มณฑลอันนัม (Annam) เป็นชื่อเรียกดินแดนของที่แพร่ขยายออกมาจากบริเวณเดิมแถบลุ่มแม่น้ำแดงและแม่น้ำดำ ซึ่งเคยถูกปกครองในฐานะมณฑลหนึ่งของจีน ได้แก่ดินแดนที่ต่อมาจะถูกเรียกว่าตังเกี๋ย ชาวจีนเรียกบริเวณที่ชาวเวียดอาศัยอยู่ว่าอันหนันหมายถึงภาคใต้ที่ปราบสงบแล้ว แต่ชาวตะวันตกออกเสียงเป็นอันนัม
จีนปกครองเวียดนามเป็นเวลาประมาณ 600 ปี ตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิ้นจนถึงสมัยราชวงศ์ถัง จนเวียดนามสามารถประกาศเอกราชจากจีนได้ประมาณ พ.ศ. 1482
หลังได้รับเอกราช
ตั้งแต่ พ.ศ. 1597 ชาวเวียดเรียกอาณาจักรของตนว่าไดโกเวียดหรือไดเวียดซึ่งมีพรมแดนทางใต้ติดกับอาณาจักรจามปา ถึงแม้ว่าเวียดนามจะแยกตัวออกไปจากจีนแล้ว จีนก็ยังเรียกอาณาจักรของชาวเวียดว่าอันหนันหรือหนันอัวะและเรียกผู้นำชาวเวียดว่าอันหนันก๊กหว่อง หลังจากที่พระเจ้าเวียดนามยาลองสามารถขึ้นครองราชย์ที่เว้ได้ใน พ.ศ. 2345 และเรียกอาณาจักรของพระองค์ว่าไดนาม เมื่อส่งบรรณาการไปจีน จีนรับรองความเป็นอิสระของไดนาม แต่จีนกลับเรียกว่าเวียดนาม ทำให้เวียดนามเป็นชื่อที่นิยมใช้มาจนปัจจุบัน
คำว่าอันนัมนั้นได้นำกลับมาใช้อีกครั้งหลังจากที่ฝรั่งเศสยึดครองเวียดนามได้และแบ่งการปกครองออกเป็นสามส่วน โดยคำว่าอันนัมใช้เรียกดินแดนภาคกลางของเวียดนาม ไม่ได้หมายถึงเวียดนามทั้งประเทศอีกต่อไป
อ้างอิง
สุพรรณี กาญจนัษฐิติ. อันนัม ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 179 – 183
- John King Fairbank (1978). The Cambridge History of China. Cambridge University Press. p. 693. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mnthlxnnm Annam epnchuxeriykdinaednkhxngthiaephrkhyayxxkmacakbriewnedimaethblumaemnaaedngaelaaemnada sungekhythukpkkhrxnginthanamnthlhnungkhxngcin idaekdinaednthitxmacathukeriykwatngekiy chawcineriykbriewnthichawewiydxasyxyuwaxnhnnhmaythungphakhitthiprabsngbaelw aetchawtawntkxxkesiyngepnxnnmcininsmyrachwngsthng cinpkkhrxngewiydnamepnewlapraman 600 pi tngaetsmyrachwngscincnthungsmyrachwngsthng cnewiydnamsamarthprakasexkrachcakcinidpraman ph s 1482hlngidrbexkrachtngaet ph s 1597 chawewiyderiykxanackrkhxngtnwaidokewiydhruxidewiydsungmiphrmaednthangittidkbxanackrcampa thungaemwaewiydnamcaaeyktwxxkipcakcinaelw cinkyngeriykxanackrkhxngchawewiydwaxnhnnhruxhnnxwaaelaeriykphunachawewiydwaxnhnnkkhwxng hlngcakthiphraecaewiydnamyalxngsamarthkhunkhrxngrachythiewidin ph s 2345 aelaeriykxanackrkhxngphraxngkhwaidnam emuxsngbrrnakaripcin cinrbrxngkhwamepnxisrakhxngidnam aetcinklberiykwaewiydnam thaihewiydnamepnchuxthiniymichmacnpccubn khawaxnnmnnidnaklbmaichxikkhrnghlngcakthifrngessyudkhrxngewiydnamidaelaaebngkarpkkhrxngxxkepnsamswn odykhawaxnnmicheriykdinaednphakhklangkhxngewiydnam imidhmaythungewiydnamthngpraethsxiktxipxangxingsuphrrni kaycnsthiti xnnm in saranukrmprawtisastrsaklsmyihm exechiy elm 1 xksr A B chbbrachbnthitysthan kthm rachbnthitysthan 2539 hna 179 183 John King Fairbank 1978 The Cambridge History of China Cambridge University Press p 693 ISBN 0 521 21446 7