คทางูไขว้ (ละติน: caduceus, kaːˈduː.kews คะดูเซียส; กรีก: κηρύκειον "ไม้เท้าผู้แจ้งข่าว") คือคทาสั้นที่มีงูสองตัวพันกันเป็นเกลียวขึ้นมา บางครั้งก็จะมีปีกอยู่ข้างบนด้วย ผู้ใช้คทางูไขว้คนแรกคือผู้เป็นผู้สื่อสารของ ต่อมาคทานี้เรียกว่า “คทาเฮอร์มีส” (wand of Hermes) ผู้ที่เป็นผู้ถือคทาต่อมาในตำนานเทพหลังจากนั้นเป็นเวลานาน
ในปลาย (classical antiquity) คทางูไขว้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของแทนดาวพุธ และเป็นวัตถุสัญลักษณ์แทนพระเจ้าเฮอร์มีสของกรีก (หรือเมอร์คิวรีของโรมัน)
บางครั้งคทางูไขว้ก็ใช้เป็นสัญลักษณ์ทางการแพทย์ เช่น ในประเทศไทยหรือในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งสัญลักษณ์นี้ใช้สับสนกับสัญลักษณ์การแพทย์สมัยโบราณซึ่งเป็นคทางูเดี่ยว (rod of Asclepius) เท่านั้นที่มีงูเพียงตัวเดียวและไม่มีปีก
อ้างอิง
- Liddell and Scott, Greek-English Lexicon; Stuart L. Tyson, "The Caduceus", The Scientific Monthly, 34.6, (1932:492–98) p. 493
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khthanguikhw latin caduceus kaːˈduː kews khaduesiys krik khrykeion imethaphuaecngkhaw khuxkhthasnthimingusxngtwphnknepnekliywkhunma bangkhrngkcamipikxyukhangbndwy phuichkhthanguikhwkhnaerkkhuxphuepnphusuxsarkhxng txmakhthanieriykwa khthaehxrmis wand of Hermes phuthiepnphuthuxkhthatxmaintananethphhlngcaknnepnewlanankhthanguikhw inplay classical antiquity khthanguikhwichepnsylksnkhxngaethndawphuth aelaepnwtthusylksnaethnphraecaehxrmiskhxngkrik hruxemxrkhiwrikhxngormn bangkhrngkhthanguikhwkichepnsylksnthangkaraephthy echn inpraethsithyhruxinthwipxemrikaehnux bangkhrngsylksnniichsbsnkbsylksnkaraephthysmyobransungepnkhthanguediyw rod of Asclepius ethannthiminguephiyngtwediywaelaimmipikxangxingLiddell and Scott Greek English Lexicon Stuart L Tyson The Caduceus The Scientific Monthly 34 6 1932 492 98 p 493duephimsylksnbthkhwamkarsuxsar aelaothrkhmnakhmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk