbistplatinwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Oxudercinae