บทความนี้ไม่มีจาก |
ศิลปะโรมัน (พ.ศ. 340 - พ.ศ. 870) แบบอย่างศิลปะโรมันปรากฏลักษณะชัดเจนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 4 เรื่อยมาจนกระทั่งประมาณ พ.ศ. 1040 โดยในช่วงเวลาหลังได้เปลี่ยนสาระเรื่องราวใหม่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ สืบต่อมาเป็นเวลาอีกนานมาก จนกระทั่งเมื่อกรุงคอนสะแตนติโนเปิลได้กลายเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน ในปี พ.ศ. 870 ทำให้สมัยแห่งโรมันต้องสิ้นสุดลง แหล่งอารยธรรมสำคัญของโรมัน คือ อารยธรรมกรีกและอีทรัสกัน
จิตรกรรม
จิตรกรรม อาศัยจากการค้นคว้าข้อมูลจากเมืองปอมเปอี สตาบิเอ และ เฮอร์คิวเลนุม ซึ่งถูกถล่มทับด้วยลาวาจากภูเขาไฟวิสุเวียส เมื่อ พ.ศ. 622 และถูกขุดค้นพบในสมัยปัจจุบัน จิตรกรรมฝาผนังประกอบด้วยแผงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมักเลียนแบบหินอ่อน เป็นภาพทิวทัศน์ ภาพคน และภาพเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม มีการใช้แสงเงา และกายวิภาคของมนุษย์ชัดเจน เขียนด้วยสีฝุ่นผสมกับกาวน้ำปูน และสีขี้ผึ้งร้อน นอกจากการวาดภาพ ยังมีภาพประดับด้วยเศษหินสี (งานโมเสก) ซึ่งใช้กันอย่างกว้างขวาง ทั้งบนพื้นและผนังอาคาร
ประติมากรรม
ประติมากรรมโรมันรับอิทธิพลมากจากชาวอีทรัสกันและกรีกยุคเฮเลนิสติก แสดงถึงลักษณะที่ถูกต้องทางกายภาพ เป็นแบบอุดมคติที่เรียบง่าย แต่ดูเข้มแข็งมาก ประติมากรรมอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมคือประติมากรรมรูปนูนเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ มีรายละเอียดของเรื่องราว เหตุการณ์ถูกต้อง ชัดเจน ประติมากรรมโรมันในยุคหลัง ๆ เริ่มเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนามากเป็นพิเศษ วัสดุที่ใช้สร้างประติมากรรมของโรมันมักสร้างขึ้นจาก ขี้ผึ้ง ดินเผา หิน และสำริด
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมโรมัน ได้แก่อาคารต่าง ๆ ส่วนมากเป็นรูปทรงพื้นฐาน วัสดุที่ใช้สร้างอาคารได้แก่ ไม้ อิฐ ดินเผา หิน ปูน และคอนกรีต ซึ่งชาวโรมันเป็นชาติแรกที่ใช้คอนกรีตอย่างกว้างขวาง และพัฒนารูปแบบออกจากระบบเสาและคาน ไปสู่ระบบโครงสร้างวงโค้ง หลังคาทรงโค้ง หลังคาทรงกลมลอยได้ และหลังคาทรงโค้งกากบาท มีการนำสถาปัตยกรรมที่สำคัญของกรีกทั้ง 3 แบบ มาเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงให้วิจิตรบรรจงขึ้น ชาวกรีกใช้เสาเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง แต่ชาวโรมันมักจะเพิ่มการตกแต่งลงไป โดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ทางโครงสร้างเท่าไรนัก ลำเสาของกรีกจะเป็นท่อน ๆ นำมาวางซ้อนต่อกันขึ้นไป แต่เสาของโรมันจะเป็นเสาหินแข็งสูงใหญ่ท่อนเดียวตลอด รูปแบบอนุสาวรีย์ที่พบมากของโรมันคือ ประตูชัย เป็นสิ่งก่อสร้างตั้งอิสระประดับตกแต่งด้วยคำจารึก และรูปนูนบรรยายเหตุการณ์ที่เป็นอนุสรณ์ สถาปัตยกรรมที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโรมัน คือสะพานส่งน้ำ ซึ่งใช้เป็นทางส่งน้ำจากภูเขามาสู่เมืองต่าง ๆ ของชาวโรมันเป็นสิ่งก่อสร้างที่แสดงถึงความก้าวหน้าทางวิศวกรรมของโรมันอย่างเห็นได้ชัดสถาปัตยกรรมโรมันในช่วง พ.