รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) เป็นแนวคิดที่ต้องการวางหลักเกณฑ์ในการมองรัฐธรรมนูญให้มีความเป็นกฎหมายสูงสุด และคุ้มครองสิทธิของประชาชนโดยแท้จริง แนวคิดนี้ยังกล่าวว่าหากรัฐใดมีรัฐธรรมนูญ แต่ไม่กล่าวถึงโครงสร้างแห่งหลักประกันสิทธิของประชาชนในรัฐ รัฐธรรมนูญนั้นก็เป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่สมบูรณ์ หรือไม่เป็นรัฐธรรมนูญ แนวคิดรัฐธรรมนูญนั้นมีมากมายแตกต่างกันแตกหากเชื่อในเรื่องของการมีกฎหมายสูงสุดอันเป็นหลักประกันสิทธิของประชาชนเหมือนกันก็ย่อมเรียกว่า รัฐธรรมนูญนิยม
วัตถุประสงค์ของกระแสแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมนี้เน้นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างรัฐในฐานะผู้ปกครองซึ่งมีอำนาจสูงสุดกับประชาชนผู้อยู่ใต้ปกครอง โดยรัฐจะต้องให้การรับรองและคุ้มครองซึ่งสิทธิเสรีภาพของผู้ใต้ปกครองและประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการปกครองหรือในการใช้อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ทั้งนี้จะต้องมีการสร้างระบบควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจและมีการปรับปรุงโครงสร้างทางการเมืองให้มีเสถียรภาพเพื่อจะได้บรรลุวัตถุประสงค์ของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมที่มีแนวคิดในการสร้างมาตรการขึ้นมาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของรัฐธรรมนูญฉบับเก่านั่นเอง
ความหมาย
รัฐธรรมนูญนิยม มีหลายความหมาย โดยส่วนใหญ่แล้วมักหมายถึงกลุ่มของแนวความคิด ทัศนคติ และรูปแบบพฤติกรรมที่สาธยายเกี่ยวกับหลักการที่การใช้อำนาจของรัฐมาจากกฎหมายสูงสุดและถูกจำกัดอำนาจด้วยกฎหมายสูงสุด รัฐธรรมนูญนิยม นิยาม รัฐธรรมนูญนิยม หรือ ระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutionalism) หมายถึง ความเชื่อทางปรัชญาความคิดที่นิยมหลักการปกครองรัฐด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ เป็นแนวความคิดที่มุ่งหมายจะใช้รัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร (written constitution) เป็นหลักในการกำหนดรูปแบบ กลไก และสถาบันทางการเมืองการปกครองต่างๆ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานของการบริหารงานภาครัฐในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุด (อมร จันทรสมบูรณ์, 2537: 9; Alexander, 1999: 16; Bellamy, 2007: 4-5; Sartori, 1962: 3) ที่มา แนวคิดนี้เริ่มก่อตัวขึ้นครั้งแรกในประเทศตะวันตก ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อต่อต้าน คัดค้านรูปแบบการเมืองการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolutism) ของประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปขณะนั้น จนมาปรากฏชัดเจนขึ้นหลังจากการประชุมเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1787 (McIlwain, 1977: 17) ซึ่งทำให้แนวคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษรนั้นปรากฏชัดเจนขึ้นเป็นครั้งแรก ดังนั้น แนวคิดเรื่องลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เมื่อเกิดขึ้นในขั้นต้น จึงไม่ได้มีความหมายกลางๆ แต่อย่างใด หากแต่มีความหมายที่โน้มเอียงไปในด้านการจำกัดอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในขณะนั้น และเน้นหนักในการพยายามสร้างสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของพลเมืองภายในรัฐ โดยเรียกร้องให้มีการนำสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” มาใช้เป็นหลักในการวางกรอบของประเด็นดังกล่าว จากลักษณะข้างต้นจึงทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในประเทศตะวันตกนั้นได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์เสรีประชาธิปไตยไปในที่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สำหรับประเทศตะวันตกแล้ว หากจะมีรัฐธรรมนูญก็ควรจะต้องเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยนั่นเอง (Bellamy, 2007: 93) ท่ามกลางกระแสเสรีประชาธิปไตยซึ่งยังคงเป็นกระแสหลักของประเทศส่วนใหญ่ในตะวันตก จึงได้ทำให้คำว่าลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในปัจจุบันกลับกลายเป็นสิ่งที่มีความหมายกลางๆ ที่มองรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือทางกฎหมายอย่างหนึ่ง ที่จะนำมาใช้วางโครงสร้างสถาบันทางการเมืองการปกครอง กำหนดแหล่งที่มาของอำนาจ การเข้าสู่อำนาจ และการใช้อำนาจของผู้ปกครองในทุกๆ ระบอบการปกครอง (McIlwain, 1977) โดยมิได้จำกัดอยู่แต่เพียงระบอบประชาธิปไตยอีกต่อไป ดังจะเห็นได้จากในปัจจุบันนี้รัฐสมัยใหม่ “ทุกรัฐ” ในโลกนี้ไม่ว่าจะเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยหรือไม่ ต่างก็ล้วนแล้วแต่ยึดรูปแบบการปกครองของระบอบรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) ทั้งสิ้น กล่าวคือ ทุกๆ รัฐต่างก็มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการจัดวางอำนาจและโครงสร้างทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (เสน่ห์, 2540: 17) โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) ประเทศที่สหประชาชาติให้การรับรองนั้นมีทั้งสิ้น 196 ประเทศ (แต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติเพียง 193 ประเทศ) ในขณะที่รัฐธรรมนูญที่เป็นทางการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในโลกนี้มีทั้งสิ้นกว่า 203 ฉบับ ทั้งนี้เพราะในรัฐโพ้นทะเลบางแห่งอย่างเช่น หมู่เกาะบริติช เวอร์จิน (British Virgin Islands or BVI) ของอังกฤษ หรือ เกาะกรีนแลนด์ของเดนมาร์กนั้นต่างก็เป็นรัฐที่มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองในฐานะเป็นดินแดนที่มีการปกครองตนเอง แม้ว่าอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน (absolute territorial sovereignty) นั้นจะเป็นของประเทศเจ้าเอกราชก็ตาม ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย ประเทศไทยเองก็รับเอาลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เข้ามาใช้อย่างเป็นทางการภายหลังจากการเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของคณะราษฎร แม้ว่าขบวนการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นจะสามารถสร้างระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นในประเทศไทยได้ แต่ผลจากการที่การเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดจากการต่อสู้กันเฉพาะภายในกลุ่มชนชั้นนำบางส่วนของไทย ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ถึงขนาดที่มีคนเข้าใจว่า “รัฐธรรมนูญ” เป็นชื่อของลูกชายนายทหารผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา (ปรีดี, 2543) ทั้งนี้ก็เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือต่อสู้บนพื้นฐานของความเข้าใจในสิทธิเสรีภาพและการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญ อันจะเป็นเครื่องมือในการสร้างความเสมอภาคเท่าเทียมและเป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยของปวงชน ดังเช่นที่ประชาชนชาติตะวันตกได้ต่อสู้ด้วยความยากลำเค็ญเพื่อก่อร่างสร้างระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศของพวกเขา ดังนั้น ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงสามารถก่อรูปได้ก็แต่เพียงหลักการในการจำกัดอำนาจผู้ปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทำให้แหล่งที่มาของอำนาจต้องอ้างอิงกับประชาชนเจ้าของอำนาจอธิปไตยได้ตามหลักการทุกประการ แต่จากการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการต่อสู้มากนักจึงทำให้พวกเขาไม่สามารถเชื่อมโยงจิตสำนึกให้เข้ากับรัฐธรรมนูญได้ แม้จะมีบทบัญญัติถึงหน้าที่ในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญไว้ในรัฐธรรมนูญก็ตาม จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนไม่ให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญ และทำให้รัฐธรรมนูญขาดความศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จึงกลายเป็นผลลัพธ์และการรอมชอมจากการต่อสู้ของกลุ่มชนชั้นนำทางการเมืองกลุ่มต่างๆ ของไทย ซึ่งสามารถถูกฉีกทิ้งและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาแทนในภายหลังได้อย่างง่ายดาย (เสน่ห์, 2540: 31-35) อย่างไรก็ดี หลังจากเหตุการณ์การเรียกร้องให้มีการใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 ของขบวนการนิสิตนักศึกษาไทย ได้แสดงให้เห็นถึงจุดเปลี่ยนครั้งยิ่งใหญ่ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ปรากฏการณ์นี้สะท้อนว่า คนส่วนหนึ่งของสังคมได้เริ่มตระหนักรู้และเข้าใจความสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยสูงสุดของปวงชน และเป็นเครื่องมือที่จะนำไปใช้จำกัดอำนาจของผู้ปกครองจากการใช้อำนาจอันมิชอบ (abuse of power) ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถมีเสรีภาพและความเสมอภาคเท่าเทียมที่ถูกรับรองไว้ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญได้อย่างถ้วนหน้า ซึ่งเป็นแก่นของระบอบรัฐธรรมนูญนั่นเอง (เสน่ห์, 2540: 316) จากเหตุการณ์ดังกล่าวนี้เองที่ทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาทในการเมืองไทย ในฐานะที่เป็นแนวคิดที่จะสร้างกลไกทางกฎหมายรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ จำกัดอำนาจผู้ปกครอง และสร้างเสรีภาพให้แก่พลเมืองให้มากที่สุด จึงทำให้แนวคิดนี้เติบโตออกไปจากเดิมมาก แม้ช่วงเวลาหลังจากการเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับยุคที่รัฐธรรมนูญมีลักษณะที่เป็นประชาธิปไตยเพียงครึ่งใบก็ตาม และด้วยกระแสลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมที่เติบโตขึ้นจึงทำให้ท้ายที่สุดในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยก็สามารถประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ได้ชื่อว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการยกร่าง และจัดทำรัฐธรรมนูญมากที่สุดฉบับหนึ่ง ซึ่งถึงแม้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะสามารถนำมาบังคับใช้ได้แค่เพียง 9 ปีก่อนจะเกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 แต่จะเห็นได้ว่าการฉีกรัฐธรรมนูญของคณะทหารในครั้งนี้แตกต่างจากครั้งก่อนๆ เพราะครั้งนี้ได้เกิดกระแสต่อต้านคณะรัฐประหารที่ทำลายรัฐธรรมนูญเป็นอย่างมาก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการที่ดีของประเทศไทยที่ประชาชนเริ่มผูกโยงความสำคัญของตัวรัฐธรรมนูญเข้ากับการมีอยู่ของสิทธิและเสรีภาพของตนที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากกว่าเพียงแค่ตัวอักษรที่จารึกไว้ในกระดาษ หากแต่เป็นเจตนารมณ์ของตัวรัฐธรรมนูญที่คอยปกป้องสิทธิ เสรีภาพของประชาชนอันเป็นปัจจัยพื้นฐานของรัฐธรรมนูญทุกรัฐธรรมนูญในระบอบรัฐธรรมนูญ (every constitutionalism’s constitution) นั้นพึงมี
ความหมายของรัฐธรรมนูญที่ได้รับการยอมรับของโลก เป็นความหมายที่ เมธีด้านรัฐศาสตร์และรัฐธรรมนูญแห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ได้อธิบายไว้ว่า
...รัฐธรรมนูญนิยมนั้นหมายถึงการบรรยายแนวคิดที่มีความสลับซับซ้อนอันฝังตัวลึกอยู่ในของประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ ว่าด้วยการควบคุมข้าราชการผู้ใช้อำนาจรัฐให้อยู่ในขอบเขตที่จำกัดโดยกฎหมายที่สูงกว่าอำนาจนั้น ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมได้ประกาศเจตนารมณ์ที่จะดำรงไว้ซึ่งหลักนิติธรรมและต่อต้านการใช้ดุลพินิจวินิจฉัยหรือดุลพินิจตัดสินใจ (judgment or mere fiat) ตามอำเภอใจของผู้มีอำนาจทางปกครองนั้น ... ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามาตรฐานในการทดสอบความเป็นรัฐธรรมนูญนิยมนั้นก็คือแนวคิดการจำกัดอำนาจรัฐไว้ด้วยกฎหมายที่อำนาจสูงกว่านั่นเอง ไม่ว่าจะมีรัฐบาลในรูปแบบใดก็ตาม...
ด้าน ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้อธิบายความหมายของคำว่ารัฐธรรมนูญนิยมไว้ว่า
รัฐธรรมนูญนิยมมีความหมายถึงการที่ผู้ปกครองประเทศและประชาชนในประเทศต่างมี ข้อผูกพันในแบบสัญญาประชาคมและมีกติกาสูงสุดเพื่อใช้ในการปกครองประเทศ กติกาสูงสุดนี้จะเป็นตัวกำหนดที่มาของอำนาจ ขอบเขตของอำนาจ และการใช้อำนาจของผู้ปกครอง หากผู้ปกครองผู้ใดกระทำการผิดหลักข้อตกลงของสัญญาประชาคม เช่นละเมิดสิทธิของประชาชนหรือทรัพย์สินของประชาชน ก็จะต้องได้รับการลงโทษ กติกาสูงสุดนี้ได้แก่รัฐธรรมนูญนั่นเอง
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีรัฐธรรมนูญนิยม
- ทฤษฎีสัญญาประชาคม
- หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
- หลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย
- หลักนิติรัฐ
หลักเกณฑ์ของรัฐธรรมนูญของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม
- รัฐธรรมนูญนั้นต้องเป็นกฎหมายสูงสุด
- รัฐธรรมนูญนิยมนั้น ต้องวางอยู่ภายใต้พื้นฐานแห่งหลักนิติรัฐ และ หลักนิติธรรม
- รัฐธรรมนูญนั้นต้องวางโครงสร้างของการใช้อำนาจของรัฐ
- รัฐธรรมนูญนั้นต้องมีหลักเกณฑ์ในจำกัดอำนาจของผู้ใช้อำนาจรัฐ
- รัฐธรรมนูญต้องมีหลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจ
- รัฐธรรมนูญต้องมีหลักการประกันสิทธิขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน
อ้างอิง
- บวรศักดิ์ อุวรรโณ. รวมคำบรรยายเนติฯภาคหนึ่ง สมัยที่ 54 การบรรยายครั้งที่ 3. (กรุงเทพฯ : สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2544) หน้า 59.
- ผศ.ดร. เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://www.pub-law.net/Publaw/view.asp?PublawIDs=409
- Don E. Fehrenbacher, Constitutions and Constitutionalism in the Slaveholding South (University of Georgia Press, 1989) at p. 1. (bracketed numbers added)
- เอกสารอ้างอิง เสน่ห์ จามริก. 2540. การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. อมร จันทรสมบูรณ์. 2537. คอนสติติวชั่นแนลลิสม์ (Constitutionalism): ทางออกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา. McIlwain, Charles Howard. 1977. Constitutionalism, ancient and modern. London: Cornell University Press. Sartori, Giovanni. 1997. Comparative constitutional engineering. New York: New York University Press. Alexander, Larry. 1998. Constitutionalism: philosophical foundations. Cambridge: Cambridge University Press. Bellamy, Richard. 1996. Constitutionalism, democracy and sovereignty: American and European perspectives. London: Gower House. Bellamy, Richard. 2007. Political constitutionalism: a republican defense of the constitutionality of democracy. London: Gower House.
- Philip P. Wiener, ed., "Dictionary of the History of Ideas: Studies of Selected Pivotal Ideas", (David Fellman, "Constitutionalism"), vol 1, p. 485, 491-92 (1973-74)
- ศาสตราจารย์ ดร.นันทวัฒน์ บรมานันท์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://www.pub-law.net/Publaw/view.asp?PublawIDs=589
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rththrrmnuyniym Constitutionalism epnaenwkhidthitxngkarwanghlkeknthinkarmxngrththrrmnuyihmikhwamepnkdhmaysungsud aelakhumkhrxngsiththikhxngprachachnodyaethcring aenwkhidniyngklawwahakrthidmirththrrmnuy aetimklawthungokhrngsrangaehnghlkpraknsiththikhxngprachachninrth rththrrmnuynnkepnrththrrmnuythiimsmburn hruximepnrththrrmnuy aenwkhidrththrrmnuynnmimakmayaetktangknaetkhakechuxineruxngkhxngkarmikdhmaysungsudxnepnhlkpraknsiththikhxngprachachnehmuxnknkyxmeriykwa rththrrmnuyniym wtthuprasngkhkhxngkraaesaenwkhidrththrrmnuyniymniennkarsrangkhwamechuxmoyngrahwangrthinthanaphupkkhrxngsungmixanacsungsudkbprachachnphuxyuitpkkhrxng odyrthcatxngihkarrbrxngaelakhumkhrxngsungsiththiesriphaphkhxngphuitpkkhrxngaelaprachachncatxngmiswnrwminkarpkkhrxnghruxinkarichxanacsungsudinkarpkkhrxngpraeths thngnicatxngmikarsrangrabbkhwbkhumtrwcsxbkarichxanacaelamikarprbprungokhrngsrangthangkaremuxngihmiesthiyrphaphephuxcaidbrrluwtthuprasngkhkhxngaenwkhidrththrrmnuyniymthimiaenwkhidinkarsrangmatrkarkhunmaephuxaekikhkhxbkphrxngkhxngrththrrmnuychbbekannexngkhwamhmayrththrrmnuyniym mihlaykhwamhmay odyswnihyaelwmkhmaythungklumkhxngaenwkhwamkhid thsnkhti aelarupaebbphvtikrrmthisathyayekiywkbhlkkarthikarichxanackhxngrthmacakkdhmaysungsudaelathukcakdxanacdwykdhmaysungsud rththrrmnuyniym niyam rththrrmnuyniym hrux rabxbrththrrmnuy Constitutionalism hmaythung khwamechuxthangprchyakhwamkhidthiniymhlkkarpkkhrxngrthdwykdhmayrththrrmnuy klawkhux epnaenwkhwamkhidthimunghmaycaichrththrrmnuythiepnlaylksnxksr written constitution epnhlkinkarkahndrupaebb klik aelasthabnthangkaremuxngkarpkkhrxngtang tlxdcnokhrngsrangphunthankhxngkarbriharnganphakhrthinthanathiepnkdhmaysungsud xmr cnthrsmburn 2537 9 Alexander 1999 16 Bellamy 2007 4 5 Sartori 1962 3 thima aenwkhidnierimkxtwkhunkhrngaerkinpraethstawntk inrawkhriststwrrsthi 17 ephuxtxtan khdkhanrupaebbkaremuxngkarpkkhrxngaebbsmburnayasiththirachy absolutism khxngpraethsswnihyinyuorpkhnann cnmapraktchdecnkhunhlngcakkarprachumephuxykrangrththrrmnuykhxngshrthxemrikainpi kh s 1787 McIlwain 1977 17 sungthaihaenwkhidekiywkbrththrrmnuythiepnlaylksnxksrnnpraktchdecnkhunepnkhrngaerk dngnn aenwkhideruxnglththirththrrmnuyniymniemuxekidkhuninkhntn cungimidmikhwamhmayklang aetxyangid hakaetmikhwamhmaythionmexiyngipindankarcakdxanacaebbebdesrceddkhadkhxngkarpkkhrxngrabxbsmburnayasiththirachyinkhnann aelaennhnkinkarphyayamsrangsiththi esriphaph aelakhwamesmxphakhkhxngphlemuxngphayinrth odyeriykrxngihmikarnasingthieriykwa rththrrmnuy maichepnhlkinkarwangkrxbkhxngpraedndngklaw caklksnakhangtncungthaihlththirththrrmnuyniyminpraethstawntknnidklayepnswnhnungkhxngxudmkarnesriprachathipityipinthisud hruxklawxiknyhnungkkhux sahrbpraethstawntkaelw hakcamirththrrmnuykkhwrcatxngepnrththrrmnuythiepnprachathipitynnexng Bellamy 2007 93 thamklangkraaesesriprachathipitysungyngkhngepnkraaeshlkkhxngpraethsswnihyintawntk cungidthaihkhawalththirththrrmnuyniyminpccubnklbklayepnsingthimikhwamhmayklang thimxngrththrrmnuyepnekhruxngmuxthangkdhmayxyanghnung thicanamaichwangokhrngsrangsthabnthangkaremuxngkarpkkhrxng kahndaehlngthimakhxngxanac karekhasuxanac aelakarichxanackhxngphupkkhrxnginthuk rabxbkarpkkhrxng McIlwain 1977 odymiidcakdxyuaetephiyngrabxbprachathipityxiktxip dngcaehnidcakinpccubnnirthsmyihm thukrth inolkniimwacaepnpraethsesriprachathipityhruxim tangklwnaelwaetyudrupaebbkarpkkhrxngkhxngrabxbrththrrmnuyniym constitutionalism thngsin klawkhux thuk rthtangkmirththrrmnuyepnkdhmaysungsudinkarcdwangxanacaelaokhrngsrangthangkaremuxngkhxngpraethsnn esnh 2540 17 odypccubn ph s 2556 praethsthishprachachatiihkarrbrxngnnmithngsin 196 praeths aetepnsmachikshprachachatiephiyng 193 praeths inkhnathirththrrmnuythiepnthangkarthiichxyuinpccubninolknimithngsinkwa 203 chbb thngniephraainrthophnthaelbangaehngxyangechn hmuekaabritich ewxrcin British Virgin Islands or BVI khxngxngkvs hrux ekaakrinaelndkhxngednmarknntangkepnrththimirththrrmnuyepnkhxngtnexnginthanaepndinaednthimikarpkkhrxngtnexng aemwaxanacxthipityehnuxdinaedn absolute territorial sovereignty nncaepnkhxngpraethsecaexkrachktam twxyangkarnaipichinpraethsithy praethsithyexngkrbexalththirththrrmnuyniymniekhamaichxyangepnthangkarphayhlngcakkarekidkarepliynaeplngkarpkkhrxng ph s 2475 aelakaridmasungrththrrmnuychbbaerkkhxngkhnarasdr aemwakhbwnkarinkarepliynaeplngkarpkkhrxngnncasamarthsrangrabxbrththrrmnuykhuninpraethsithyid aetphlcakkarthikarepliynaeplngkarpkkhrxngekidcakkartxsuknechphaaphayinklumchnchnnabangswnkhxngithy prakxbkbprachachnswnihyyngimmikhwamrukhwamekhaicekiywkbrththrrmnuy thungkhnadthimikhnekhaicwa rththrrmnuy epnchuxkhxnglukchaynaythharphunakarepliynaeplngkarpkkhrxng khux phrayaphhlphlphyuhesna pridi 2543 thngnikephraaprachachnswnihyyngimidmiswnrwminkarepliynaeplngkarpkkhrxng hruxtxsubnphunthankhxngkhwamekhaicinsiththiesriphaphaelakaridmasungrththrrmnuy xncaepnekhruxngmuxinkarsrangkhwamesmxphakhethaethiymaelaepntwaethnxanacxthipitykhxngpwngchn dngechnthiprachachnchatitawntkidtxsudwykhwamyaklaekhyephuxkxrangsrangrabxbrththrrmnuyinpraethskhxngphwkekha dngnn rabxbrththrrmnuykhxngithythiekidkhunphayhlngcakkarepliynaeplngkarpkkhrxnginpi ph s 2475 cungsamarthkxrupidkaetephiynghlkkarinkarcakdxanacphupkkhrxng khux phramhakstriyinrabxbsmburnayasiththirachy aelathaihaehlngthimakhxngxanactxngxangxingkbprachachnecakhxngxanacxthipityidtamhlkkarthukprakar aetcakkaridmasungrththrrmnuythiprachachnimidmiswnrwminkartxsumaknkcungthaihphwkekhaimsamarthechuxmoyngcitsanukihekhakbrththrrmnuyid aemcamibthbyytithunghnathiinkarphithksrththrrmnuyiwinrththrrmnuyktam cudniexngthithaihprachachnimihkhwamsakhykbrththrrmnuy aelathaihrththrrmnuykhadkhwamskdisiththi kdhmayrththrrmnuyithytngaetpi ph s 2475 cungklayepnphllphthaelakarrxmchxmcakkartxsukhxngklumchnchnnathangkaremuxngklumtang khxngithy sungsamarththukchikthingaelarangrththrrmnuychbbihmkhunmaaethninphayhlngidxyangngayday esnh 2540 31 35 xyangirkdi hlngcakehtukarnkareriykrxngihmikarichrththrrmnuyineduxntulakhm ph s 2516 khxngkhbwnkarnisitnksuksaithy idaesdngihehnthungcudepliynkhrngyingihyinhnaprawtisastrkaremuxngithy odyechphaainaengkhxngkdhmayrththrrmnuy praktkarnnisathxnwa khnswnhnungkhxngsngkhmiderimtrahnkruaelaekhaickhwamsakhykhxngrththrrmnuyinthanathiepntwaethnxanacxthipitysungsudkhxngpwngchn aelaepnekhruxngmuxthicanaipichcakdxanackhxngphupkkhrxngcakkarichxanacxnmichxb abuse of power sungcathaihprachachnsamarthmiesriphaphaelakhwamesmxphakhethaethiymthithukrbrxngiwphayitkdhmayrththrrmnuyidxyangthwnhna sungepnaeknkhxngrabxbrththrrmnuynnexng esnh 2540 316 cakehtukarndngklawniexngthithaihlththirththrrmnuyniymerimekhamamibthbathinkaremuxngithy inthanathiepnaenwkhidthicasrangklikthangkdhmayrththrrmnuythimilksnaepnprachathipity khux cakdxanacphupkkhrxng aelasrangesriphaphihaekphlemuxngihmakthisud cungthaihaenwkhidnietibotxxkipcakedimmak aemchwngewlahlngcakkarekidehtukarn 14 tulakhm ph s 2516 praethsithycatxngephchiykbyukhthirththrrmnuymilksnathiepnprachathipityephiyngkhrungibktam aeladwykraaeslththirththrrmnuyniymthietibotkhuncungthaihthaythisudinpi ph s 2540 praethsithyksamarthprakasichrththrrmnuychbbthiidchuxwaprachachnidekhamamiswnrwminkrabwnkarykrang aelacdtharththrrmnuymakthisudchbbhnung sungthungaemrththrrmnuychbbdngklawcasamarthnamabngkhbichidaekhephiyng 9 pikxncaekidkarrthpraharinpi ph s 2549 aetcaehnidwakarchikrththrrmnuykhxngkhnathharinkhrngniaetktangcakkhrngkxn ephraakhrngniidekidkraaestxtankhnarthpraharthithalayrththrrmnuyepnxyangmak sungsathxnihehnthungphthnakarthidikhxngpraethsithythiprachachnerimphukoyngkhwamsakhykhxngtwrththrrmnuyekhakbkarmixyukhxngsiththiaelaesriphaphkhxngtnthiidbyytiiwinrththrrmnuy sungepnsingthimikhwamsakhymakkwaephiyngaekhtwxksrthicarukiwinkradas hakaetepnectnarmnkhxngtwrththrrmnuythikhxypkpxngsiththi esriphaphkhxngprachachnxnepnpccyphunthankhxngrththrrmnuythukrththrrmnuyinrabxbrththrrmnuy every constitutionalism s constitution nnphungmi khwamhmaykhxngrththrrmnuythiidrbkaryxmrbkhxngolk epnkhwamhmaythi emthidanrthsastraelarththrrmnuyaehngmhawithyalywiskhxnsin aemdisn idxthibayiwwa rththrrmnuyniymnnhmaythungkarbrryayaenwkhidthimikhwamslbsbsxnxnfngtwlukxyuinkhxngprasbkarnthangprawtisastr wadwykarkhwbkhumkharachkarphuichxanacrthihxyuinkhxbekhtthicakdodykdhmaythisungkwaxanacnn lththirththrrmnuyniymidprakasectnarmnthicadarngiwsunghlknitithrrmaelatxtankarichdulphinicwinicchyhruxdulphinictdsinic judgment or mere fiat tamxaephxickhxngphumixanacthangpkkhrxngnn sungxacklawidwamatrthaninkarthdsxbkhwamepnrththrrmnuyniymnnkkhuxaenwkhidkarcakdxanacrthiwdwykdhmaythixanacsungkwannexng imwacamirthbalinrupaebbidktam dan pracakhnanitisastr culalngkrnmhawithyaly idxthibaykhwamhmaykhxngkhawarththrrmnuyniymiwwa rththrrmnuyniymmikhwamhmaythungkarthiphupkkhrxngpraethsaelaprachachninpraethstangmi khxphukphninaebbsyyaprachakhmaelamiktikasungsudephuxichinkarpkkhrxngpraeths ktikasungsudnicaepntwkahndthimakhxngxanac khxbekhtkhxngxanac aelakarichxanackhxngphupkkhrxng hakphupkkhrxngphuidkrathakarphidhlkkhxtklngkhxngsyyaprachakhm echnlaemidsiththikhxngprachachnhruxthrphysinkhxngprachachn kcatxngidrbkarlngoths ktikasungsudniidaekrththrrmnuynnexngaenwkhidphunthankhxngthvsdirththrrmnuyniymthvsdisyyaprachakhm hlkkhwamepnkdhmaysungsudkhxngrththrrmnuy hlkkaraebngaeykkarichxanacxthipity hlknitirthhlkeknthkhxngrththrrmnuykhxngaenwkhidrththrrmnuyniymrththrrmnuynntxngepnkdhmaysungsud rththrrmnuyniymnn txngwangxyuphayitphunthanaehnghlknitirth aela hlknitithrrm rththrrmnuynntxngwangokhrngsrangkhxngkarichxanackhxngrth rththrrmnuynntxngmihlkeknthincakdxanackhxngphuichxanacrth rththrrmnuytxngmihlkkaraebngaeykkarichxanac rththrrmnuytxngmihlkkarpraknsiththikhnphunthanihkbprachachnxangxingbwrskdi xuwrron rwmkhabrryayentiphakhhnung smythi 54 karbrryaykhrngthi 3 krungethph sankxbrmsuksakdhmayaehngentibnthityspha 2544 hna 59 phs dr ekriyngikr ecriythnawthn khnanitisastr culalngkrnmhawithyaly http www pub law net Publaw view asp PublawIDs 409 Don E Fehrenbacher Constitutions and Constitutionalism in the Slaveholding South University of Georgia Press 1989 at p 1 ISBN 978 0820311197 bracketed numbers added exksarxangxing esnh camrik 2540 karemuxngithykbphthnakarrththrrmnuy krungethph mulnithiokhrngkartara sngkhmsastraelamnusysastr xmr cnthrsmburn 2537 khxnstitiwchnaenllism Constitutionalism thangxxkkhxngpraethsithy krungethph sthabnnoybaysuksa McIlwain Charles Howard 1977 Constitutionalism ancient and modern London Cornell University Press Sartori Giovanni 1997 Comparative constitutional engineering New York New York University Press Alexander Larry 1998 Constitutionalism philosophical foundations Cambridge Cambridge University Press Bellamy Richard 1996 Constitutionalism democracy and sovereignty American and European perspectives London Gower House Bellamy Richard 2007 Political constitutionalism a republican defense of the constitutionality of democracy London Gower House Philip P Wiener ed Dictionary of the History of Ideas Studies of Selected Pivotal Ideas David Fellman Constitutionalism vol 1 p 485 491 92 1973 74 sastracary dr nnthwthn brmannth khnanitisastr culalngkrnmhawithyaly http www pub law net Publaw view asp PublawIDs 589