การทดลองหนูน้อยอัลเบิร์ต (อังกฤษ: Little Albert experiment) เป็นกรณีศึกษาแสดงหลักฐานเชิงประจักษ์ของการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิมในมนุษย์ การศึกษานี้ยังเป็นตัวอย่างหนึ่งของการวางนัยทั่วไปสิ่งเร้า การทดลองมีขึ้นใน ค.ศ. 1920 โดยผู้ทดลอง จอห์น บี. วอตสัน ร่วมกับโรซาลี เรย์เนอร์ ผู้ช่วย ณ มหาวิทยาลัยจอห์นส์ฮอปกินส์
จอห์น บี. วอตสันรู้สึกสนใจที่จะหาหลักฐานสนับสนุนความคิดของเขาที่ว่า ปฏิกิริยาของเด็ก ไม่ว่าจะได้ยินเสียงดังเมื่อใดก็ตาม ถูกกระตุ้นจากความกลัว ยิ่งไปกว่านั้น เขาให้เหตุผลว่า ความกลัวนี้เป็นสันดานหรือเป็นการตอบสนองโดยไม่มีเงื่อนไข เขารู้สึกว่า ตามหลักการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม เขาสามารถวางเงื่อนไขให้เด็กกลัวสิ่งเร้าอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกันซึ่งโดยปกติแล้วเด็กจะไม่กลัวได้
ระเบียบวิธี
ในขั้นต้น หนูน้อยอัลเบิร์ต ซึ่งเป็นทารกอายุ 9 เดือน ได้รับการทดสอบทางอารมณ์เส้นฐาน (baseline) ก่อน ทารกถูกให้สัมผัสกับกระต่ายขาว หนู สุนัข ลิง หน้ากากทั้งที่มีและไม่มีขน หนังสือพิมพ์ที่ถูกเผา ฯลฯ เป็นช่วงสั้น ๆ และเป็นครั้งแรก ระหว่างเส้นฐาน หนูน้อยอัลเบิร์ตไม่ได้แสดงความกลัวต่อสิ่งเหล่านี้ จากนั้น อัลเบิร์ตถูกนำไปไว้บนโต๊ะกลางห้อง และมีการวางหนูทดลองสีขาวใกล้กับตัวอัลเบิร์ต และอนุญาตให้อัลเบิร์ตเล่นกับมันได้ เมื่อถึงจุดนี้ เด็กไม่แสดงความกลัวต่อหนู
ในการทดลองต่อมา วอตสันและเรย์เนอร์ทำเสียงดังด้านหลังตัวอัลเบิร์ต โดยการตีเหล็กเส้นด้วยค้อนเมื่อทารกสัมผัสกับหนู หนูน้อยอัลเบิร์ตสนองต่อเสียงด้วยการร้องไห้และแสดงความกลัว หลังการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าทั้งสองหลายครั้ง ผู้ทดลองได้นำเฉพาะหนูมาให้อัลเบิร์ต แต่คราวนี้ เด็กรู้สึกเป็นทุกข์ที่หนูปรากฏในห้อง เขาร้องไห้ ปลีกหนีจากหนู และพยายามเคลื่อนที่ออกห่าง ชัดเจนว่า ทารกได้เชื่อมโยงหนูขาว (เดิมเป็นสิ่งเร้าที่เป็นกลาง แต่ขณะนี้เป็นสิ่งเร้าที่ถูกวางเงื่อนไข) กับเสียงดัง (สิ่งเร้าที่ไม่ถูกวางเงื่อนไข) และกำลังสนองความกลัวหรือทางอารมณ์ด้วยการร้องไห้ ซึ่งเดิมเป็นการตอบสนองอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อเสียง แต่ขณะนี้เป็นการตอบสนองที่ถูกวางเงื่อนไขต่อหนู
การทดลองแสดงให้เห็นว่า หนูน้อยอัลเบิร์ตดูเหมือนจะสามัญการการสนองของเขาต่อวัตถุที่มีขนปุย โดยที่เมื่อวอตสันส่งกระต่ายที่ไม่ใช่สีขาวเข้าไปในห้องสิบเจ็ดวันหลังการทดลองครั้งแรก อัลเบิร์ตยังคงรู้สึกเป็นทุกข์ เขาแสดงปฏิกิริยาคล้ายกันเมื่อนำสุนัขที่มีขนปุย เสื้อโค้ตขนแมวน้ำ และแม้แต่เมื่อวอตสันปรากฏตัวตรงหน้าเขาด้วยหน้ากากซานตาคลอสที่มีก้อนฝ้ายสีขาวทำเป็นเครา แม้ว่าอัลเบิร์ตจะมิได้กลัวทุกอย่างที่มีขน
เชิงอรรถ
- Watson & Rayner, 1920, p. 1
อ้างอิง
- Watson, J.B.; Rayner, R. (1920). "Conditioned emotional reactions". Journal of Experimental Psychology. 3 (1): 1–14. doi:10.1037/h0069608.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karthdlxnghnunxyxlebirt xngkvs Little Albert experiment epnkrnisuksaaesdnghlkthanechingprackskhxngkarwangenguxnikhaebbdngediminmnusy karsuksaniyngepntwxyanghnungkhxngkarwangnythwipsingera karthdlxngmikhunin kh s 1920 odyphuthdlxng cxhn bi wxtsn rwmkborsali eryenxr phuchwy n mhawithyalycxhnshxpkins source source source source track The film of the experiment cxhn bi wxtsnrusuksnicthicahahlkthansnbsnunkhwamkhidkhxngekhathiwa ptikiriyakhxngedk imwacaidyinesiyngdngemuxidktam thukkratuncakkhwamklw yingipkwann ekhaihehtuphlwa khwamklwniepnsndanhruxepnkartxbsnxngodyimmienguxnikh ekharusukwa tamhlkkarwangenguxnikhaebbdngedim ekhasamarthwangenguxnikhihedkklwsingeraxunthiimekiywkhxngknsungodypktiaelwedkcaimklwidraebiybwithiinkhntn hnunxyxlebirt sungepntharkxayu 9 eduxn idrbkarthdsxbthangxarmnesnthan baseline kxn tharkthukihsmphskbkrataykhaw hnu sunkh ling hnakakthngthimiaelaimmikhn hnngsuxphimphthithukepha l epnchwngsn aelaepnkhrngaerk rahwangesnthan hnunxyxlebirtimidaesdngkhwamklwtxsingehlani caknn xlebirtthuknaipiwbnotaklanghxng aelamikarwanghnuthdlxngsikhawiklkbtwxlebirt aelaxnuyatihxlebirtelnkbmnid emuxthungcudni edkimaesdngkhwamklwtxhnu inkarthdlxngtxma wxtsnaelaeryenxrthaesiyngdngdanhlngtwxlebirt odykartiehlkesndwykhxnemuxtharksmphskbhnu hnunxyxlebirtsnxngtxesiyngdwykarrxngihaelaaesdngkhwamklw hlngkarcbkhurahwangsingerathngsxnghlaykhrng phuthdlxngidnaechphaahnumaihxlebirt aetkhrawni edkrusukepnthukkhthihnupraktinhxng ekharxngih plikhnicakhnu aelaphyayamekhluxnthixxkhang chdecnwa tharkidechuxmoynghnukhaw edimepnsingerathiepnklang aetkhnaniepnsingerathithukwangenguxnikh kbesiyngdng singerathiimthukwangenguxnikh aelakalngsnxngkhwamklwhruxthangxarmndwykarrxngih sungedimepnkartxbsnxngxyangimmienguxnikhtxesiyng aetkhnaniepnkartxbsnxngthithukwangenguxnikhtxhnu karthdlxngaesdngihehnwa hnunxyxlebirtduehmuxncasamykarkarsnxngkhxngekhatxwtthuthimikhnpuy odythiemuxwxtsnsngkrataythiimichsikhawekhaipinhxngsibecdwnhlngkarthdlxngkhrngaerk xlebirtyngkhngrusukepnthukkh ekhaaesdngptikiriyakhlayknemuxnasunkhthimikhnpuy esuxokhtkhnaemwna aelaaemaetemuxwxtsnprakttwtrnghnaekhadwyhnakaksantakhlxsthimikxnfaysikhawthaepnekhra aemwaxlebirtcamiidklwthukxyangthimikhnechingxrrthWatson amp Rayner 1920 p 1xangxingWatson J B Rayner R 1920 Conditioned emotional reactions Journal of Experimental Psychology 3 1 1 14 doi 10 1037 h0069608