คตินิยมสรรผสาน (อังกฤษ: Eclecticism) คือแนวการสร้างสรรค์ที่มิได้ยึดมั่นถือมั่นในปรัชญาใดปรัชญาหนึ่งอย่างแน่วแน่ แต่จะดึงจากทฤษฎี, ลักษณะ หรือ ความคิดต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจในหัวเรื่อง หรือใช้ทฤษฎีต่างๆ ในบางกรณี
บางครั้งรูปงานที่ออกมาก็จะดูขาดความสง่างามหรือขาดความเรียบง่าย และบางครั้งก็ได้รับการวิจารณ์ว่าขาดความสอดคล้องกันทางด้านความคิด แต่กระนั้นคตินิยมสรรผสานก็เป็นปรัชญาที่นิยมใช้กันในการศึกษาสาขาวิชาต่างๆ เช่นนักจิตวิทยายอมรับพฤติกรรมด้านต่างๆ แต่มิได้พยายามใช้ทฤษฎีนี้ในการให้คำอธิบายพฤติกรรมทุกด้านของมนุษย์เป็นต้น
ที่มา
คตินิยมสรรผสานบันทึกเป็นครั้งแรกว่าใช้กันโดยนักปรัชญาโบราณที่ไม่อ้างตนว่ายึดอยู่กับปรัชญาความคิดใดความคิดหนึ่งแต่จะเลือกจากแนวคิดของปรัชญาต่างที่มีอยู่ที่มีเหตุผลและเหมาะกับตนเอง จากแนวความคิดนี้นักปรัชญาก็สร้างระบบปรัชญาของตนเองขึ้นใหม่
คำว่า “Eclecticism” แผลงมาจากภาษากรีกโบราณว่า “eklektikos” ที่แปลว่า เลือกสิ่งที่ดีที่สุด นักปรัชญาผู้มีชื่อเสียงที่รู้จักกันว่าเป็นนักปรัชญาสรรผสานของก็ได้แก่เซโนแห่งซิเทียมผู้ริเริ่มลัทธิสโตอิก, และ และ และ ผู้ริเริ่มที่สาม ในบรรดานักปรัชญาโรมันก็ได้แก่กิแกโรผู้ที่ถือว่าเป็นนักปรัชญาสรรผสานแท้ผู้รวมสำนักศึกษาเพริพาเททิก, สโตอิกและ สถาบันเพลโตใหม่เข้าด้วยกัน นอกจากนั้นก็ยังมี และ แซแนกาผู้ลูก
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2010-01-11.
- Encyclopedia Britannica - in philosophy and theology, the practice of selecting doctrines from different systems of thought without adopting the whole parent system for each doctrine
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะสรรผสาน วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมสรรผสาน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khtiniymsrrphsan xngkvs Eclecticism khuxaenwkarsrangsrrkhthimiidyudmnthuxmninprchyaidprchyahnungxyangaenwaen aetcadungcakthvsdi lksna hrux khwamkhidtang ephuxsrangkhwamekhaicinhweruxng hruxichthvsditang inbangkrniorngxuprakrkarnieyrinkrungparisepntwxyangsingkxsranglksnathiichkhtiniymsrrphsan bangkhrngrupnganthixxkmakcadukhadkhwamsngangamhruxkhadkhwameriybngay aelabangkhrngkidrbkarwicarnwakhadkhwamsxdkhlxngknthangdankhwamkhid aetkrannkhtiniymsrrphsankepnprchyathiniymichkninkarsuksasakhawichatang echnnkcitwithyayxmrbphvtikrrmdantang aetmiidphyayamichthvsdiniinkarihkhaxthibayphvtikrrmthukdankhxngmnusyepntnthimakhtiniymsrrphsanbnthukepnkhrngaerkwaichknodynkprchyaobranthiimxangtnwayudxyukbprchyakhwamkhididkhwamkhidhnungaetcaeluxkcakaenwkhidkhxngprchyatangthimixyuthimiehtuphlaelaehmaakbtnexng cakaenwkhwamkhidninkprchyaksrangrabbprchyakhxngtnexngkhunihm khawa Eclecticism aephlngmacakphasakrikobranwa eklektikos thiaeplwa eluxksingthidithisud nkprchyaphumichuxesiyngthiruckknwaepnnkprchyasrrphsankhxngkidaekesonaehngsiethiymphurierimlththisotxik aela aela aela phurierimthisam inbrrdankprchyaormnkidaekkiaekorphuthithuxwaepnnkprchyasrrphsanaethphurwmsanksuksaephriphaeththik sotxikaela sthabnephlotihmekhadwykn nxkcaknnkyngmi aela aesaenkaphulukxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 07 15 subkhnemux 2010 01 11 Encyclopedia Britannica in philosophy and theology the practice of selecting doctrines from different systems of thought without adopting the whole parent system for each doctrineduephimprasanthsnaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb silpasrrphsan wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb sthaptykrrmsrrphsan bthkhwamkhwamechuxniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk