ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (อังกฤษ: pneumothorax, pneumothoraces) เป็นภาวะซึ่งมีอากาศอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอดในช่องอก ระหว่างปอดกับ อาจเกิดขึ้นเองในผู้ป่วยที่ไม่มีมาก่อน (แบบปฐมภูมิ) หรือในผู้ป่วยที่มีโรคปอดเรื้อรังมาก่อน (แบบทุติยภูมิ) นอกจากนี้บ่อยครั้งยังเกิดตามหลังการบาดเจ็บต่อทรวงอก การระเบิด หรือพบเป็นได้
โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (Pneumothorax) | |
---|---|
ภาพแสดงภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศที่ปอดข้างขวา (ด้านซ้ายของภาพ) ที่ศรชี้คือขอบของปอดที่แฟบลง | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | J93, P25.1, S27.0 |
ICD- | 512, 860 |
173600 | |
10195 | |
000087 | |
article/432979 article/424547 article/360796 article/808162 article/827551 article/1003552 | |
MeSH | D011030 |
อาการของโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศขึ้นอยู่กับขนาดของอากาศที่ปรากฏในโพรงเยื่อหุ้มปอดและความเร็วของการรั่วของอากาศ อาจมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจลำบาก อาจวินิจฉัยได้จากในกรณีเป็นมาก ๆ แต่ส่วนใหญ่จำเป็นต้องใช้เช่นเอกซเรย์หรือซีทีในการวินิจฉัยกรณีเป็นไม่มาก บางครั้งภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอาจทำให้เกิดร่างกายขาดออกซิเจน ความดันเลือดลดต่ำ และหัวใจหยุดได้หากไม่ได้รับการรักษา ภาวะเช่นนี้เรียกว่าโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดเกิดแรงดัน (อังกฤษ: tension pneumothorax)
ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดที่เป็นไม่มากนั้นส่วนใหญ่หายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องได้รับ โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ไม่ได้มีโรคปอดเรื้อรังมาก่อน ในกรณีที่โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอยู่มากหรือมีอาการมากอาจจำเป็นต้องใช้หรือใส่สายระบายทรวงอกเพื่อให้ลมได้ระบายออก บางครั้งอาจจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด โดยเฉพาะในกรณีที่เมื่อใส่สายระบายทรวงอกแล้วยังไม่หาย หรือผู้ป่วยรายนั้น ๆ เกิดมีโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศอีกหลายครั้ง ในกรณีที่ผู้ป่วยรายใดมีโอกาสเกิดเป็นซ้ำได้มาก อาจจำเป็นต้องมีการรักษาเพิ่มเติม เช่น การทำเพื่อยึดเยื่อหุ้มตัวปอดกับเยื่อหุ้มปอดส่วนผนังอกเข้าด้วยกัน
อาการและอาการแสดง
ชนิดย่อยทางคลินิก
ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศเกิดเองชนิดปฐมภูมิ (อังกฤษ: primary spontaneous pneumothorax, PSP) ซึ่งมักพบในผู้ป่วยอายุน้อยที่ไม่มีโรคปอดมาก่อนนั้นมักมีอาการไม่มาก โดยมีอาการเด่นคืออาการเจ็บหน้าอกและบางครั้งอาจมีเหนื่อยหายใจลำบากเล็กน้อย ผู้ป่วย PSP ครึ่งหนึ่งรอให้มีอาการอยู่หลายวันจึงตัดสินใจมาพบแพทย์ มีโอกาสน้อยมากที่ PSP จะพัฒนาไปมากจนเกิดเป็นโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดเกิดแรงดัน ส่วนใหญ่มักเริ่มมีอาการขณะพัก ชายร่างสูงและโดยเฉพาะสูบบุหรี่ด้วยนั้นมีความเสี่ยงที่จะเกิด PSP สูงกว่าคนอื่น ปัจจุบันพบว่า PSP เกิดได้บ่อยกว่าในภาวะซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศและที่ที่มีดนตรีเสียงดัง ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บางครั้งพบมีผู้ป่วยโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศมากเป็นหย่อม ๆ
ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศเกิดเองชนิดทุติยภูมิ (อังกฤษ: secondary spontaneous pneumothorax, SSP) เกิดในผู้ป่วยที่มีโรคปอดอยู่เดิม อาการมักเป็นรุนแรงกว่าเนื่องจากการทำงานของปอดไม่ดีอยู่เดิม เมื่อแฟบลงจึงยิ่งทำงานได้แย่ลงไปอีก ผู้ป่วยอาจมีออกซิเจนในเลือดต่ำ อาจเห็นผู้ป่วยเขียว บางทีอาจพบ ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการและได้ ผู้ป่วยโรคปอดเช่นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและซิสติกไฟโบรซิสที่มีอาการหายใจลำบากเฉียบพลันอาจควรได้รับการตรวจหาภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศโดยเร็ว ขนาดของอากาศในโพรงเยื่อหุ้มปอดนั้นมีความสัมพันธ์กับอาการของผู้ป่วยไม่มากนัก
ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศที่เกิดจากการบาดเจ็บ (อังกฤษ: traumatic pneumothorax) อาจเกิดจากบาดแผลทะลุถึงโพรงเยื่อหุ้มปอด เช่นจากบาดแผลหรือ ทำให้อากาศจากภายนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอดได้ หรือเกิดจากการบาดเจ็บต่อเนื้อปอด ทำให้ลมจากเนื้อปอดรั่วเข้ามาในโพรงเยื่อหุ้มปอด พบเป็นภาวะแทรกซ้อนบ่อยถึงครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ทรวงอก เป็นที่สองรองจาก ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยถึงครึ่งหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก ซึ่งอาจขยายใหญ่มากขึ้นหากผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ ดังนั้นไม่ว่าขนาดจะเล็กหรือใหญ่ก็มีความสำคัญทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังพบเกิดในผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจจากสาเหตุอื่น ๆ อีกด้วย
ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดเกิดแรงดันมีนิยามที่แตกต่างกันไปตามแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่ง แต่โดยทั่วไปถือตรงกันว่าควรสงสัยถ้าผู้ป่วยมีออกซิเจนต่ำมากแม้จะได้รับออกซิเจนแล้ว มีความดันเลือดลดต่ำ หรือมีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว ภาวะนี้ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนโดยไม่ต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติม ภาวะนี้ยังพบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับการช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ ซึ่งอาจตรวจพบได้ยากเนื่องจากผู้ป่วยมักได้รับยากดระดับความรู้สึกตัวอยู่แล้ว ทำให้บางครั้งจะทราบก็ต่อเมื่อผู้ป่วยมีอาการแย่ลงอย่างรวดเร็ว
อ้างอิง
- Tschopp JM, Rami-Porta R, no-ppen M, Astoul P (September 2006). "Management of spontaneous pneumothorax: state of the art". Eur. Respir. J. 28 (3): 637–50. doi:10.1183/09031936.06.00014206. PMID 16946095.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - no-ppen M, De Keukeleire T (2008). "Pneumothorax". Respiration. 76 (2): 121–7. doi:10.1159/000135932. PMID 18708734.
- MacDuff A, Arnold A, Harvey J, BTS Pleural Disease Guideline Group (December 2010). "Management of spontaneous pneumothorax: pleural disease guideline 2010". Thorax. 65 (8): ii18–ii31. doi:10.1136/thx.2010.136986. PMID 20696690.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Leigh-Smith S, Harris T (January 2005). "Tension pneumothorax--time for a re-think?". Emerg. Med. J. 22 (1): 8–16. doi:10.1136/emj.2003.010421. PMC 1726546. PMID 15611534.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawaophrngeyuxhumpxdmixakas xngkvs pneumothorax pneumothoraces epnphawasungmixakasxyuinophrngeyuxhumpxdinchxngxk rahwangpxdkb xacekidkhunexnginphupwythiimmimakxn aebbpthmphumi hruxinphupwythimiorkhpxderuxrngmakxn aebbthutiyphumi nxkcaknibxykhrngyngekidtamhlngkarbadecbtxthrwngxk karraebid hruxphbepnidophrngeyuxhumpxdmixakas Pneumothorax phaphaesdngphawaophrngeyuxhumpxdmixakasthipxdkhangkhwa dansaykhxngphaph thisrchikhuxkhxbkhxngpxdthiaefblngbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10J93 P25 1 S27 0ICD 512 86017360010195000087article 432979 article 424547 article 360796 article 808162 article 827551 article 1003552MeSHD011030 xakarkhxngophrngeyuxhumpxdmixakaskhunxyukbkhnadkhxngxakasthipraktinophrngeyuxhumpxdaelakhwamerwkhxngkarrwkhxngxakas xacmixakarecbhnaxk hayiclabak xacwinicchyidcakinkrniepnmak aetswnihycaepntxngichechnexkseryhruxsithiinkarwinicchykrniepnimmak bangkhrngphawaophrngeyuxhumpxdmixakasxacthaihekidrangkaykhadxxksiecn khwamdneluxdldta aelahwichyudidhakimidrbkarrksa phawaechnnieriykwaophrngeyuxhumpxdmixakaschnidekidaerngdn xngkvs tension pneumothorax phawaophrngeyuxhumpxdmixakaschnidthiepnimmaknnswnihyhayidexngodyimcaepntxngidrb odyechphaainphupwythiimidmiorkhpxderuxrngmakxn inkrnithiophrngeyuxhumpxdmixakasxyumakhruxmixakarmakxaccaepntxngichhruxissayrabaythrwngxkephuxihlmidrabayxxk bangkhrngxaccaepntxngrksadwykarphatd odyechphaainkrnithiemuxissayrabaythrwngxkaelwyngimhay hruxphupwyraynn ekidmiophrngeyuxhumpxdmixakasxikhlaykhrng inkrnithiphupwyrayidmioxkasekidepnsaidmak xaccaepntxngmikarrksaephimetim echn karthaephuxyudeyuxhumtwpxdkbeyuxhumpxdswnphnngxkekhadwyknxakaraelaxakaraesdngchnidyxythangkhlinik phawaophrngeyuxhumpxdmixakasekidexngchnidpthmphumi xngkvs primary spontaneous pneumothorax PSP sungmkphbinphupwyxayunxythiimmiorkhpxdmakxnnnmkmixakarimmak odymixakarednkhuxxakarecbhnaxkaelabangkhrngxacmiehnuxyhayiclabakelknxy phupwy PSP khrunghnungrxihmixakarxyuhlaywncungtdsinicmaphbaephthy mioxkasnxymakthi PSP caphthnaipmakcnekidepnophrngeyuxhumpxdmixakaschnidekidaerngdn swnihymkerimmixakarkhnaphk chayrangsungaelaodyechphaasubbuhridwynnmikhwamesiyngthicaekid PSP sungkwakhnxun pccubnphbwa PSP ekididbxykwainphawasungmikarepliynaeplngkhwamkdxakasaelathithimidntriesiyngdng sungxacepnsaehtuthithaihbangkhrngphbmiphupwyophrngeyuxhumpxdmixakasmakepnhyxm phawaophrngeyuxhumpxdmixakasekidexngchnidthutiyphumi xngkvs secondary spontaneous pneumothorax SSP ekidinphupwythimiorkhpxdxyuedim xakarmkepnrunaerngkwaenuxngcakkarthangankhxngpxdimdixyuedim emuxaefblngcungyingthanganidaeylngipxik phupwyxacmixxksiecnineluxdta xacehnphupwyekhiyw bangthixacphb sungxacthaihphupwymixakaraelaid phupwyorkhpxdechnorkhpxdxudkneruxrngaelasistikifobrsisthimixakarhayiclabakechiybphlnxackhwridrbkartrwchaphawaophrngeyuxhumpxdmixakasodyerw khnadkhxngxakasinophrngeyuxhumpxdnnmikhwamsmphnthkbxakarkhxngphupwyimmaknk phawaophrngeyuxhumpxdmixakasthiekidcakkarbadecb xngkvs traumatic pneumothorax xacekidcakbadaephlthaluthungophrngeyuxhumpxd echncakbadaephlhrux thaihxakascakphaynxkekhaipinophrngeyuxhumpxdid hruxekidcakkarbadecbtxenuxpxd thaihlmcakenuxpxdrwekhamainophrngeyuxhumpxd phbepnphawaaethrksxnbxythungkhrunghnungkhxngphupwythimikarbadecbthithrwngxk epnthisxngrxngcak phawaophrngeyuxhumpxdmixakasthiekidkhuninphupwythungkhrunghnungxacmikhnadelk sungxackhyayihymakkhunhakphupwycaepntxngidrbkarchwyhayicdwyekhruxngchwyhayic dngnnimwakhnadcaelkhruxihykmikhwamsakhythngsin nxkcakniyngphbekidinphupwythicaepntxngidrbkarchwyhayicdwyekhruxngchwyhayiccaksaehtuxun xikdwy phawaophrngeyuxhumpxdmixakaschnidekidaerngdnminiyamthiaetktangkniptamaehlngkhxmulaetlaaehlng aetodythwipthuxtrngknwakhwrsngsythaphupwymixxksiecntamakaemcaidrbxxksiecnaelw mikhwamdneluxdldta hruxmikarepliynaeplngkhxngradbkhwamrusuktw phawanithuxepnphawachukechinthangkaraephthy caepntxngidrbkarrksaxyangerngdwnodyimtxngtrwcphiessephimetim phawaniyngphbidinphupwythiidrbkarchwyhayicdwyekhruxngchwyhayic sungxactrwcphbidyakenuxngcakphupwymkidrbyakdradbkhwamrusuktwxyuaelw thaihbangkhrngcathrabktxemuxphupwymixakaraeylngxyangrwderwxangxingTschopp JM Rami Porta R no ppen M Astoul P September 2006 Management of spontaneous pneumothorax state of the art Eur Respir J 28 3 637 50 doi 10 1183 09031936 06 00014206 PMID 16946095 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk no ppen M De Keukeleire T 2008 Pneumothorax Respiration 76 2 121 7 doi 10 1159 000135932 PMID 18708734 MacDuff A Arnold A Harvey J BTS Pleural Disease Guideline Group December 2010 Management of spontaneous pneumothorax pleural disease guideline 2010 Thorax 65 8 ii18 ii31 doi 10 1136 thx 2010 136986 PMID 20696690 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Leigh Smith S Harris T January 2005 Tension pneumothorax time for a re think Emerg Med J 22 1 8 16 doi 10 1136 emj 2003 010421 PMC 1726546 PMID 15611534 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk