ชลมหัล (ฮินดี: जल महल, อังกฤษ: Jal Mahal) พระราชวังกลางน้ำซึ่งตั้งเด่นสง่าอ ยู่กลางทะเลสาบมันสาคร (Man Sagar) ใกล้กับชัยปุระ รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย โดยพระราชวังแห่งนี้และทิวทัศน์ของทะเลสาบโดยรอบถูกต่อเติมและปรับปรุงโดย ตัวพระราชวังนั้นสร้างได้อย่างสวยงามตามสถาปัตยกรรมราชปุตและโมกุล ซึ่งสามารถพบได้ทั่วไปในสิ่งก่อสร้างในรัฐราชสถาน โดยพระราชวังนี้นั้นมีความสวยงามเนื่องจากสถานที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบและโดยมีเทือกเขานหาร์การห์ตั้งอยู่เบื้องหลัง ตัวอาคารสร้างโดยใช้หินทรายสีแดง ประกอบด้วยทั้งหมด 5 ชั้นซึ่ง 4 ชั้นล่างจะถูกน้ำท่วมเมื่อทะเลสาบมีระดับน้ำสูงสุด โดยเหลือเพียงชั้นบนสุดซึ่งจะเผยขึ้นมาเหนือน้ำ ฉัตรีซึ่งเป็นยอดหลังคาทรงสี่เหลี่ยมนั้นสร้างในแบบ ส่วนฉัตรีบริเวณสี่มุมของอาคารนั้นเป็นทรงแปดเหลี่ยม เนื่องจากตั้งอยู่ในน้ำเป็นเวลาอันยาวนานทำให้ฐานของพระราชวังนั้นเริ่มทรุดโทรมลงเนื่องจากกระแสน้ำและน้ำท่วม ทำให้มีการบูรณะเมื่อประมาณ 10-15 ปีที่แล้ว แต่ผลงานที่ได้นั้นมีปัญหาด้านวัตถุดิบที่ใช้ไม่ตรงกับของจริงอิงตามประวัติศาสตร์ค้นคว้าโดยผู้เชี่ยวชาญ โดยล่าสุดได้มีโครงการร่วมฯเพื่อทำการบูรณะครั้งใหญ่ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการดำเนินการโดยรัฐบาลรัฐราชสถาน
ชลมหัล | |
---|---|
जल महल Jal Mahal | |
พระราชวังชัล มหัล กลางทะเลสาบมันสาคร | |
ข้อมูลทั่วไป | |
ประเภท | พระราชวัง |
สถาปัตยกรรม | ผสมระหว่างราชปุตและโมกุล |
เมือง | ชัยปุระ รัฐราชสถาน |
ประเทศ | ประเทศอินเดีย |
พิกัด | 26°57′13″N 75°50′47″E / 26.9537°N 75.8463°E |
เริ่มสร้าง | คริสต์ศตวรรษที่ 16 |
ปรับปรุง | คริสต์ศตวรรษที่ 18 |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
โครงสร้าง | หินทรายสีแดง |
ทะเลสาบมันสาคร
ทะเลสาบมันสาคร (Man Sagar) ตั้งอยู่บริเวณทิศเหนือของชัยปุระ ระหว่างเมืองหลวงเก่าคือ แอมแมร์ กับชัยปุระซึ่งเป็นเมืองหลักของรัฐราชสถานในปัจจุบัน กินพื้นที่กว้างถึง 300 เอเคอร์ (121 เฮกตาร์) และติดกับเทือกเขาอะราวัลลีทางทิศเหนือ ตะวันตก และตะวันออก ในขณะที่ทางทิศใต้นั้นประกอบด้วยที่ราบสูงที่ไม่มีผู้อยู่อาศัย ป้อมนหาร์การห์ซึ่งตั้งตะหง่านอยู่บนเทือกเขาด้านบนนั้นสามารถมองเห็นทิวทัศน์บริเวณทะเลสาบนี้ได้เป็นอย่างดี รวมถึงทิวทัศน์ของชัยปุระอีกด้วย โดยทะเลสาบแห่งนี้เกิดขึ้นโดยการสร้างเขื่อนเพื่อกั้นข้ามแม่น้ำดาร์ภวาตี (Darbhawati) ระหว่างเทือกเขาขิลาการห์ และเขานหาร์การห์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 พื้นที่รับน้ำของทะเลสาบนั้นมีขนาดประมาณ 23.5 ตารางกิโลเมตร (9.1 ตารางไมล์) แบ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยประมาณร้อยละ 50 ที่เหลือเป็นพื้นที่ราบสูงสลับเนินเขาของเทือกเขาอะราวัลลี บริเวณทะเลสาบนี้มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 657.4 มิลลิเมตร (25.88 นิ้ว) ต่อปี (ร้อยละ 90 ของปริมาณน้ำฝนเกิดขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน) บริเวณเขื่อนมีประตูระบายน้ำสำหรับการชลประทานซึ่งเก็บกักน้ำไว้บริเวณอ่างเก็บน้ำ (ซึ่งจำนวนความต้องการใช้น้ำนั้นมีถึง 2,410,000 ลูกบาศก์เมตรในระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม) นอกจากนี้ยังมีกระแสน้ำซึ่งไหลมาจากแม่น้ำพรหมบุตร และนักทะลัย ซึ่งยังมีรายงานถึงน้ำเสียซึ่งไหลมาและยังไม่ได้ถูกบำบัด ซึ่งประกอบด้วยโลหะปนเปื้อนเข้ามายังทะเลสาบด้วย
ในอดีตนั้นทะเลสาบแห่งนี้เคยมีปริมาณน้ำที่น้อยกว่านี้มาก ในปีค.ศ. 1596 ได้มีเกิดขึ้นจึงมีการขาดแคลนน้ำขึ้นในภูมิภาคแถบนี้ ซึ่งมหาราชาแห่งแอมแมร์นั้นก็มิได้ทรงนิ่งนอนพระราชหฤทัย ทรงให้สร้างเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ำสำหรับเมืองแอมแมร์ของพระองค์ โดยเขื่อนนั้นสร้างขึ้นจากดินและหิน ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของหุบเขาบริเวณร้อยต่อระหว่างหุบเขาแอมแมร์และอมาการห์ ซึ่งต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้ถูกปรับปรุงให้เป็นโครงสร้างหินอย่างแข็งแรงจนกระทั่งปัจจุบัน มีขนาดความยาว 300 เมตร (980 ฟุต) และกว้าง 28.5–34.5 เมตร (94–113 ฟุต)โดยมีทางระบายน้ำทั้งหมดสามแห่งสำหรับการชลประทานพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณต้นน้ำ ต่อจากนั้นมา ทะเลสาบ เขื่อน และพระราชวังที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบนี้ก็ได้ผ่านการบูรณะมาหลายครั้งในหลายรัชสมัย โดยครั้งสุดท้ายที่ใหญ่ที่สุดนั้นเกิดขึ้นในรัชสมัยของมหาราชา สะหวาย จัย สิงห์ที่ 2 แห่งแอมแมร์ ซึ่งเป็นสมัยที่มีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์เกิดขึ้นมากที่สุด อาทิเช่น ป้อมแอมแมร์ ป้อมชัยคฤห์ ป้อมนหาร์การห์ ป้อมขิลังการห์ เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันสถานที่เหล่านี้สามารถเดินทางเข้าถึงได้โดยสะดวกโดยทางถนน
ระเบียงภาพ
-
- พระราชวังในระหว่างการบูรณะในปีค.ศ. 2008
- ภายหลังจากการบูรณะเสร็จสิ้นเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008
- ชัล มหัล ในเวลากลางวัน
อ้างอิง
- "Jal Mahal gets a Rs1000 cr facelift". rediff.com. สืบค้นเมื่อ 2009-09-12.
- Brown, Lindsay (2008). Rajasthan, Delhi and Agra. Goitare and Jal Mahal. Lonely Planet. p. 160. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2009-09-13.
{{}}
: ตรวจสอบค่า|isbn=
: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง ((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthor=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อilfs
- "Mansagar Lake". Rainwater Harvesting.org. สืบค้นเมื่อ 2009-08-12.
- "Lake Restoration toward Creating Tourism Infrastructure". Indian Institute of Science: Seminar Proceedings. สืบค้นเมื่อ 2009-09-12.
- Dr. K.N.Joshi. "Impact of Urbanization on Urban Lake Using High Resolution Satellite Data and GIS(A Case Study of Man Sagar Lake of Jaipur, Rajasthan)" (pdf). Jaipur: Institute of Development Studies. สืบค้นเมื่อ 2009-09-19.[]อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Joshi" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - "Tourism deal". Down to Earth: Science and Environment on Line. สืบค้นเมื่อ 2009-09-12.[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chlmhl hindi जल महल xngkvs Jal Mahal phrarachwngklangnasungtngednsngax yuklangthaelsabmnsakhr Man Sagar iklkbchypura rthrachsthan praethsxinediy odyphrarachwngaehngniaelathiwthsnkhxngthaelsabodyrxbthuktxetimaelaprbprungody twphrarachwngnnsrangidxyangswyngamtamsthaptykrrmrachputaelaomkul sungsamarthphbidthwipinsingkxsranginrthrachsthan odyphrarachwngninnmikhwamswyngamenuxngcaksthanthitngxyuklangthaelsabaelaodymiethuxkekhanharkarhtngxyuebuxnghlng twxakharsrangodyichhinthraysiaedng prakxbdwythnghmd 5 chnsung 4 chnlangcathuknathwmemuxthaelsabmiradbnasungsud odyehluxephiyngchnbnsudsungcaephykhunmaehnuxna chtrisungepnyxdhlngkhathrngsiehliymnnsranginaebb swnchtribriewnsimumkhxngxakharnnepnthrngaepdehliym enuxngcaktngxyuinnaepnewlaxnyawnanthaihthankhxngphrarachwngnnerimthrudothrmlngenuxngcakkraaesnaaelanathwm thaihmikarburnaemuxpraman 10 15 pithiaelw aetphlnganthiidnnmipyhadanwtthudibthiichimtrngkbkhxngcringxingtamprawtisastrkhnkhwaodyphuechiywchay odylasudidmiokhrngkarrwmephuxthakarburnakhrngihysungyngxyuinrahwangkardaeninkarodyrthbalrthrachsthanchlmhlजल महल Jal Mahalphrarachwngchl mhl klangthaelsabmnsakhrkhxmulthwippraephthphrarachwngsthaptykrrmphsmrahwangrachputaelaomkulemuxngchypura rthrachsthanpraethspraethsxinediyphikd26 57 13 N 75 50 47 E 26 9537 N 75 8463 E 26 9537 75 8463erimsrangkhriststwrrsthi 16prbprungkhriststwrrsthi 18khxmulthangethkhnikhokhrngsranghinthraysiaedngthaelsabmnsakhrekhuxnmnsakhr thaelsabmnsakhr Man Sagar tngxyubriewnthisehnuxkhxngchypura rahwangemuxnghlwngekakhux aexmaemr kbchypurasungepnemuxnghlkkhxngrthrachsthaninpccubn kinphunthikwangthung 300 exekhxr 121 ehktar aelatidkbethuxkekhaxarawllithangthisehnux tawntk aelatawnxxk inkhnathithangthisitnnprakxbdwythirabsungthiimmiphuxyuxasy pxmnharkarhsungtngtahnganxyubnethuxkekhadanbnnnsamarthmxngehnthiwthsnbriewnthaelsabniidepnxyangdi rwmthungthiwthsnkhxngchypuraxikdwy odythaelsabaehngniekidkhunodykarsrangekhuxnephuxknkhamaemnadarphwati Darbhawati rahwangethuxkekhakhilakarh aelaekhanharkarhinchwngkhriststwrrsthi 16 phunthirbnakhxngthaelsabnnmikhnadpraman 23 5 tarangkiolemtr 9 1 tarangiml aebngepnphunthixyuxasypramanrxyla 50 thiehluxepnphunthirabsungslbeninekhakhxngethuxkekhaxarawlli briewnthaelsabnimiprimannafnechliy 657 4 milliemtr 25 88 niw txpi rxyla 90 khxngprimannafnekidkhunrahwangeduxnmithunaynthungknyayn briewnekhuxnmipraturabaynasahrbkarchlprathansungekbkknaiwbriewnxangekbna sungcanwnkhwamtxngkarichnannmithung 2 410 000 lukbaskemtrinrahwangeduxnphvscikaynthungminakhm nxkcakniyngmikraaesnasungihlmacakaemnaphrhmbutr aelankthaly sungyngmiraynganthungnaesiysungihlmaaelayngimidthukbabd sungprakxbdwyolhapnepuxnekhamayngthaelsabdwy inxditnnthaelsabaehngniekhymiprimannathinxykwanimak inpikh s 1596 idmiekidkhuncungmikarkhadaekhlnnakhuninphumiphakhaethbni sungmharachaaehngaexmaemrnnkmiidthrngningnxnphrarachhvthy thrngihsrangekhuxnephuxekbkknasahrbemuxngaexmaemrkhxngphraxngkh odyekhuxnnnsrangkhuncakdinaelahin tngxyubriewnthistawnxxkkhxnghubekhabriewnrxytxrahwanghubekhaaexmaemraelaxmakarh sungtxmainkhriststwrrsthi 17 idthukprbprungihepnokhrngsranghinxyangaekhngaerngcnkrathngpccubn mikhnadkhwamyaw 300 emtr 980 fut aelakwang 28 5 34 5 emtr 94 113 fut odymithangrabaynathnghmdsamaehngsahrbkarchlprathanphunthiekstrkrrmbriewntnna txcaknnma thaelsab ekhuxn aelaphrarachwngthitngxyuklangthaelsabnikidphankarburnamahlaykhrnginhlayrchsmy odykhrngsudthaythiihythisudnnekidkhuninrchsmykhxngmharacha sahway cy singhthi 2 aehngaexmaemr sungepnsmythimisingkxsrangthangprawtisastrekidkhunmakthisud xathiechn pxmaexmaemr pxmchykhvh pxmnharkarh pxmkhilngkarh epntn sunginpccubnsthanthiehlanisamarthedinthangekhathungidodysadwkodythangthnnraebiyngphaphphrarachwngineduxnphvscikayn kh s 2007 phrarachwnginrahwangkarburnainpikh s 2008 phayhlngcakkarburnaesrcsinemuxeduxnminakhm kh s 2008 chl mhl inewlaklangwnxangxing Jal Mahal gets a Rs1000 cr facelift rediff com subkhnemux 2009 09 12 Brown Lindsay 2008 Rajasthan Delhi and Agra Goitare and Jal Mahal Lonely Planet p 160 ISBN 1 74104 690 4 9781741046908 subkhnemux 2009 09 13 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkha isbn twxksrimthuktxng help imruckpharamietxr coauthor thuklaewn aenana author help xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux ilfs Mansagar Lake Rainwater Harvesting org subkhnemux 2009 08 12 Lake Restoration toward Creating Tourism Infrastructure Indian Institute of Science Seminar Proceedings subkhnemux 2009 09 12 Dr K N Joshi Impact of Urbanization on Urban Lake Using High Resolution Satellite Data and GIS A Case Study of Man Sagar Lake of Jaipur Rajasthan pdf Jaipur Institute of Development Studies subkhnemux 2009 09 19 lingkesiy xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux Joshi hlaykhrngdwyenuxhatangkn Tourism deal Down to Earth Science and Environment on Line subkhnemux 2009 09 12 lingkesiy