บทความนี้ไม่มีจาก |
จำนวนสกีว (อังกฤษ: Skewes' number) ตั้งชื่อตามชื่อของ นักคณิตศาสตร์ชาวแอฟริกาใต้ หมายถึงเลขที่มีค่ามากเลขใดเลขหนึ่งที่สกีวพิสูจน์ว่าเป็นขอบเขตบนของจำนวนนับ x ที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่ง
เมื่อ π(x) เป็นฟังก์ชันนับจำนวนเฉพาะ และ li(x) เป็น ปัจจุบันนักคณิตศาสตร์ทราบว่า กราฟของ π(x) กับ li(x) มีจุดตัดใกล้ค่า แต่ไม่ทราบว่าเป็นค่าน้อยสุดหรือไม่
ประวัติ
จอห์น เอเดนเซอร์ ลิตเติลวูด หัวหน้างานวิจัยของสกีว พิสูจน์ในปี 1914 ว่าจำนวน x ดังกล่าวมีอยู่จริง (แสดงว่าต้องมีค่า x บางค่าที่น้อยที่สุด) และยังพบอีกว่า π(x) - li(x) สลับค่าระหว่างบวก-ลบ เป็นอนันต์ครั้ง ซึ่งในขณะนั้น ตัวเลขทั้งหมดที่น้อยพอจะตรวจสอบได้ล้วนให้ π(x) < li(x) ทั้งสิ้น แสดงว่า x ดังกล่าวต้องมีค่าสูงมากพอควร อย่างไรก็ตามลิตเติลวูดพิสูจน์แค่การมีอยู่ x แต่ไม่ได้ให้ตัวอย่างค่า x ไว้
ต่อมาในปี 1933 สกีวจึงได้พิสูจน์ว่่า ถ้าเป็นจริง จะมีจำนวน x ที่ π(x) - li(x) < 0 ไม่เป็นจริงซึ่ง x น้อยกว่า
และในปี 1955 สกีวพิสูจน์โดยไม่ใช้สมมติฐานของรีมันน์ว่าจะต้องมี x ที่น้อยกว่า
อ้างอิง
- Skewes, S. (1933), "On the difference ", Journal of the London Mathematical Society, 8: 277–283, doi:10.1112/jlms/s1-8.4.277
- Skewes, S. (1955), "On the difference (II)", Proceedings of the London Mathematical Society, 5: 48–70, doi:10.1112/plms/s3-5.1.48,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir canwnskiw xngkvs Skewes number tngchuxtamchuxkhxng nkkhnitsastrchawaexfrikait hmaythungelkhthimikhamakelkhidelkhhnungthiskiwphisucnwaepnkhxbekhtbnkhxngcanwnnb x thimikhanxythisud sung p x li x gt 0 displaystyle pi x li x gt 0 emux p x epnfngkchnnbcanwnechphaa aela li x epn pccubnnkkhnitsastrthrabwa krafkhxng p x kb li x micudtdiklkha e727 95133 lt 1 397 10316 displaystyle e 727 95133 lt 1 397 times 10 316 aetimthrabwaepnkhanxysudhruximprawticxhn exednesxr litetilwud hwhnanganwicykhxngskiw phisucninpi 1914 wacanwn x dngklawmixyucring aesdngwatxngmikha x bangkhathinxythisud aelayngphbxikwa p x li x slbkharahwangbwk lb epnxnntkhrng sunginkhnann twelkhthnghmdthinxyphxcatrwcsxbidlwnih p x lt li x thngsin aesdngwa x dngklawtxngmikhasungmakphxkhwr xyangirktamlitetilwudphisucnaekhkarmixyu x aetimidihtwxyangkha x iw txmainpi 1933 skiwcungidphisucnwa thaepncring camicanwn x thi p x li x lt 0 imepncringsung x nxykwa eee79 lt 10101034 displaystyle e e e 79 lt 10 10 10 34 aelainpi 1955 skiwphisucnodyimichsmmtithankhxngrimnnwacatxngmi x thinxykwa eeee7 705 lt 101010964 displaystyle e e e e 7 705 lt 10 10 10 964 xangxingSkewes S 1933 On the difference Journal of the London Mathematical Society 8 277 283 doi 10 1112 jlms s1 8 4 277 Skewes S 1955 On the difference II Proceedings of the London Mathematical Society 5 48 70 doi 10 1112 plms s3 5 1 48 bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk