เมอร์อูเซอร์เร ยาคุบ-ฮาร์ (สามารถสะกดได้อีกว่า ยาคุบเฮอร์ หรือที่รู้จักกันในพระนาม ยาก-บาอัล) เป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณในช่วงศตวรรษที่ 17 หรือ 16 ก่อนคริสตกาล เนื่องจากพระองค์ทรงครองราชย์ในช่วงสมัยระหว่างกลางที่สองที่เกิดศูนย์กลางทางการปกครองมากมาย จึงเป็นเรื่องยากที่จะระบุรัชสมัยของพระองค์ได้อย่างแม่นยำ และยังไม่ทราบราชวงศ์ที่พระองค์ของปกครองอยู่ยังแน่ชัด
เมอร์อูเซอร์เร ยาคุบ-ฮาร์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ยาคุบเฮอร์, ยากุบฮาร์, ยาก-บาอัล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาพวาดตราประทับสคารับของฟาโรห์ยาคุบฮาร์โดย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฟาโรห์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัชกาล | ศตวรรษที่ 17 หรือ 16 ก่อนคริสตกาล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ราชวงศ์ | ราชวงศ์ที่สิบสี่หรือราชวงศ์ที่สิบห้า หรืออาจจะเป็นข้าราชบริพารของผู้ปกครองชาวฮิกซอส ซึ่งมีความไม่แน่ชัดสูง |
ตำแหน่งตามลำดับเวลา
ยังเป็นที่ถกเถียงเกี่ยวราชวงศ์ที่พระองค์ควรจะอยู่ โดยพระองค์ถูกมองว่าเป็นทั้งฟาโรห์จากราชวงศ์ที่สิบสี่, ผู้ปกครองชาวฮิกซอสในช่วงต้นของราชวงศ์ที่สิบห้า หรือข้าราชบริพารของผู้ปกครองฮิกซอส พระองค์ได้รับการยืนยันตัวตนด้วยตราประทับสคารับจำนวนไม่น้อยกว่า 27 ชิ้น โดยสามชิ้นมาจากคานาอัน, สี่ชิ้นจากอียิปต์, หนึ่งชิ้นจากนิวเบีย และอีก 19 ชิ้นที่เหลือไม่ทราบที่มา การกระจายในวงกว้างของตราประทับสคารับเหล่านี้บ่งชี้ถึงความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ คานาอัน และนิวเบียในช่วงสมัยระหว่างกลางที่สอง
ราชวงศ์ที่สิบสี่
ราชวงศ์ที่สิบสี่แห่งอียิปต์เป็นราชวงศ์ที่มีเชื้อสายจากคานาอัน ซึ่งปกครองบริเวณพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำฝั่งตะวันออกก่อนหน้าที่ชาวฮิกซอสจะเข้ามาในดินแดนอียิปต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านไอยคุปต์วิทยาชาวเดนมาร์ก คิม ไรโฮลท์ได้เสนอว่า พระองค์เป็นฟาโรห์ในช่วงปลายราชวงศ์ที่สิบสี่ และเป็นฟาโรห์พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ทราบข้อมูลของพระองค์จากหลักฐานร่วมสมัย โดยไรโฮลท์ชี้ไปที่ตราประทับสคารับของพระองค์ ซึ่งถูกค้นพบระหว่างการขุดค้นในเมือง ในประเทศอิสราเอลปัจจุบัน การคำนวณทางโบราณคดีของตราประทับดังกล่าวมีอายุย้อนไปถึงสมัย MB IIB (ยุคสำริดตอนกลางเมื่อ 1750 ปีก่อนคริสตกาล-1650 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งหมายความว่า พระองค์ทรงมีพระชนม์ชีพมาก่อนหน้าราชวงศ์ที่สิบห้า และเนื่องจากพระนาม "ยาคุบ-ฮาร์" อาจจะมีเกี่ยวข้องกับภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตก ซึ่งแปลว่า "ทรงได้รับการคุ้มครองโดยเทพฮาร์" พระองค์จึงถือว่าทรงเป็นผู้ปกครองจากราชวงศ์ที่สิบสี่ ข้อโต้แย้งของไรโฮลท์มีพื้นฐานอยู่บนข้อสังเกตที่ว่าในขณะที่ผู้ปกครองชาวฮิกซอสในช่วงแรก ๆ ของราชวงศ์ที่สิบห้า เช่น ซาคิร์-ฮาร์ ทรงใช้ตำแหน่ง เฮคา-คาวาเซต แต่ผู้ปกครองชาวฮิกซอสในเวลาต่อมาได้ทรงนำตำแหน่งแบบดั้งเดิมของอียิปต์มาใช้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์คยาน ซึ่งทรงปกครองในตำแหน่ง เฮคา-คาวาเซต ในช่วงต้นรัชสมัยของพระองค์ แต่ต่อมาได้ทรงนำเอาพระนามนำหน้าของอียิปต์มาใช้ คือพระนาม เซอูเซอร์เอนเร ต่อมาฟาโรห์ชาวฮิกซอส เช่น ฟาโรห์อะโพฟิสได้ทรงยกเลิกตำแหน่ง เฮคา-คาวาเซต และใช้พระนามนำหน้าตามธรรมเนียมของอียิปต์ไว้แทน เช่นเดียวกับผู้ปกครองจากราชวงศ์ที่สิบสี่ จากนั้นไรโฮลท์ได้ตั้งข้อสังเกตว่าพระองค์เองก็ใช้พระนามนำหน้าพระนามว่า เมอร์อูเซอร์เร ซึ่งชี้ให้เห็นว่าพระองค์อาจจะทรงปกครองในช่วงปลายราชวงศ์ที่สิบห้า หรืออาจจะทรงเป็นผู้ปกครองจากราชวงศ์ที่สิบสี่ที่มีเชื้อสายชาวเอเชีย เนื่องจากในช่วงปลายราชวงศ์ที่สิบห้านั้นทราบกันดีว่าไม่ปรากฏพระนามของผู้ปกครองที่มีพระนามว่า เมอร์อูเซอร์เร ไรโฮลท์จึงสรุปว่า พระองค์ทรงเป็นผู้ปกครองจากราชวงศ์ที่สิบสี่
ราชวงศ์ที่สิบห้า
ในทางกลับกัน ดาฟนา เบน-ทอร์และซูซาน อัลเลนสังเกตว่าตราประทับสคารับของพระองค์มีลักษณะทางรูปแบบที่แทบจะเหมือนกันกับของผู้ปกครองชาวฮิกซฮสพระนามว่า คยานซึ่งเป็นผู้ปกครองที่ปรากฏหลักฐานยืนยันตัวตนอย่างดี สิ่งนี้ชี้ให้เห็นว่า พระองค์ทรงเป็นผู้สืบทอดพระราชบัลลังก์ของฟาโรห์คยานแห่งราชวงศ์ที่สิบห้า หรือจะทรงเป็นผู้ปกครองของราชวงศ์ท้องถิ่นภายใต้การปกครองของฟาโรห์ชาวฮิกซอส โดยทรงปกครองในบริเวณส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอียิปต์ภายใต้อำนาจของฟาโรห์คยาน ดังที่เบน-ทอร์เขียนไว้ว่า "หลักฐานที่สนับสนุนว่าฟาโรห์ยาคุบ-ฮาร์มาจากราชวงศ์ที่สิบห้า นั้นมาจากรูปแบบที่คล้ายคลึงกันระหว่างตราประทับสคารับของพระองค์กับตราประทับของฟาโรห์คยาน" นอกจากนี้ รูปแบบของสัญลักษณ์ wsr ที่ใช้สำหรับพระนามนำหน้าของผู้ปกครอง "เป็นการพิสูจน์ถึงความใกล้ชิดตามลำดับเวลา (ระหว่างรัชสมัยของฟาโรห์ยาคุบ-ฮาร์และฟาโรห์คยาน) และปฏิเสธข้อสันนิษฐานของไรโฮลท์ที่ระบุว่าพระองค์เป็นผู้ปกครองจากราชวงศ์ที่สิบสี่ และฟาโรห์คยานมาจากราชวงศ์ที่สิบห้า"
การคาดเดาจากภายนอก
ในภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ เสนอว่า พระองค์เป็นบุคคลเดียวกันกับบุคคลนามว่า ยาโคบ โดยข้อสันนิษฐานดังกล่าวมาจากแหวนตราที่พบในเมืองอวาริส เมืองหลวงของชาวฮิกซอส ซึ่งอ่านว่า "ยาคอฟ/ยาคุบ" (จากชื่อ ยาคุบ-เฮอร์) คล้ายกับชื่อภาษาฮีบรูของผู้เฒ่าในพระคัมภีร์ไบเบิล ยาโคบ (ยาคอฟ) ยาโคโบวิซีไม่สนใจต่อความจริงที่ว่า ยาคุบ-ฮาร์ เป็นฟาโรห์จากช่วงสมัยระหว่างกลางที่สองที่ปรากฏหลักฐานยืนยันอย่างดี และยาโคฟและชื่อในรูปต่างๆ เป็นชื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาเซมิติกทั่วไปในสมัยนั้น นอกจากนี้ ยาโคโบวิซีไม่ได้ให้คำอธิบายว่าทำไมโยเซฟถึงมีแหวนตราที่มีชื่อบิดาของเขาคือ ยาโคบ
อ้างอิง
- Iorwerth Eiddon Stephen Edwards, บ.ก. (1970). Cambridge Ancient History. C. J. Gadd, N. G. L. Hammond, E. Sollberger. Cambridge: Cambridge University Press. p. 59. ISBN .
- Darrell D. Baker: The Encyclopedia of the Pharaohs: Volume I - Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300–1069 BC, Stacey International, ISBN , 2008, p. 503-504
- K.S.B. Ryholt: The Political Situation in Egypt during the Second Intermediate Period, c.1800–1550 BC, Carsten Niebuhr Institute Publications, vol. 20. Copenhagen: Museum Tusculanum Press, 1997
- A. Kempinski: Syrien und Palästina (Kanaan) in der letzten Phase der Mittelbronze IIB-Zeit (1650-1570 v. Chr.), Wiesbaden: Harrassowitz, 1983
- K. S. B. Ryholt: The Date of Kings Sheshi and Ya'qub-Har and the Rise of the Fourteenth Dynasty, in: "The Second Intermediate Period: Current Research, Future Prospects", edited by M. Marée, Orientalia Lovaniensia Analecta 192, Leuven, Peeters, 2010, pp. 109–126.
- See Ryholt, The Political Situation [...], pp.99-100
- Daphna Ben-Tor, Sequence and Chronology of Second Intermediate Period Royal-Name Scarabs, based on excavated series from Egypt and the Levant in Marée, Marcel (Hrsg.): The Second Intermediate Period (Thirteenth - Seventeenth Dynasties). Current Research, Future Projects. Leuven-Paris-Walpole 2010, (Orientalia Lovaniensia Analecta 192) pp.96-97
- Ben Tor in Marée, 2010, p.97
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
emxrxuesxrer yakhub har samarthsakdidxikwa yakhubehxr hruxthiruckkninphranam yak baxl epnfaorhaehngxiyiptobraninchwngstwrrsthi 17 hrux 16 kxnkhristkal enuxngcakphraxngkhthrngkhrxngrachyinchwngsmyrahwangklangthisxngthiekidsunyklangthangkarpkkhrxngmakmay cungepneruxngyakthicaraburchsmykhxngphraxngkhidxyangaemnya aelayngimthrabrachwngsthiphraxngkhkhxngpkkhrxngxyuyngaenchdemxrxuesxrer yakhub haryakhubehxr yakubhar yak baxlphaphwadtraprathbskharbkhxngfaorhyakhubharodyfaorhrchkalstwrrsthi 17 hrux 16 kxnkhristkalphraprmaphiithyphranamkhrxngrachysa ra emxrxuesxrer yakhub har S3 Rˁ mrj wsr Rˁ yqbˁ Hr phrarachoxrsaehngra aekhngaekrngkhuxkhwamrkaehngra yakhub harphranamprasutiyakhub har Yˁqp Hr yakhub har Yˁqb Hr yakhub har Yˁpq Hrrachwngsrachwngsthisibsihruxrachwngsthisibha hruxxaccaepnkharachbripharkhxngphupkkhrxngchawhiksxs sungmikhwamimaenchdsungtaaehnngtamladbewlaScarab with the cartouche of Yaqub Har in the British Museum EA 40741 yngepnthithkethiyngekiywrachwngsthiphraxngkhkhwrcaxyu odyphraxngkhthukmxngwaepnthngfaorhcakrachwngsthisibsi phupkkhrxngchawhiksxsinchwngtnkhxngrachwngsthisibha hruxkharachbripharkhxngphupkkhrxnghiksxs phraxngkhidrbkaryunyntwtndwytraprathbskharbcanwnimnxykwa 27 chin odysamchinmacakkhanaxn sichincakxiyipt hnungchincakniwebiy aelaxik 19 chinthiehluximthrabthima karkracayinwngkwangkhxngtraprathbskharbehlanibngchithungkhwamsmphnththangkarkharahwangdindxnsamehliympakaemnainl khanaxn aelaniwebiyinchwngsmyrahwangklangthisxng rachwngsthisibsi rachwngsthisibsiaehngxiyiptepnrachwngsthimiechuxsaycakkhanaxn sungpkkhrxngbriewnphunthidindxnsamehliympakaemnafngtawnxxkkxnhnathichawhiksxscaekhamaindinaednxiyipt phuechiywchaydanixykhuptwithyachawednmark khim irohlthidesnxwa phraxngkhepnfaorhinchwngplayrachwngsthisibsi aelaepnfaorhphraxngkhsudthaykhxngrachwngsthithrabkhxmulkhxngphraxngkhcakhlkthanrwmsmy odyirohlthchiipthitraprathbskharbkhxngphraxngkh sungthukkhnphbrahwangkarkhudkhninemuxng inpraethsxisraexlpccubn karkhanwnthangobrankhdikhxngtraprathbdngklawmixayuyxnipthungsmy MB IIB yukhsaridtxnklangemux 1750 pikxnkhristkal 1650 pikxnkhristkal sunghmaykhwamwa phraxngkhthrngmiphrachnmchiphmakxnhnarachwngsthisibha aelaenuxngcakphranam yakhub har xaccamiekiywkhxngkbphasaklumesmitiktawntk sungaeplwa thrngidrbkarkhumkhrxngodyethphhar phraxngkhcungthuxwathrngepnphupkkhrxngcakrachwngsthisibsi khxotaeyngkhxngirohlthmiphunthanxyubnkhxsngektthiwainkhnathiphupkkhrxngchawhiksxsinchwngaerk khxngrachwngsthisibha echn sakhir har thrngichtaaehnng ehkha khawaest aetphupkkhrxngchawhiksxsinewlatxmaidthrngnataaehnngaebbdngedimkhxngxiyiptmaich karepliynaeplngdngklawekidkhuninchwngrchsmykhxngfaorhkhyan sungthrngpkkhrxngintaaehnng ehkha khawaest inchwngtnrchsmykhxngphraxngkh aettxmaidthrngnaexaphranamnahnakhxngxiyiptmaich khuxphranam esxuesxrexner txmafaorhchawhiksxs echn faorhxaophfisidthrngykeliktaaehnng ehkha khawaest aelaichphranamnahnatamthrrmeniymkhxngxiyiptiwaethn echnediywkbphupkkhrxngcakrachwngsthisibsi caknnirohlthidtngkhxsngektwaphraxngkhexngkichphranamnahnaphranamwa emxrxuesxrer sungchiihehnwaphraxngkhxaccathrngpkkhrxnginchwngplayrachwngsthisibha hruxxaccathrngepnphupkkhrxngcakrachwngsthisibsithimiechuxsaychawexechiy enuxngcakinchwngplayrachwngsthisibhannthrabkndiwaimpraktphranamkhxngphupkkhrxngthimiphranamwa emxrxuesxrer irohlthcungsrupwa phraxngkhthrngepnphupkkhrxngcakrachwngsthisibsi rachwngsthisibha inthangklbkn dafna ebn thxraelasusan xlelnsngektwatraprathbskharbkhxngphraxngkhmilksnathangrupaebbthiaethbcaehmuxnknkbkhxngphupkkhrxngchawhikshsphranamwa khyansungepnphupkkhrxngthiprakthlkthanyunyntwtnxyangdi singnichiihehnwa phraxngkhthrngepnphusubthxdphrarachbllngkkhxngfaorhkhyanaehngrachwngsthisibha hruxcathrngepnphupkkhrxngkhxngrachwngsthxngthinphayitkarpkkhrxngkhxngfaorhchawhiksxs odythrngpkkhrxnginbriewnswnhnungkhxngdindxnsamehliympakaemnaxiyiptphayitxanackhxngfaorhkhyan dngthiebn thxrekhiyniwwa hlkthanthisnbsnunwafaorhyakhub harmacakrachwngsthisibha nnmacakrupaebbthikhlaykhlungknrahwangtraprathbskharbkhxngphraxngkhkbtraprathbkhxngfaorhkhyan nxkcakni rupaebbkhxngsylksn wsr thiichsahrbphranamnahnakhxngphupkkhrxng epnkarphisucnthungkhwamiklchidtamladbewla rahwangrchsmykhxngfaorhyakhub haraelafaorhkhyan aelaptiesthkhxsnnisthankhxngirohlththirabuwaphraxngkhepnphupkkhrxngcakrachwngsthisibsi aelafaorhkhyanmacakrachwngsthisibha karkhadedacakphaynxkinphaphyntr phuxanwykarsrangphaphyntr esnxwa phraxngkhepnbukhkhlediywknkbbukhkhlnamwa yaokhb odykhxsnnisthandngklawmacakaehwntrathiphbinemuxngxwaris emuxnghlwngkhxngchawhiksxs sungxanwa yakhxf yakhub cakchux yakhub ehxr khlaykbchuxphasahibrukhxngphuethainphrakhmphiribebil yaokhb yakhxf yaokhobwisiimsnictxkhwamcringthiwa yakhub har epnfaorhcakchwngsmyrahwangklangthisxngthiprakthlkthanyunynxyangdi aelayaokhfaelachuxinruptang epnchuxthimikhwamekiywkhxngkbklumphasaesmitikthwipinsmynn nxkcakni yaokhobwisiimidihkhaxthibaywathaimoyesfthungmiaehwntrathimichuxbidakhxngekhakhux yaokhbxangxingIorwerth Eiddon Stephen Edwards b k 1970 Cambridge Ancient History C J Gadd N G L Hammond E Sollberger Cambridge Cambridge University Press p 59 ISBN 0 521 08230 7 Darrell D Baker The Encyclopedia of the Pharaohs Volume I Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300 1069 BC Stacey International ISBN 978 1 905299 37 9 2008 p 503 504 K S B Ryholt The Political Situation in Egypt during the Second Intermediate Period c 1800 1550 BC Carsten Niebuhr Institute Publications vol 20 Copenhagen Museum Tusculanum Press 1997 A Kempinski Syrien und Palastina Kanaan in der letzten Phase der Mittelbronze IIB Zeit 1650 1570 v Chr Wiesbaden Harrassowitz 1983 K S B Ryholt The Date of Kings Sheshi and Ya qub Har and the Rise of the Fourteenth Dynasty in The Second Intermediate Period Current Research Future Prospects edited by M Maree Orientalia Lovaniensia Analecta 192 Leuven Peeters 2010 pp 109 126 See Ryholt The Political Situation pp 99 100 Daphna Ben Tor Sequence and Chronology of Second Intermediate Period Royal Name Scarabs based on excavated series from Egypt and the Levant in Maree Marcel Hrsg The Second Intermediate Period Thirteenth Seventeenth Dynasties Current Research Future Projects Leuven Paris Walpole 2010 Orientalia Lovaniensia Analecta 192 pp 96 97 Ben Tor in Maree 2010 p 97