ศ. 600 - 873 ได้สะท้อนให้เห็นความมั่งคั่งและ อำนาจของจักรวรรดิโรมัน อาคารสถาปัตยกรรมมีขนาดกว้างใหญ่ และมีการตกแต่งอย่างฟุ่มเฟือย มีการควบคุมทำเลที่ตั้ง การจัดภูมิทัศน์อย่างพิถีพิถัน มีการสร้างลานชุมนุมชาวเมือง โรงมหรสพหรือสนามกีฬา โรงอาบน้ำสาธารณะ และ อาคารที่พักอาศัยต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ภายในอาคารมักประดับด้วยหินอ่อน หินสีชมพู และประติมากรรมแกะสลักตกแต่งอย่างสวยงาม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir silpaormn ph s 340 ph s 870 aebbxyangsilpaormnpraktlksnachdecninchwngphuththstwrrsthi 4 eruxymacnkrathngpraman ph s 1040 odyinchwngewlahlngidepliynsaraeruxngrawihmepneruxngrawekiywkbsasnakhrist subtxmaepnewlaxiknanmak cnkrathngemuxkrungkhxnsaaetntionepilidklayepnemuxnghlwngihmkhxngckrwrrdiormn inpi ph s 870 thaihsmyaehngormntxngsinsudlng aehlngxarythrrmsakhykhxngormn khux xarythrrmkrikaelaxithrskncitrkrrmcitrkrrmormn citrkrrm xasycakkarkhnkhwakhxmulcakemuxngpxmepxi stabiex aela ehxrkhiwelnum sungthukthlmthbdwylawacakphuekhaifwisuewiys emux ph s 622 aelathukkhudkhnphbinsmypccubn citrkrrmfaphnngprakxbdwyaephngrupsiehliymphunpha sungmkeliynaebbhinxxn epnphaphthiwthsn phaphkhn aelaphaphekiywkbsthaptykrrm mikarichaesngenga aelakaywiphakhkhxngmnusychdecn ekhiyndwysifunphsmkbkawnapun aelasikhiphungrxn nxkcakkarwadphaph yngmiphaphpradbdwyesshinsi nganomesk sungichknxyangkwangkhwang thngbnphunaelaphnngxakharpratimakrrmpratimakrrmormn pratimakrrmormnrbxiththiphlmakcakchawxithrsknaelakrikyukhehelnistik aesdngthunglksnathithuktxngthangkayphaph epnaebbxudmkhtithieriybngay aetduekhmaekhngmak pratimakrrmxikchnidhnungthiepnthiniymkhuxpratimakrrmrupnuneruxngekiywkbprawtisastr miraylaexiydkhxngeruxngraw ehtukarnthuktxng chdecn pratimakrrmormninyukhhlng erimepneruxngrawekiywkbphithikrrmthangsasnamakepnphiess wsduthiichsrangpratimakrrmkhxngormnmksrangkhuncak khiphung dinepha hin aelasaridsthaptykrrmokhlxsesiym xitali sthaptykrrmormn idaekxakhartang swnmakepnrupthrngphunthan wsduthiichsrangxakharidaek im xith dinepha hin pun aelakhxnkrit sungchawormnepnchatiaerkthiichkhxnkritxyangkwangkhwang aelaphthnarupaebbxxkcakrabbesaaelakhan ipsurabbokhrngsrangwngokhng hlngkhathrngokhng hlngkhathrngklmlxyid aelahlngkhathrngokhngkakbath mikarnasthaptykrrmthisakhykhxngkrikthng 3 aebb maepliynaeplngaelaprbprungihwicitrbrrcngkhun chawkrikichesaepnswnhnungkhxngokhrngsrang aetchawormnmkcaephimkartkaetnglngip odyimkhanungthungpraoychnthangokhrngsrangethairnk laesakhxngkrikcaepnthxn namawangsxntxknkhunip aetesakhxngormncaepnesahinaekhngsungihythxnediywtlxd rupaebbxnusawriythiphbmakkhxngormnkhux pratuchy epnsingkxsrangtngxisrapradbtkaetngdwykhacaruk aelarupnunbrryayehtukarnthiepnxnusrn sthaptykrrmthisakhyxikxyanghnungkhxngormn khuxsaphansngna sungichepnthangsngnacakphuekhamasuemuxngtang khxngchawormnepnsingkxsrangthiaesdngthungkhwamkawhnathangwiswkrrmkhxngormnxyangehnidchdsthaptykrrmormninchwng ph s 600 873 idsathxnihehnkhwammngkhngaela xanackhxngckrwrrdiormn xakharsthaptykrrmmikhnadkwangihy aelamikartkaetngxyangfumefuxy mikarkhwbkhumthaelthitng karcdphumithsnxyangphithiphithn mikarsranglanchumnumchawemuxng orngmhrsphhruxsnamkila orngxabnasatharna aela xakharthiphkxasytang epncanwnmak phayinxakharmkpradbdwyhinxxn hinsichmphu aelapratimakrrmaekaslktkaetngxyangswyngam bthkhwamsilpkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk