คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุ บนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ใช้ในการสื่อสาร มี 2 ระบบคือ A.M. และ F.M. ความถี่ของคลื่น หมายถึง จำนวนรอบของการเปลี่ยนแปลงของคลื่นในเวลา 1 วินาที คลื่นเสียงมีความถี่ช่วงที่หูของคนรับฟังได้ คือ ตั้งแต่ 20 เฮิรตซ์ ถึง 20 กิโลเฮิรตซ์ (1 KHz = 1,000 Hz) ส่วนคลื่นวิทยุเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูง อาจมีตั้งแต่ 3 กิโลเฮิรตซ์ ไปจนถึง 300 กิกะเฮิรตซ์ คลื่นวิทยุแต่ละช่วงความถี่จะถูกกำหนดให้ใช้งานด้านต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
ส่วนประกอบของคลื่น
- 1. (Crest) เป็นตำแหน่งสูงสุดของคลื่น หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัดสูงสุดในทางบวก
- 2. (Trough) เป็นตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัดสูงสุดในทางลบ
- 3. แอมพลิจูด (Amplitude) เป็นระยะการกระจัดมากสุด ทั้งค่าบวกและค่าลบ
- 4. ความยาวคลื่น (wavelength) เป็นความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีค่าเท่ากับระยะระหว่างสันคลื่นหรือท้องคลื่นที่อยู่ถัดกัน ความยาวคลื่นแทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นเมตร (m)
- 5. ความถี่ (frequency) หมายถึง เวลาที่ตำแหน่งใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา แทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s-1) หรือ เฮิรตซ์ (Hz)
- 6. คาบ (period) หมายถึง เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น แทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นวินาทีต่อรอบ (s)
- 7. (wave speed) หาได้จากผลคูณระหว่างความยาวคลื่นและความถี่
ระบบเอเอ็มสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า "คลื่นพาหะ" โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นความถี่ของการซอย ในการส่งคลื่นระบบเอเอ็ม สามารถส่งได้ทั้ง "คลื่นดิน" ซึ่งจะเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลก และ "คลื่นฟ้า" ซึ่งจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ
ระบบเอฟเอ็มสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบเอฟเอ็มส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับคลื่นด้วย
เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ เป็นผู้ค้นพบระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1865 จากการสังเกตคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายกับคลื่นและผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก จึงนำเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจำลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย และทำให้เราสามารถนำคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
นิโคลา เทสลา บิดาแห่งวงการวิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้า เป็นผู้ประดิษฐ์และค้นพบสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย อาทิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องวัดความเร็วติดรถยนต์ การกระจายเสียงผ่านวิทยุ และวิธีการเปลี่ยนสนามแม่เหล็กเป็นสนามไฟฟ้า กูลเยลโม มาร์โกนี เป็นผู้ให้กำเนิดวิทยุโทรเลข นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบที่นำคลื่นวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร
การทำงานของเครื่องรับวิทยุมีอยู่หลายแบบ โดยมีการทำงานตั้งแต่ง่าย ๆ ไม่ซับซ่อน จนถึงซับซ้อนมาก และแบบที่ซับซ้อนมากก็ต้องมีความสามารถในการรับสัญญาณได้ดีกว่าด้วย แต่บทความนี้จะกล่าวถึงเครื่องรับวิทยุที่ใช้กันในวงการ R/C จะเป็นแบบที่เรียกว่า Super Heterodyne เพื่อไม่ให้บทความยาวเกินไป
การรับคลื่นวิทยุ
วิทยุจะแยกเอาสัญญาณคลื่นเสียงออกจากคลื่นพาหะ แล้วขยายสัญญาณเสียงให้มีพลังงานมากขึ้น ส่งเข้าสู่ลำโพงเสียง นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบที่นำคลื่นวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร
สำหรับชื่อคลื่นวิทยุความถี่ จำนวนความถี่ การใช้งานในประเทศไทย มีดังนี้
- (Very Low Frequency; VLF) 3-30 KHz (K=1 พัน)
- (Low Frequency; LF) 30-300 KHz ใช้กับคลื่นยาว (LW)
- (Medium Frequency; MF) 300-3,000 KHz ใช้กับวิทยุเอเอ็มคลื่นปานกลาง (MW)
- (High Frequency; HF) 3,000-30,000 KHz ใช้กับวิทยุเอเอ็มคลื่นสั้น (SW)
- ความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) 30-300 MHz (M=1 ล้าน) ใช้กับ และโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบแอนะล็อก ช่อง 2-12
- ความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) 300-3,000 MHz โทรทัศน์ระบบแอนะล็อกช่อง 14-69 และโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล
- (Super High Frequency; SHF) 3-30 GHz (G=1 พันล้าน) ใช้กับโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
- ความถี่สูงสุด (Extremedy High Frequency; EHF) 30-300 GHz -
การเรียกขนาดของความถี่ บางครั้งอาจเรียกตามความยาวคลื่น ซึ่งหาได้จากความเร็วคลื่นหารด้วยความถี่ เช่น คลื่นวิทยุเอฟเอ็ม ความถี่ 100 MHz ความยาวคลื่นจึงเท่ากับ 3 เมตร การทราบขนาดความยาวคลื่นมีประโยชน์สำหรับการเลือกรับคลื่นวิทยุต่าง ๆ เนื่องจากบางครั้งจะเรียกคลื่นวิทยุตามความยาวคลื่น นอกจากนี้ยังมีประโยชน์สำหรับการเลือกใช้ขนาดแผงสายอากาศที่เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไป แผงสายอากาศจะใช้ขนาดประมาณ 1 ใน 4 ของความยาวคลื่น
วิทยุเอเอ็มและเอฟเอ็ม หมายถึงระบบการผสมคลื่นเสียงเข้ากับคลื่นวิทยุ ดังนี้
- ระบบเอเอ็ม (AM) หมายถึงระบบการผสมคลื่นที่เมื่อผสมกันแล้วทำให้ความสูงของคลื่นวิทยุเปลี่ยนแปลงไปตามคลื่นเสียง จึงเรียกว่าการผสมทางความสูงของคลื่น (Amplitude Modulation) หรือ AM วิทยุเอเอ็มให้คุณภาพของเสียงไม่ดีนัก เพราะเกิดการรบกวนได้ง่าย เช่น ถูกรบกวนจากสถานีข้างเคียง เครื่องใช้ไฟฟ้า และที่สำคัญคือการรบกวนจากธรรมชาติ ได้แก่ เวลาฝนตก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า สภาพอากาศที่แปรปรวนมาก ๆ จะทำให้เสียงขาดหายเป็นช่วง ๆ การส่งวิทยุเอเอ็ม แบ่งความถี่การใช้งานออกเป็นช่วงคลื่น (Band) ต่างๆ ดังนี้
- คลื่นยาว (Long Wave; LW) ความถี่ 30 – 300 KHz
- คลื่นปานกลาง (Medium Wave; MW) ความถี่ 535 – 1605 KHz เป็นความถี่ของวิทยุเอเอ็ม ส่วนใหญ่ที่ใช้ในประเทศไทย จำนวนกว่า 200 สถานี กระจายอยู่ทั่วประเทศ โดยทั่วไปส่งได้ไกลประมาณ 200 กิโลเมตร
- คลื่นสั้น (Shot Wave; SW) ความถี่ 3 – 30 MHz คุณภาพเสียงไม่ดี แต่ส่งไปได้ไกลมากนับพันกิโลเมตร จึงสามารถส่งกระจายเสียงได้ข้ามทวีป เช่น สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (Radio Thailand) 11.965 MHz และ 9.0655 MHz สถานี BBC ความถี่ที่รับได้ในประเทศไทย 11.910 MHz สถานีวิทยุเสียงอเมริกา หรือ (Voice of America) ความถี่ 11.780 MHz สถานีวิทยุของออสเตรเลีย (Radio Australia) ความถี่ 15.40 MHz Radio Japan ความถี่ 15.235 MHz (ยุทธนา สาริยา 2527 : 18)
- ระบบเอฟเอ็ม (FM) เป็นการผสมคลื่นทางความถี่ (Frequency Modulation) คือคลื่นวิทยุที่ผสมกับคลื่นเสียงแล้ว จะมีความถี่ไม่สม่ำเสมอ เปลี่ยนแปลงไปตามคลื่นเสียง แต่ความสูงของคลื่นยังคงเดิม วิทยุเอฟเอ็มส่งด้วยความถี่ 87.5 -108 MHz ในประเทศไทยมีจำนวนกว่า 100 สถานี กระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ให้คุณภาพเสียงดีเยี่ยม ไม่เกิดสัญญาณรบกวนจากสภาพอากาศแปรปรวน แต่ส่งได้ในระยะประมาณไม่เกินประมาณ 150 กิโลเมตร ปัจจุบันนิยมส่งในแบบที่เรียกว่าระบบ FM Stereo Multiplex ซึ่งเครื่องรับวิทยุสามารถแยกสัญญาณแอกเป็น 2 ข้าง คือ สัญญาณสำหรับลำโพงด้านซ้าย (L) และ สัญญาณสำหรับลำโพงขวา (R)
คลื่นวิทยุ: สายอากาศ
- 1. ตัวนำโลหะ ซึ่งมักจะเป็นแบบใดแบบหนึ่งของความยาวลวดหรือท่อกลวง ตัวนำ ที่จะใช้สำหรับสายอากาศจะต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำนั้นได้
- 2. สายอากาศของเครื่องส่ง กระแสไฟฟ้าจะสร้างคลื่นวิทยุแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นนี้จะประกอบไปด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ซึ่งเคลื่อนที่ไปในอากาศจากสายอากาศ
- 3. สายอากาศของเครื่องรับคลื่นวิทยุจะเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ในสายอากาศ ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้จะเป็นสัญญาณเข้าของเครื่องรับ
- 4. วิทยุ ความถี่ประชาชน (CB) ต่างก็ใช้สายอากาศสำหรับรับ – ส่งเหมือนกัน
- 5. สายนำสัญญาณ จะต่อกับสายอากาศ ภายในสายนำสัญญาณจะประกอบด้วยตัวนำลวดคู่ วางใน ช่องว่างระหว่างกันคงที่ หน้าที่ของสายนำสัญญาณคือ การนำกระแสไฟฟ้าโดยปราศจากการแผ่คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า
อ้างอิง
- The Invention of Radio[]
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-29. สืบค้นเมื่อ 2018-01-22.
- http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G3/silachaya2/pagea_2.htm
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khlunwithyu epnkhlunaemehlkiffachnidhnungthiekidkhuninchwngkhwamthiwithyu bnesnsepktrmaemehlkiffa khlunwithyuimtxngxasytwklanginkarekhluxnthi ichinkarsuxsar mi 2 rabbkhux A M aela F M khwamthikhxngkhlun hmaythung canwnrxbkhxngkarepliynaeplngkhxngkhluninewla 1 winathi khlunesiyngmikhwamthichwngthihukhxngkhnrbfngid khux tngaet 20 ehirts thung 20 kiolehirts 1 KHz 1 000 Hz swnkhlunwithyuepnkhlunaemehlkiffakhwamthisung xacmitngaet 3 kiolehirts ipcnthung 300 kikaehirts khlunwithyuaetlachwngkhwamthicathukkahndihichngandantang tamkhwamehmaasmswnprakxbkhxngkhlun1 Crest epntaaehnngsungsudkhxngkhlun hruxepntaaehnngthimikarkracdsungsudinthangbwk 2 Trough epntaaehnngtasudkhxngkhlun hruxepntaaehnngthimikarkracdsungsudinthanglb 3 aexmphlicud Amplitude epnrayakarkracdmaksud thngkhabwkaelakhalb 4 khwamyawkhlun wavelength epnkhwamyawkhxngkhlunhnunglukmikhaethakbrayarahwangsnkhlunhruxthxngkhlunthixyuthdkn khwamyawkhlunaethndwysylksn mihnwyepnemtr m 5 khwamthi frequency hmaythung ewlathitaaehnngid inhnunghnwyewla aethndwysylksn mihnwyepnrxbtxwinathi s 1 hrux ehirts Hz 6 khab period hmaythung ewlathikhlunekhluxnthiphantaaehnngid khrbhnunglukkhlun aethndwysylksn mihnwyepnwinathitxrxb s 7 wave speed haidcakphlkhunrahwangkhwamyawkhlunaelakhwamthi rabbexexmsuxsarodyichkhlunesiyngphsmekhaipkbkhlunwithyueriykwa khlunphaha odyaexmphlicudkhxngkhlunphahacaepliynaeplngtamsyyankhlunkhwamthikhxngkarsxy inkarsngkhlunrabbexexm samarthsngidthng khlundin sungcaekhluxnthiinaenwesntrngkhnankbphiwolk aela khlunfa sungcaipsathxnthichnbrryakasixoxonsefiyraelwsathxnklblngma cungimtxngichsayxakastngsungrb rabbexfexmsuxsarodyichkhlunesiyngphsmekhakbkhlunphaha odykhwamthikhxngkhlunphahacaepliynaeplngtamsyyankhlunesiyng inkarsngkhlunrabbexfexmsngkhlunidechphaakhlundinxyangediyw thatxngkarsngihkhlumphunthitxngmisthanithaythxdaelaekhruxngrbtxngtngesaxakassung rbkhlundwy ecms ekhlirk aemksewll epnphukhnphbrahwangkartrwcsxbthangkhnitsastremuxpi kh s 1865 cakkarsngektkhunsmbtikhxngaesngbangprakarthikhlaykbkhlunaelaphlkarefasngektkraaesiffaaelaaemehlk cungnaesnxsmkarthixthibaykhlunaesngaelakhlunwithyuinrupaebbkhxngkhlunaemehlkiffathiedinthanginxwkas pi kh s 1887 ehnrikh ehirts idsathitsmkarkhxngaemksewllwaepnkhwamcringodycalxngkarsrangkhlunwithyukhuninhxngthdlxngkhxngekha hlngcaknnkmisingpradisthtang ekidkhunmakmay aelathaiherasamarthnakhlunwithyumaichinkarsngkhxmulphanhwngxwkasid niokhla ethsla bidaaehngwngkarwiswkrrmsastriffa epnphupradisthaelakhnphbsingxanwykhwamsadwkmakmay xathi mxetxriffakraaesslb ekhruxngwdkhwamerwtidrthynt karkracayesiyngphanwithyu aelawithikarepliynsnamaemehlkepnsnamiffa kuleylom marokni epnphuihkaenidwithyuothrelkh niokhla ethsla aelakuleylom marokni idrbkarykyxngwaepnphupradisthrabbthinakhlunwithyumaichinkarsuxsar karthangankhxngekhruxngrbwithyumixyuhlayaebb odymikarthangantngaetngay imsbsxn cnthungsbsxnmak aelaaebbthisbsxnmakktxngmikhwamsamarthinkarrbsyyaniddikwadwy aetbthkhwamnicaklawthungekhruxngrbwithyuthiichkninwngkar R C caepnaebbthieriykwa Super Heterodyne ephuximihbthkhwamyawekinipkarrbkhlunwithyuwithyucaaeykexasyyankhlunesiyngxxkcakkhlunphaha aelwkhyaysyyanesiyngihmiphlngnganmakkhun sngekhasulaophngesiyng niokhla ethsla aelakuleylom marokni idrbkarykyxngwaepnphupradisthrabbthinakhlunwithyumaichinkarsuxsar sahrbchuxkhlunwithyukhwamthi canwnkhwamthi karichnganinpraethsithy midngni Very Low Frequency VLF 3 30 KHz K 1 phn Low Frequency LF 30 300 KHz ichkbkhlunyaw LW Medium Frequency MF 300 3 000 KHz ichkbwithyuexexmkhlunpanklang MW High Frequency HF 3 000 30 000 KHz ichkbwithyuexexmkhlunsn SW khwamthisungmak Very High Frequency VHF 30 300 MHz M 1 lan ichkb aelaothrthsnphakhphundinrabbaexnalxk chxng 2 12 khwamthisungying Ultra High Frequency UHF 300 3 000 MHz othrthsnrabbaexnalxkchxng 14 69 aelaothrthsnphakhphundinrabbdicithl Super High Frequency SHF 3 30 GHz G 1 phnlan ichkbothrthsnphandawethiym khwamthisungsud Extremedy High Frequency EHF 30 300 GHz kareriykkhnadkhxngkhwamthi bangkhrngxaceriyktamkhwamyawkhlun sunghaidcakkhwamerwkhlunhardwykhwamthi echn khlunwithyuexfexm khwamthi 100 MHz khwamyawkhluncungethakb 3 emtr karthrabkhnadkhwamyawkhlunmipraoychnsahrbkareluxkrbkhlunwithyutang enuxngcakbangkhrngcaeriykkhlunwithyutamkhwamyawkhlun nxkcakniyngmipraoychnsahrbkareluxkichkhnadaephngsayxakasthiehmaasm sungodythwip aephngsayxakascaichkhnadpraman 1 in 4 khxngkhwamyawkhlun withyuexexmaelaexfexm hmaythungrabbkarphsmkhlunesiyngekhakbkhlunwithyu dngni rabbexexm AM hmaythungrabbkarphsmkhlunthiemuxphsmknaelwthaihkhwamsungkhxngkhlunwithyuepliynaeplngiptamkhlunesiyng cungeriykwakarphsmthangkhwamsungkhxngkhlun Amplitude Modulation hrux AM withyuexexmihkhunphaphkhxngesiyngimdink ephraaekidkarrbkwnidngay echn thukrbkwncaksthanikhangekhiyng ekhruxngichiffa aelathisakhykhuxkarrbkwncakthrrmchati idaek ewlafntk faaelb fapha sphaphxakasthiaeprprwnmak cathaihesiyngkhadhayepnchwng karsngwithyuexexm aebngkhwamthikarichnganxxkepnchwngkhlun Band tang dngni khlunyaw Long Wave LW khwamthi 30 300 KHz khlunpanklang Medium Wave MW khwamthi 535 1605 KHz epnkhwamthikhxngwithyuexexm swnihythiichinpraethsithy canwnkwa 200 sthani kracayxyuthwpraeths odythwipsngidiklpraman 200 kiolemtr khlunsn Shot Wave SW khwamthi 3 30 MHz khunphaphesiyngimdi aetsngipidiklmaknbphnkiolemtr cungsamarthsngkracayesiyngidkhamthwip echn sthaniwithyukracayesiyngaehngpraethsithy Radio Thailand 11 965 MHz aela 9 0655 MHz sthani BBC khwamthithirbidinpraethsithy 11 910 MHz sthaniwithyuesiyngxemrika hrux Voice of America khwamthi 11 780 MHz sthaniwithyukhxngxxsetreliy Radio Australia khwamthi 15 40 MHz Radio Japan khwamthi 15 235 MHz yuththna sariya 2527 18 rabbexfexm FM epnkarphsmkhlunthangkhwamthi Frequency Modulation khuxkhlunwithyuthiphsmkbkhlunesiyngaelw camikhwamthiimsmaesmx epliynaeplngiptamkhlunesiyng aetkhwamsungkhxngkhlunyngkhngedim withyuexfexmsngdwykhwamthi 87 5 108 MHz inpraethsithymicanwnkwa 100 sthani kracayxyutamcnghwdtang thwpraeths ihkhunphaphesiyngdieyiym imekidsyyanrbkwncaksphaphxakasaeprprwn aetsngidinrayapramanimekinpraman 150 kiolemtr pccubnniymsnginaebbthieriykwarabb FM Stereo Multiplex sungekhruxngrbwithyusamarthaeyksyyanaexkepn 2 khang khux syyansahrblaophngdansay L aela syyansahrblaophngkhwa R khlunwithyu sayxakas1 twnaolha sungmkcaepnaebbidaebbhnungkhxngkhwamyawlwdhruxthxklwng twna thicaichsahrbsayxakascatxngihkraaesiffaihlphantwnannid 2 sayxakaskhxngekhruxngsng kraaesiffacasrangkhlunwithyuaemehlkiffa khlunnicaprakxbipdwysnamiffaaelasnamaemehlk sungekhluxnthiipinxakascaksayxakas 3 sayxakaskhxngekhruxngrbkhlunwithyucaehniywnaihekidkraaesiffa insayxakas sungkraaesiffanicaepnsyyanekhakhxngekhruxngrb 4 withyu khwamthiprachachn CB tangkichsayxakassahrbrb sngehmuxnkn 5 saynasyyan catxkbsayxakas phayinsaynasyyancaprakxbdwytwnalwdkhu wangin chxngwangrahwangknkhngthi hnathikhxngsaynasyyankhux karnakraaesiffaodyprascakkaraephkhlun aemehlkiffaxangxingThe Invention of Radio lingkesiy khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 04 29 subkhnemux 2018 01 22 http www bs ac th 2548 e bs G3 silachaya2 pagea 2 htm