บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
การมองอนาคต (อังกฤษ: foresight) เป็นกระบวนการที่ดำเนินอย่างเป็นระบบ ในการมองไปในอนาคตของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม เพื่อการส่งเสริมให้เอื้อประโยชน์สูงสุดแก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การมองอนาคตไม่ใช่การทำนาย (forescast) ที่สันนิษฐานอนาคตเพียงรูปแบบเดียว หลักสำคัญของการมองอนาคตคือ การดำเนินการที่เป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน และมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ (stakeholders) เพื่อให้เข้าใจถึงแรงผลักดันต่างๆ ทั้งที่เห็นชัดและที่ยังไม่เห็นชัด ซึ่งจะกำหนดรูปแบบของอนาคต และทำให้เห็นลู่ทางที่จะต้องกระทำในวันนี้เพื่ออนาคตที่ดีขึ้น
ปัจจุบันการมองอนาคตได้รับการยอมรับในหลายประเทศว่า เป็นวิธีการที่มุ่งเน้นความ พยายามของชุมชนชาววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การสร้างความมั่งคั่งและการยกระดับ คุณภาพชีวิต เหตุผลพื้นฐานคือเป็นที่ตระหนักกันโดยทั่วไปแล้วว่าว่าเทคโนโลยีใหม่ๆ อาจพลิกโฉม หน้าอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ สังคม และสภาวะแวดล้อมในระยะหลายทศวรรษที่จะมาถึง ซึ่งพัฒนา การของเทคโนโลยีเหล่านี้ ต้องพึ่งพาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อย่างมาก ดังนั้น ถ้าสามารถระบุ เทคโนโลยีที่สำคัญซึ่งอยู่ในระยะเริ่มพัฒนาได้ รัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ ก็จะสามารถจัดสรร ทรัพยากรเพื่อการวิจัยในสาขาเชิงยุทธศาสตร์เหล่านั้นได้ เพื่อให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีนั้นๆ อย่าง มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
นิยามและเหตุผล
มีผู้ให้คำนิยามการมองอนาคตไว้มากมาย แต่คำนิยามหนึ่งที่เหมาะสมที่สุดคือ “การมองอนาคตเป็นความพยายามอย่างเป็นระบบที่จะคาดการณ์วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมในระยะยาว เพื่อบ่งชี้เทคโนโลยีพื้นฐานใหม่ๆ และขอบเขตของการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ที่จะเอื้อประโยชน์สูงสุดแก่เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมและสังคม”
คำจำกัดความดังกล่าวมีความหมายหลายนัย คือ
- ความพยายามในการมองไปข้างหน้าอย่างเป็นระบบ จึงจะถือว่าเป็นการมองอนาคต
- ต้องเป็นการมองไปข้างหน้าระยะยาวประมาณ 10 ปี หรืออาจเป็น 5-30 ปี
- การมองอนาคตเป็นเรื่องของกระบวนการ ไม่ใช่วิธีการ และต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของการปรึกษาหารือและร่วมมือกันระหว่างแวดวงนักวิทยาศาสตร์ ผู้ใช้งานวิจัยและผู้วางนโยบาย
- เป้าหมายหนึ่งของการมองอนาคตคือ การบ่งชี้เทคโนโลยีพื้นฐานใหม่ๆ ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้าง เทคโนโลยีดังกล่าวนั้นยังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาและต้องได้รับการคัดเลือกเพื่อสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างเพียงพอจึงจะสามารถพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว
- อีกเป้าหมายหนึ่งคือ การเน้นการวิจัยเชิงกลยุทธ์ นั่นก็คือการวิจัยเบื้องต้นซึ่งคาดว่าจะก่อให้เกิดความร่วมมือในเชิงกว้างที่อาจเป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาในเชิงปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบันหรืออนาคต
- ต้องให้ความสำคัญกับประโยชน์ (และโทษ) ทางสังคมที่อาจเกิดขึ้นจากเทคโนโลยีใหม่ๆไม่เฉพาะแค่ผลกระทบทางอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ จำเป็นที่จะต้องเน้นว่าการมองอนาคตไม่ใช่การทำนายเทคโนโลยีที่สันนิษฐานว่าอนาคตมีแค่รูปแบบเดียวและพยายามคาดการณ์ให้ใกล้เคียงที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ว่าอนาคตนั้นจะเป็นอย่างไรในทางตรงกันข้ามการมองอนาคตไม่ใส่ใจที่จะคาดการณ์รายละเอียดและกำหนดเวลาของพัฒนาการอย่างหนึ่งอย่างใด แต่สนใจที่จะร่างอนาคตที่อาจเป็นไปได้ในหลายรูปแบบจากหลายชุดสมมติฐานเกี่ยวกับทิศทาง แนวโน้ม และโอกาสใหม่ๆ ที่น่าจะเกิดขึ้น แต่อนาคตแบบใดที่จะเกิดขึ้นจริงขึ้นอยู่กับการเลือกในปัจจุบันการมองอนาคตจึงนับเป็นการให้โอกาสในการออกแบบอนาคตผ่านการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด
ปัจจุบันการมองอนาคตได้รับการยอมรับในหลายประเทศว่า เป็นวิธีการที่มุ่งเน้นความพยายามของชุมชนชาววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การสร้างความมั่งคั่งและการยกระดับคุณภาพชีวิต เหตุผลพื้นฐานคือเป็นที่ตระหนักกันโดยทั่วไปแล้วว่าว่าเทคโนโลยีใหม่ๆ อาจพลิกโฉมหน้าอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ สังคม และสภาวะแวดล้อมในระยะหลายทศวรรษที่จะมาถึง ซึ่งพัฒนาการของเทคโนโลยีเหล่านี้ ต้องพึ่งพาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อย่างมาก ดังนั้น ถ้าสามารถระบุเทคโนโลยีที่สำคัญซึ่งอยู่ในระยะเริ่มพัฒนาได้ รัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ ก็จะสามารถจัดสรรทรัพยากรเพื่อการวิจัยในสาขาเชิงยุทธศาสตร์เหล่านั้นได้ เพื่อให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีนั้นๆ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
ผลลัพธ์ของ การมองอนาคต
สิ่งสำคัญในการออกแบบกระบวนการการมองอนาคตคือการกำหนดจุดมุ่งหมาย ซึ่งเป็นตัวกำหนดลักษณะความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจจุดมุ่งหมายที่เป็นไปได้ 6 ข้อ มีดังนี้ :
- การกำหนดทิศทาง (Direction setting) - แนวทางกว้างๆ ของนโยบายวิทยาศาสตร์และการพัฒนาทางเลือกต่างๆ
- การจัดลำดับความสำคัญ (Determining priorities) - อาจถือเป็นจุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดของการมองอนาคตและเป็นแรงผลักดันที่ประเทศที่ทำการศึกษาส่วนใหญ่เผชิญ ในอันที่จะจัดการกับข้อจำกัดทางทรัพยากรและความเรียกร้องต่อนักวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น
- ความสามารถในการคาดการณ์อนาคต (Anticipatory intelligence) - ระบุแนวทางใหม่ๆ ที่กำลังจะเกิดขึ้นซึ่งจะมีบทบาทมากต่อการจัดทำนโยบายในอนาคต
- การสร้างความเป็นเอกฉันท์ (Consensus generation) - ส่งเสริมให้นักวิทยาศาสตร์องค์กรที่ให้ความ สนับสนุนทางการเงิน และผู้ใช้งานวิจัยมีความเห็นตรงกันมากขึ้นในการบ่งชี้ความต้องการหรือโอกาส
- การสนับสนุนการตัดสินใจ (Advocacy) - ส่งเสริมการตัดสินใจในเชิงนโยบายที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเฉพาะในระบบวิจัยและพัฒนา
- การสื่อสารและการศึกษา (Communication and education) - ส่งเสริมการสื่อสารภายในชุมชนวิทยาศาสตร์ การสื่อสารภายนอกกับผู้ใช้งานวิจัย และการให้การศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปนักการเมืองและข้าราชการดังนั้น จึงมีกิจกรรมหลากหลายที่อาจรวบรวมได้คร่าวๆ ภายใต้เงื่อนไข การมองอนาคตบางกิจกรรมอาจค่อนข้างเก่า ในขณะที่บางกิจกรรมเป็นเรื่องใหม่ในคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ได้มีการวิพากวิจารณ์วิธีการที่ใช้ในการมองอนาคตในขณะนั้นอย่างมาก และเป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าบริบททางเศรษฐกิจองค์กรและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้วิธีการมองอนาคตตัวอย่างเช่น ออสเตรเลียซึ่งมีเศรษฐกิจขนาดเล็กถึงกลาง มีภาครัฐซึ่งมีบทบาทมากในวิทยาศาสตร์พื้นฐานแต่มีภาคเอกชนที่อ่อนแอในการวิจัยและพัฒนา และมีเศรษฐกิจที่เน้นสินค้าวัตถุดิบย่อมต้องพิจารณาเป้าหมายอนาคตที่แตกต่างจากประเทศเศรษฐกิจชั้นนำอย่างญี่ปุ่น ที่มีพื้นฐานอุตสาหกรรมที่เข้มแข็ง ทรัพยากรธรรมชาติจำกัด และเทคโนโลยีชั้นสูงที่พัฒนาแล้ว
แผนภาพที่ 1 แสดงองค์ประกอบสำคัญของการมองอนาคตซึ่งในการศึกษาการมองอนาคตจำเป็นที่จะต้องรักษามุมมองที่สมดุลระหว่างปัจจัยที่เป็น “แรงผลักดันทางวิทยาศาสตร์” และ “แรงดึง-ทางอุปสงค์” ซึ่งต่างมีอิทธิพลต่อพัฒนาการในอนาคต
- แรงผลักดัน-ทางวิทยาศาสตร์ (Science-push) คือกลุ่มนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ที่มีหน้าที่สร้าง เทคโนโลยีและโอกาสเชิงพาณิชย์ใหม่ๆ
- ปัจจัยแรงดึงทางอุปสงค์มาจากชุมชนผู้ใช้ (Demand-pull) ตามความต้องการและการจัดอันดับ
ความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีอยู่และเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่
ปัญหาอาจเกิดขึ้นได้จากการสื่อสารระหว่างตัวแทนด้านแรงผลักดันทางวิทยาศาสตร์และแรงดึงทาง อุปสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความไม่เข้าใจกันในเรื่องของระยะเวลาในการวิจัยและผลิตเทคโนโลยี การ มองไปข้างหน้าร่วมกันผ่านการมองอนาคตนั้นสามารถเชื่อมช่องว่างดังกล่าวได้ด้วยลักษณะปฏิสัมพันธ์ของการมองอนาคตที่กล่าวถึงนี้เอง สิ่งที่ได้จากกระบวนการมองอนาคต จึงมักจะสำคัญเทียบเท่า (หรืออาจสำคัญกว่า!) ผลลัพธ์ของการศึกษา เราสามารถแจกแจงประโยชน์ ของกระบวนการ .มองอนาคต. ได้ 6 ข้อ ซึ่งในภาษาอังกฤษเรียกว่า 6 C's ดังนี้:
- การสื่อสาร (communication) - เชื่อมโยงกลุ่มคนที่แตกต่างเข้าด้วยกัน โดยให้กรอบในการปฏิสัมพันธ์และสื่อสารแก่กลุ่มคนดังกล่าว
- การเน้นระยะยาว (concentration) - ทำให้ผู้มีส่วนร่วมสามารถมองอนาคตได้ไกลกว่าที่เคยมอง
- การประสานงาน (coordination) - ทำให้กลุ่มต่างๆ ร่วมกันเป็นหุ้นส่วนที่มีประสิทธิภาพในการวิจัยและพัฒนา
- ความเป็นเอกฉันท์ (consensus) - สามารถวาดภาพทิศทางอนาคตที่เป็นทางเลือกแบบต่างๆได้ชัดเจนและจัดลำดับความสำคัญของการวิจัย
- ความผูกพัน (commitment) – ทำให้ผู้มีส่วนสร้างความเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการมองอนาคตมีความรู้สึกผูกพันกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ความเข้าใจ (comprehension) - สนับสนุนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงระดับโลกที่เกิดกับธุรกิจหรืออาชีพของตน และให้สามารถควบคุมเหตุการณ์ดังกล่าวได้บางส่วน
ความสำเร็จหรือล้มเหลวของการมองอนาคตสามารถวัดได้จากการประเมินด้วยเกณฑ์ทั้ง 6 ข้างต้นประสบการณ์ได้แสดงให้เห็นความจำเป็นที่จะต้อง “มองอนาคต” ในหลายระดับ ตั้งแต่กลุ่มที่รับผิดชอบในการประสานนโยบายทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งหมดของชาติ สมาคมอุตสาหกรรมต่างๆ ตลอดจนบริษัทหรือองค์กรที่ทำการวิจัย ดังนั้น กิจกรรมการมองอนาคตบางอย่างอาจมีขอบ เขตในระดับมหภาค หรือมีลักษณะเป็นองค์รวม แต่บางครั้งก็เน้นในระดับจุลภาค นอกจากนี้กิจกรรมการมองอนาคตไม่ว่าระดับใดก็ตามควรรวบรวมผลลัพธ์จากการมองอนาคตในระดับสูงกว่าและ/หรือ ต่ำกว่า ที่มีผู้กระทำไว้ก่อนแล้วป้อนเข้าไปในกระบวนการด้วยและเช่นเดียวกันผลลัพธ์จากกระบวนการปัจจุบันก็จะถูกป้อนกลับไปยังความพยายาม มองอนาคต ในระดับสูงกว่าหรือต่ำกว่าต่อไป
การจัดลำดับความสำคัญ
การจัดลำดับความสำคัญเริ่มมีบทบาทมากขึ้นในการผลักดันการมองอนาคตในทุกระดับซึ่งการจัดลำดับความสำคัญก็คือ การเลือกอย่างมีสติระหว่างกิจกรรมที่มีความสำคัญมากน้อยต่างกันทั้งนี้เนื่องมาจากข้อจำกัดด้านเวลา เงิน หรือพลังงาน อุปสรรคสำคัญต่อการดำเนินการมองอนาคตในระยะแรกๆ คือการต่อต้านอย่างรุนแรงจากนักวิชาการและนักอุตสาหกรรมทั้งหลายซึ่งมองการจัดลำดับความสำคัญเสมือนหนึ่งภัยคุกคาม อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน กลุ่มข้าราชการ นักอุตสาหกรรมตลอดจนนักวิทยาศาสตร์ได้ยอมรับแล้วว่าจำเป็นต้องมีการตัดสินใจเพื่อจัดอันดับความสำคัญในการทำวิจัยระดับชาติ และดังนั้นการวางแผนกลยุทธ์และการจัดอันดับความสำคัญจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ สภาพแวดล้อมในการมองอนาคตระยะหลัง ๆ แตกต่างมากกับสภาพแวดล้อมในช่วงต้นจนถึงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1980 การจัดลำดับความสำคัญเป็นผลมาจากการตัดสินใจในหลายระดับตั้งแต่วิธีการตัดสินใจแบบ “บนลงล่าง” (top-down) โดยผู้บริหารระดับสูง เช่นในระดับนโยบาย/การเมือง ไปจนถึงระดับกลางๆ ไปจนถึงวิธีการตัดสินใจแบบ “ล่างขึ้นบน” (bottom-up) เสนอการตัดสินใจโดยระดับปฏิบัติ ดังนั้น ดังที่กล่าวไว้ในตอนต้น .การมองอนาคต. จำต้องทำในหลายระดับและในทางอุดมคติคือการดำเนินการในรูปแบบที่ประสานกันได้ประสบการณ์ชี้ให้เห็นลักษณะสำคัญของการมองอนาคตที่ประสบความสำเร็จเพื่อนำไปสู่การจัดลำดับความสำคัญ ได้แก่:
- ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของกิจกรรมการมองอนาคตให้ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น
- ต้องสนับสนุนการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย เช่น ผู้ใช้งานวิจัย ผู้ผลิต และผู้สนับสนุนทางการเงิน
- ให้ความสำคัญกับการระดมความคิดจาก “ล่างขึ้นบน” ไม่น้อยไปกว่า “บนลงล่าง”
- ต้องมีกลไกที่เตรียมจะนำผลการตัดสินใจจากกระบวนการมองอนาคตไปปฏิบัติทันที หรือในอนาคต
- ขั้นตอนต้องยืดหยุ่นต่อสิ่งที่ไม่คาดฝันว่าจะเกิด และสามารถปรับแผนดำเนินการได้
- ไม่ใช่กระบวนการที่ดำเนินการแบบ “ครั้งเดียวจบ” แต่จะกระทำซ้ำเป็นระยะๆ เพื่อจะได้เรียนรู้ปฏิกิริยา ตอบสนองและพัฒนาการใหม่ๆ
กุญแจสู่ความสำเร็จในการจัดลำดับความสำคัญระดับชาติ คือการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงในรัฐบาลการยอมรับผลการวิจัยและขั้นตอนการดำเนินการจากแวดวงนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการและการเข้ามามีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดและยอมรับผลการวิจัยจากกลุ่มอุตสาหกรรม
วิธีการมองอนาคต
กิจกรรมที่เรียกได้ว่าเป็นการมองอนาคตมีมากมาย จึงไม่น่าแปลกใจที่มีการพัฒนาวิธีการ อย่างหลากหลาย อันได้แก่
- การสำรวจเดลฟี (Delphi Surveys)
- การวางแผนด้วยภาพอนาคต (Scenario Planning)
- (Roadmapping)
- การปรึกษาหารือ (Consultation)
- การวิเคราะห์สิทธิบัตร (Patent Analysis)
- เทคโนโลยีที่สำคัญยิ่ง (Critical Technologies)
- การขยายแนวโน้ม (Extrapolation)
- All Quadrant All Level (AQAL)
- Causal layered analysis (CLA)
แหล่งข้อมูลอื่น
- APEC Center for Technology Foresight 2021-01-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Australian Foresight Institute
- The National Institute of Science and Technology Policy
- The UK Foresight Programme
- The USA Foresight Institute
- The World Future Society 2006-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki karmxngxnakht xngkvs foresight epnkrabwnkarthidaeninxyangepnrabb inkarmxngipinxnakhtkhxngwithyasastr ethkhonolyi esrsthkicaelasngkhm ephuxkarsngesrimihexuxpraoychnsungsudaek esrsthkic sngkhm aelasingaewdlxm karmxngxnakhtimichkarthanay forescast thisnnisthanxnakhtephiyngrupaebbediyw hlksakhykhxngkarmxngxnakhtkhux kardaeninkarthiepnrabb mikhntxnchdecn aelamiswnrwmcakphuthimiswnrwmepnecakhxng stakeholders ephuxihekhaicthungaerngphlkdntang thngthiehnchdaelathiyngimehnchd sungcakahndrupaebbkhxngxnakht aelathaihehnluthangthicatxngkrathainwnniephuxxnakhtthidikhun pccubnkarmxngxnakhtidrbkaryxmrbinhlaypraethswa epnwithikarthimungennkhwam phyayamkhxngchumchnchawwithyasastraelaethkhonolyi thicanaipsukarsrangkhwammngkhngaelakarykradb khunphaphchiwit ehtuphlphunthankhuxepnthitrahnkknodythwipaelwwawaethkhonolyiihm xacphlikochm hnaxutsahkrrm esrsthkic sngkhm aelasphawaaewdlxminrayahlaythswrrsthicamathung sungphthna karkhxngethkhonolyiehlani txngphungphakhwamkawhnathangwithyasastrxyangmak dngnn thasamarthrabu ethkhonolyithisakhysungxyuinrayaerimphthnaid rthbalaelahnwynganxun kcasamarthcdsrr thrphyakrephuxkarwicyinsakhaechingyuththsastrehlannid ephuxihsamarthphthnaethkhonolyinn xyang miprasiththiphaphaelarwderwniyamaelaehtuphlmiphuihkhaniyamkarmxngxnakhtiwmakmay aetkhaniyamhnungthiehmaasmthisudkhux karmxngxnakhtepnkhwamphyayamxyangepnrabbthicakhadkarnwithyasastr ethkhonolyi esrsthkic singaewdlxm aelasngkhminrayayaw ephuxbngchiethkhonolyiphunthanihm aelakhxbekhtkhxngkarwicyechingyuththsastrthicaexuxpraoychnsungsudaekesrsthkicsingaewdlxmaelasngkhm khacakdkhwamdngklawmikhwamhmayhlayny khux khwamphyayaminkarmxngipkhanghnaxyangepnrabb cungcathuxwaepnkarmxngxnakht txngepnkarmxngipkhanghnarayayawpraman 10 pi hruxxacepn 5 30 pi karmxngxnakhtepneruxngkhxngkrabwnkar imichwithikar aelatxngtngxyubnphunthankhxngkarpruksaharuxaelarwmmuxknrahwangaewdwngnkwithyasastr phuichnganwicyaelaphuwangnoybay epahmayhnungkhxngkarmxngxnakhtkhux karbngchiethkhonolyiphunthanihm thicaexuxpraoychntxrabbesrsthkicaelasngkhminwngkwang ethkhonolyidngklawnnyngxyuinkhntxnkarphthnaaelatxngidrbkarkhdeluxkephuxsnbsnundanngbpramanxyangephiyngphxcungcasamarthphthnaidxyangrwderw xikepahmayhnungkhux karennkarwicyechingklyuthth nnkkhuxkarwicyebuxngtnsungkhadwacakxihekidkhwamrwmmuxinechingkwangthixacepnphunthaninkaraekikhpyhainechingptibtithiekidkhuncringinpccubnhruxxnakht txngihkhwamsakhykbpraoychn aelaoths thangsngkhmthixacekidkhuncakethkhonolyiihmimechphaaaekhphlkrathbthangxutsahkrrmaelaesrsthkic caepnthicatxngennwakarmxngxnakhtimichkarthanayethkhonolyithisnnisthanwaxnakhtmiaekhrupaebbediywaelaphyayamkhadkarnihiklekhiyngthisudethathiepnipidwaxnakhtnncaepnxyangirinthangtrngknkhamkarmxngxnakhtimisicthicakhadkarnraylaexiydaelakahndewlakhxngphthnakarxyanghnungxyangid aetsnicthicarangxnakhtthixacepnipidinhlayrupaebbcakhlaychudsmmtithanekiywkbthisthang aenwonm aelaoxkasihm thinacaekidkhun aetxnakhtaebbidthicaekidkhuncringkhunxyukbkareluxkinpccubnkarmxngxnakhtcungnbepnkarihoxkasinkarxxkaebbxnakhtphankartdsinicxyangchaychlad pccubnkarmxngxnakhtidrbkaryxmrbinhlaypraethswa epnwithikarthimungennkhwamphyayamkhxngchumchnchawwithyasastraelaethkhonolyi thicanaipsukarsrangkhwammngkhngaelakarykradbkhunphaphchiwit ehtuphlphunthankhuxepnthitrahnkknodythwipaelwwawaethkhonolyiihm xacphlikochmhnaxutsahkrrm esrsthkic sngkhm aelasphawaaewdlxminrayahlaythswrrsthicamathung sungphthnakarkhxngethkhonolyiehlani txngphungphakhwamkawhnathangwithyasastrxyangmak dngnn thasamarthrabuethkhonolyithisakhysungxyuinrayaerimphthnaid rthbalaelahnwynganxun kcasamarthcdsrrthrphyakrephuxkarwicyinsakhaechingyuththsastrehlannid ephuxihsamarthphthnaethkhonolyinn xyangmiprasiththiphaphaelarwderwphllphthkhxng karmxngxnakhtsingsakhyinkarxxkaebbkrabwnkarkarmxngxnakhtkhuxkarkahndcudmunghmay sungepntwkahndlksnakhwamsmphnthkbkrabwnkartdsiniccudmunghmaythiepnipid 6 khx midngni karkahndthisthang Direction setting aenwthangkwang khxngnoybaywithyasastraelakarphthnathangeluxktang karcdladbkhwamsakhy Determining priorities xacthuxepncudmunghmaythisakhythisudkhxngkarmxngxnakhtaelaepnaerngphlkdnthipraethsthithakarsuksaswnihyephchiy inxnthicacdkarkbkhxcakdthangthrphyakraelakhwameriykrxngtxnkwicythiephimmakkhun khwamsamarthinkarkhadkarnxnakht Anticipatory intelligence rabuaenwthangihm thikalngcaekidkhunsungcamibthbathmaktxkarcdthanoybayinxnakht karsrangkhwamepnexkchnth Consensus generation sngesrimihnkwithyasastrxngkhkrthiihkhwam snbsnunthangkarengin aelaphuichnganwicymikhwamehntrngknmakkhuninkarbngchikhwamtxngkarhruxoxkas karsnbsnunkartdsinic Advocacy sngesrimkartdsinicinechingnoybaythisxdkhlxngkbkhwamtxngkarkhxngphuthimiswnidswnesiyechphaainrabbwicyaelaphthna karsuxsaraelakarsuksa Communication and education sngesrimkarsuxsarphayinchumchnwithyasastr karsuxsarphaynxkkbphuichnganwicy aelakarihkarsuksaaekprachachnthwipnkkaremuxngaelakharachkardngnn cungmikickrrmhlakhlaythixacrwbrwmidkhraw phayitenguxnikh karmxngxnakhtbangkickrrmxackhxnkhangeka inkhnathibangkickrrmepneruxngihminkhristthswrrsthi 1990 idmikarwiphakwicarnwithikarthiichinkarmxngxnakhtinkhnannxyangmak aelaepnthiyxmrbxyangaephrhlaywabribththangesrsthkicxngkhkraelawthnthrrmkhxngaetlapraethsmixiththiphltxkareluxkichwithikarmxngxnakhttwxyangechn xxsetreliysungmiesrsthkickhnadelkthungklang miphakhrthsungmibthbathmakinwithyasastrphunthanaetmiphakhexkchnthixxnaexinkarwicyaelaphthna aelamiesrsthkicthiennsinkhawtthudibyxmtxngphicarnaepahmayxnakhtthiaetktangcakpraethsesrsthkicchnnaxyangyipun thimiphunthanxutsahkrrmthiekhmaekhng thrphyakrthrrmchaticakd aelaethkhonolyichnsungthiphthnaaelwaephnphaph 1 pccythimixiththiphltxkarmxngxnakht aephnphaphthi 1 aesdngxngkhprakxbsakhykhxngkarmxngxnakhtsunginkarsuksakarmxngxnakhtcaepnthicatxngrksamummxngthismdulrahwangpccythiepn aerngphlkdnthangwithyasastr aela aerngdung thangxupsngkh sungtangmixiththiphltxphthnakarinxnakht aerngphlkdn thangwithyasastr Science push khuxklumnkwicyaelankwithyasastrthimihnathisrang ethkhonolyiaelaoxkasechingphanichyihm pccyaerngdungthangxupsngkhmacakchumchnphuich Demand pull tamkhwamtxngkaraelakarcdxndb khwamsakhykhxngethkhonolyithimixyuaelaethkhonolyihruxnwtkrrmihm pyhaxacekidkhunidcakkarsuxsarrahwangtwaethndanaerngphlkdnthangwithyasastraelaaerngdungthang xupsngkh odyechphaaxyangyingkhwamimekhaicknineruxngkhxngrayaewlainkarwicyaelaphlitethkhonolyi kar mxngipkhanghnarwmknphankarmxngxnakhtnnsamarthechuxmchxngwangdngklawiddwylksnaptismphnthkhxngkarmxngxnakhtthiklawthungniexng singthiidcakkrabwnkarmxngxnakht cungmkcasakhyethiybetha hruxxacsakhykwa phllphthkhxngkarsuksa erasamarthaeckaecngpraoychn khxngkrabwnkar mxngxnakht id 6 khx sunginphasaxngkvseriykwa 6 C s dngni karsuxsar communication echuxmoyngklumkhnthiaetktangekhadwykn odyihkrxbinkarptismphnthaelasuxsaraekklumkhndngklaw karennrayayaw concentration thaihphumiswnrwmsamarthmxngxnakhtidiklkwathiekhymxng karprasanngan coordination thaihklumtang rwmknepnhunswnthimiprasiththiphaphinkarwicyaelaphthna khwamepnexkchnth consensus samarthwadphaphthisthangxnakhtthiepnthangeluxkaebbtangidchdecnaelacdladbkhwamsakhykhxngkarwicy khwamphukphn commitment thaihphumiswnsrangkhwamepliynaeplngxnenuxngmacakkarmxngxnakhtmikhwamrusukphukphnkbphllphththiekidkhun khwamekhaic comprehension snbsnunihphumiswnekiywkhxngmikhwamekhaickarepliynaeplngradbolkthiekidkbthurkichruxxachiphkhxngtn aelaihsamarthkhwbkhumehtukarndngklawidbangswn khwamsaerchruxlmehlwkhxngkarmxngxnakhtsamarthwdidcakkarpraemindwyeknththng 6 khangtnprasbkarnidaesdngihehnkhwamcaepnthicatxng mxngxnakht inhlayradb tngaetklumthirbphidchxbinkarprasannoybaythangwithyasastraelaethkhonolyithnghmdkhxngchati smakhmxutsahkrrmtang tlxdcnbristhhruxxngkhkrthithakarwicy dngnn kickrrmkarmxngxnakhtbangxyangxacmikhxb ekhtinradbmhphakh hruxmilksnaepnxngkhrwm aetbangkhrngkenninradbculphakh nxkcaknikickrrmkarmxngxnakhtimwaradbidktamkhwrrwbrwmphllphthcakkarmxngxnakhtinradbsungkwaaela hrux takwa thimiphukrathaiwkxnaelwpxnekhaipinkrabwnkardwyaelaechnediywknphllphthcakkrabwnkarpccubnkcathukpxnklbipyngkhwamphyayam mxngxnakht inradbsungkwahruxtakwatxipkarcdladbkhwamsakhykarcdladbkhwamsakhyerimmibthbathmakkhuninkarphlkdnkarmxngxnakhtinthukradbsungkarcdladbkhwamsakhykkhux kareluxkxyangmistirahwangkickrrmthimikhwamsakhymaknxytangknthngnienuxngmacakkhxcakddanewla engin hruxphlngngan xupsrrkhsakhytxkardaeninkarmxngxnakhtinrayaaerk khuxkartxtanxyangrunaerngcaknkwichakaraelankxutsahkrrmthnghlaysungmxngkarcdladbkhwamsakhyesmuxnhnungphykhukkham xyangirkdi inpccubn klumkharachkar nkxutsahkrrmtlxdcnnkwithyasastridyxmrbaelwwacaepntxngmikartdsinicephuxcdxndbkhwamsakhyinkarthawicyradbchati aeladngnnkarwangaephnklyuththaelakarcdxndbkhwamsakhycungepneruxngthihlikeliyngimid sphaphaewdlxminkarmxngxnakhtrayahlng aetktangmakkbsphaphaewdlxminchwngtncnthungklangkhristthswrrsthi 1980 karcdladbkhwamsakhyepnphlmacakkartdsinicinhlayradbtngaetwithikartdsinicaebb bnlnglang top down odyphubriharradbsung echninradbnoybay karemuxng ipcnthungradbklang ipcnthungwithikartdsinicaebb langkhunbn bottom up esnxkartdsinicodyradbptibti dngnn dngthiklawiwintxntn karmxngxnakht catxngthainhlayradbaelainthangxudmkhtikhuxkardaeninkarinrupaebbthiprasanknidprasbkarnchiihehnlksnasakhykhxngkarmxngxnakhtthiprasbkhwamsaercephuxnaipsukarcdladbkhwamsakhy idaek txngkahndwtthuprasngkhkhxngkickrrmkarmxngxnakhtihchdecntngaeterimtn txngsnbsnunkarmiswnrwmcakthukfay echn phuichnganwicy phuphlit aelaphusnbsnunthangkarengin ihkhwamsakhykbkarradmkhwamkhidcak langkhunbn imnxyipkwa bnlnglang txngmiklikthietriymcanaphlkartdsiniccakkrabwnkarmxngxnakhtipptibtithnthi hruxinxnakht khntxntxngyudhyuntxsingthiimkhadfnwacaekid aelasamarthprbaephndaeninkarid imichkrabwnkarthidaeninkaraebb khrngediywcb aetcakrathasaepnraya ephuxcaideriynruptikiriya txbsnxngaelaphthnakarihm kuyaecsukhwamsaercinkarcdladbkhwamsakhyradbchati khuxkarsnbsnuncakphubriharradbsunginrthbalkaryxmrbphlkarwicyaelakhntxnkardaeninkarcakaewdwngnkwithyasastraelankwichakaraelakarekhamamiswnrwmxyangiklchidaelayxmrbphlkarwicycakklumxutsahkrrmwithikarmxngxnakhtkickrrmthieriykidwaepnkarmxngxnakhtmimakmay cungimnaaeplkicthimikarphthnawithikar xyanghlakhlay xnidaek karsarwcedlfi Delphi Surveys karwangaephndwyphaphxnakht Scenario Planning Roadmapping karpruksaharux Consultation karwiekhraahsiththibtr Patent Analysis ethkhonolyithisakhyying Critical Technologies karkhyayaenwonm Extrapolation All Quadrant All Level AQAL Causal layered analysis CLA aehlngkhxmulxunAPEC Center for Technology Foresight 2021 01 26 thi ewyaebkaemchchin Australian Foresight Institute The National Institute of Science and Technology Policy The UK Foresight Programme The USA Foresight Institute The World Future Society 2006 12 31 thi ewyaebkaemchchin