บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
นักบุญทอมัส อไควนัส (อังกฤษ: Thomas Aquinas (/əˈkwaɪnəs/, ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส
ทอมัส อไควนัส | |
---|---|
เกิด | ประมาณ ค.ศ. 1225 ใน อิตาลี |
เสียชีวิต | 7 มีนาคม, ค.ศ. 1274 ใน อิตาลี |
ยุค | ปรัชญาสมัยกลาง |
แนวทาง | นักปรัชญาตะวันตก |
สำนัก | อัสสมาจารย์นิยม |
ความสนใจหลัก | อภิปรัชญา (รวมทั้ง เทววิทยา) ตรรกศาสตร์ จิต ญาณวิทยา จริยศาสตร์ ปรัชญาการเมือง |
แนวคิดเด่น | , |
ได้รับอิทธิพลจาก | |
เป็นอิทธิพลต่อ |
จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา
งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น
วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว
กฎสังคม 4 ประการ
อไควนัส ศึกษาปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลกำหนดเอกภาพของสังคมและทำให้เกิดการพัฒนาการของมนุษย์ พระเจ้าและธรรมชาติมีความสำคัญเป็นส่วนหนึ่งของสังคม สิ่งเหล่านี้รวมตัวกันด้วยกฎ 4 ประการคือ
- กฎจักรวาล (Eternal Law) หมายถึง กฎของพระเจ้าที่ควบคุมจักรวาล
- กฎธรรมชาติ (Natural Law) หมายถึง กฎของสิ่งมีชีวิต เป็นส่วนหนึ่งของพระเป็นเจ้า
- กฎสังคมมนุษย์ (Human Law) เป็นกฎของสาธารณชน เป็นขบวนการสถาบันสังคม
- กฎพระเจ้า (Divine Law) เป็นกฎที่กำหนดแรงจูงใจภายในของมนุษย์
กฎทั้งสี่มีความสัมพันธ์กันเหมือนกับอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การกระทำของมนุษย์จะถูกควบคุมจากจิตหรือ และวิญญาณหรือความสำนึกทางศีลธรรม ต้องมีการตรวจสอบความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ และการต่อต้านของมนุษย์ในสังคม ประการสุดท้ายผู้ที่มีหน้าที่ตราตัวบทกฎหมายต้องประยุกต์กฎหมายทุกชนิดให้สมาชิกในสังคมทุกคนได้รับประโยชน์สูงสุด มีผู้สรุปความคิดของอควีนาสไว้ว่าในหนังสือ "Summa Theologica" ที่เขียนราวปี พ.ศ. 1739 พูดถึงลัทธิกฎธรรมชาติของนักปรัชญากลุ่มลัทธิสโตอิก (ถือหลักธรรมเพื่อกำจัดตัณหา) นำไปผสมกับการสอนใน ศาสนาคริสต์ว่าด้วยกฎของพระเจ้า รวมทั้งรับแนวความคิดของอาริสโตเติลเกี่ยวกับบรรทัดฐานหรือกฎของมนุษย์ และจุดกำเนิดของหลักกฎหมายโรมันด้วย ทำให้มนุษย์มีความสามารถและมีสติปัญญาอย่างสูงสุด ประการสุดท้ายก็คือ ทำให้เกิดระบบลัทธิรัฐธรรมนูญ
อไควนัสเป็นนักปราชญ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดคนหนึ่ง พยายามประสานหลักเหตุผลที่มีอยู่ในธรรมชาติเข้ากับความศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า โดยแสดงออกมาในรูปของอำนาจเหนือธรรมชาติที่แท้จริง ปรัชญาเป็นผลิตผลของเทววิทยาและเหตุผลเป็นรากฐานของความศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า
เมื่อเทียบกันยุคในประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชีวิตอยู่ระหว่างก่อนสมัยสุโขทัยเล็กน้อย และเสียชีวิตในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เมื่ออายุได้เพียง 49 ปี
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 210, 584
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul thxms xikhwns khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir nkbuythxms xikhwns xngkvs Thomas Aquinas e ˈ k w aɪ n e s kh s 1225 1274 epnbathhlwngormnkhathxliksngkdkhnadxminikn ekidintrakulkhunnangchawxitali snicsuksasingtang xyanglaexiydluksung xikhwnsidphthnaaenwkhwamkhidkhxngekhaodyidrbxiththiphlcakxarisotetil inkhnathinkkhidkhnxunmikhwamehntrngknkham xkhwinasiddaeninkarsuksa srupphlthiepnaebbtrrksastrthismburn odyimmikhxsngsyhruxkhxkhdaeyng tamaenwkhwamkhidkhxngxikhwns raebiybwithidngklawekidkhunemuxxkhwinaserimhnmasnicsuksakhnkhwaaenwkhwamkhidkhxngxarisotetil aelaidmixiththiphltlxdchiwitkarthangankhxngxikhwnsthxms xikhwnsekidpraman kh s 1225 in xitaliesiychiwit7 minakhm kh s 1274 in xitaliyukhprchyasmyklangaenwthangnkprchyatawntksankxssmacaryniymkhwamsnichlkxphiprchya rwmthng ethwwithya trrksastr cit yanwithya criysastr prchyakaremuxngaenwkhidedn idrbxiththiphlcak xarisotetil aexneslm xibun rchd xxkstinaehnghipopepnxiththiphltx ethwwithyakhathxlik cxhn lxk dnet xalikiexri sntapapapixusthi 12 cudmunghmayxikprakarhnungkhxngxikhwnskhux karphsmphsanethwwithyasasnakhristihekhakbtrrksastrkhxngxarisotetil inthisudaenwkhwamkhidkhxngxarisotetilkklbmamichuxesiyngkhunxikkhrnghnung nkkhidchawtawntkkerimhnmasuksangankhxngxrisotetilknmakkhun miphuklawwaxarisotetilepnphuthiidrbkarykyxngwaepnnkprachythimikhwamrxbru phraecaphungphxicyxmxnuyatihepnphusrupkhwamruthuksakhawicha ethakbyxmrbwaxarisotetilepnehmuxnkhmphirxnskdisiththi epnnkbwchkhxngsasna epntwbthkdhmay aelaepnnkwinythangsasna epriybesmuxnepnphuthimixanachnathikahndkhwamsmphnthkhxngmnusy kahndkhwamruthuksakhawicha nganekhiynkhxngxikhwns inrayaniphyayamxthibaysngkhmthiidrbxiththiphlcaksasna aelaphraphuepneca xikhwnsphyayamkahndkhwamsakhyaelahnathiihmkhxngsasnathimitxsngkhm odyihsasnayngkhngmixanacthangthrrmtamkhasxnkhxngsasna xikhwnskehmuxnkbnkprachykhnxun khuxmikhwamechuxwamnusyepnstwsngkhmmicudmunghmayephuxdarngchiwitxyuinsngkhm mnusyepnstwsngkhmthimikhwamsamarthkahndkhwbkhumkarkrathakhxngtnexngiddwystipyya mnusycatkxyuinxntray thaimyxmrbrabbsngkhm xikhwnscungennexkphaphinsngkhmmnusythimiphlngxanac odyechphaaxyangyingexkphaphthangkaremuxngepnsingsakhy cudmunghmaykephuxihsngkhmmiexkphaphxyangsntiimmikhwamkhdaeyngekidkhun withikardngklawepriybesmuxnmnusyidrbkarxbrmthangcit citthixbrmaelw casngkarihrangkaykrathasingtang tamhnathiinsngkhm dngnn karpkkhrxngodyrthbalthimiphunaephiyngkhnediywcungepnwithikarthidithisud kstriyxnepnrachaaehngprachykhnediywcapkkhrxngprachachnxyangyutithrrm okhrngsrangthangsngkhmkehmuxnkbthrrmchatithiphraecapkkhrxng khninsngkhmcathahnathiiddithisud thasmkhmmiexkphaphodymiphunaephiyngkhnediywkdsngkhm 4 prakarxikhwns suksapccyhlayprakarthimixiththiphlkahndexkphaphkhxngsngkhmaelathaihekidkarphthnakarkhxngmnusy phraecaaelathrrmchatimikhwamsakhyepnswnhnungkhxngsngkhm singehlanirwmtwkndwykd 4 prakarkhux kdckrwal Eternal Law hmaythung kdkhxngphraecathikhwbkhumckrwal kdthrrmchati Natural Law hmaythung kdkhxngsingmichiwit epnswnhnungkhxngphraepneca kdsngkhmmnusy Human Law epnkdkhxngsatharnchn epnkhbwnkarsthabnsngkhm kdphraeca Divine Law epnkdthikahndaerngcungicphayinkhxngmnusy kdthngsimikhwamsmphnthknehmuxnkbxwywaswntang khxngrangkay karkrathakhxngmnusycathukkhwbkhumcakcithrux aelawiyyanhruxkhwamsanukthangsilthrrm txngmikartrwcsxbkhwamehnaektwkhxngmnusy aelakartxtankhxngmnusyinsngkhm prakarsudthayphuthimihnathitratwbthkdhmaytxngprayuktkdhmaythukchnidihsmachikinsngkhmthukkhnidrbpraoychnsungsud miphusrupkhwamkhidkhxngxkhwinasiwwainhnngsux Summa Theologica thiekhiynrawpi ph s 1739 phudthunglththikdthrrmchatikhxngnkprchyaklumlththisotxik thuxhlkthrrmephuxkacdtnha naipphsmkbkarsxnin sasnakhristwadwykdkhxngphraeca rwmthngrbaenwkhwamkhidkhxngxarisotetilekiywkbbrrthdthanhruxkdkhxngmnusy aelacudkaenidkhxnghlkkdhmayormndwy thaihmnusymikhwamsamarthaelamistipyyaxyangsungsud prakarsudthaykkhux thaihekidrabblththirththrrmnuy xikhwnsepnnkprachythimikhwamsakhymakthisudkhnhnung phyayamprasanhlkehtuphlthimixyuinthrrmchatiekhakbkhwamsrththainphraphuepneca odyaesdngxxkmainrupkhxngxanacehnuxthrrmchatithiaethcring prchyaepnphlitphlkhxngethwwithyaaelaehtuphlepnrakthankhxngkhwamsrththainphraphuepneca emuxethiybknyukhinprawtisastrithy thanmichiwitxyurahwangkxnsmysuokhthyelknxy aelaesiychiwitinsmyphxkhunsrixinthrathity emuxxayuidephiyng 49 pixangxingrachbnthitysthan phcnanukrmsphthsasnasakl xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 3 rachbnthitysthan 2552 hna 210 584