ภาวะธำรงดุล (อังกฤษ: homeostasis) หรือ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต คือของโดยเฉพาะในสิ่งมีชีวิต ที่ทำการควบคุมสภาพภายในตนเองเพื่อรักษาสถานะเสถียรภาพสภาพอย่างคงที่ โดยการปรับหลายอย่างซึ่งมีกลไกการควบคุมที่มีความสัมพันธ์กันมากมาย
แนวคิดนี้ถูกพูดถึงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2408 โดย นักสรีรวิทยาชาวฝรั่งเศส และวอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอน นักสรีรวิทยาชาวอเมริกันเป็นผู้บัญญัติศัพท์คำนี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2469 เป็นศัพท์ที่มาจากภาษากรีก โดย homo แปลว่าความเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน และ stasis ที่แปลว่าความเสถียร
ความหมายทั่วไป
คำจำกัดความนี้มักถูกนำไปใช้ในเชิงชีววิทยา เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์จำเป็นต้องมีสภาพร่างกายที่อยู่ในภาวะธำรงดุล เพื่อที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้ ยังเป็นที่เห็นพ้องกันในนักสิ่งแวดล้อมจำนวนมากว่าหลักการนี้สามารถนำไปใช้กับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้ด้วย เนื่องจากมีระบบจำนวนมาก รวมถึงระบบเชิงนิเวศ เชิงชีวะ และเชิงสังคมที่จำเป็นต้องอยู่ในภาวะธำรงดุล ระบบเหล่านี้จะป้องกันไม่ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงใดๆ เพื่อรักษาสมดุล เนื่องจากเมื่อระบบนั้นๆ ไม่สามารถรักษาสมดุลไว้ได้ มันจะส่งผลให้ระบบนั้นหยุดทำงานในที่สุด (ซึ่งในสิ่งมีชีวิต นั่นก็คือ หยุดมีชีวิต หรือตายนั่นเอง)
ระบบซับซ้อน อย่างเช่นร่ายกายมนุษย์ จะต้องอยู่ในภาวะธำรงดุลเพื่อที่จะรักษาเสถียรภาพและดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ ระบบเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องทนต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกเพื่อที่จะดำรงชีวิตอยู่ แต่ระบบจะต้องปรับตัวเองและพัฒนาสภาพตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
คุณสมบัติของภาวะธำรงดุล
ระบบที่อยู่ในภาวะธำรงดุลจะแสดงคุณสมบัติหลายอย่างดังนี้:
- ระบบจะมี (ultrastable) โดยระบบจะมีความสามารถในการทดสอบความผิดเพี้ยนที่ควรจะต้องถูกปรับแต่ง
- ระบบรวมทั้งหมด (ระบบภายใน, ระบบโครงสร้าง และระบบที่ทำหน้าที่) จะทำหน้าที่ดูแลรักษา
- ไม่สามารถคาดเดาได้ โดยผลลัพธ์ที่คาดจากการกระทำใดๆ มักจะตรงกันข้ามกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
ตัวอย่างหลักของภาวะธำรงดุลในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีดังนี้:
- การควบคุมจำนวนน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย นี้รู้จักกันว่าเป็นการควบคุม (osmoregulation) ซึ่งเกิดขึ้นในไต
- การกำจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการสร้างและสลาย หรือการขับถ่ายนั่นเอง ซึ่งเกิดขึ้นภายในอวัยวะขับถ่ายเช่นไตและปอด
- การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของผิวหนัง
- การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของตับและสารอินสุลินที่ถูกหลั่งออกมาโดยตับอ่อน
สังเกตว่าในขณะที่สิ่งมีชีวิตนั้นแสดงให้เห็นถึงภาวะสมดุลในตัว แต่สถานะทางสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตไม่มีความจำเป็นต้องมีความเสถียร สิ่งที่มีชีวิตหลายชนิดแสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายในรูปแบบของ ในช่วงเวลาที่ร่างกายทำงานมา 20 ถึง 28 ชั่วโมง อุลตราเดียนช่วงเวลาน้อยกว่า 20 ชั่วโมง และอินฟราเดียนในช่วงเวลามากกว่า 28 ชั่วโมง ด้วยเหตุนี้แม้ว่าร่างกายจะอยู่ในภาวะธำรงดุล แต่อุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ และตัวชี้วัดของกระบวนการสร้างและสลายจะไม่อยู่ในระดับคงที่ไปตลอดแต่จะผกผันและคาดเดาไม่ได้อยู่ตลอดเวลา
อ้างอิง
- Cannon, W. B. (1926). "Physiological regulation of normal states: some tentative postulates concerning biological homeostatics". ใน A. Pettit(ed.) (บ.ก.). A Charles Richet : ses amis, ses collègues, ses élèves (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Les Éditions Médicales. p. 91.
{{}}
:|editor=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawatharngdul xngkvs homeostasis hrux karrksadulyphaphkhxngsingmichiwit khuxkhxngodyechphaainsingmichiwit thithakarkhwbkhumsphaphphayintnexngephuxrksasthanaesthiyrphaphsphaphxyangkhngthi odykarprbhlayxyangsungmiklikkarkhwbkhumthimikhwamsmphnthknmakmay aenwkhidnithukphudthungkhrngaerkinpi ph s 2408 ody nksrirwithyachawfrngess aelawxletxr aebrdfxrd aekhnnxn nksrirwithyachawxemriknepnphubyytisphthkhanikhuninpi ph s 2469 epnsphththimacakphasakrik ody homo aeplwakhwamehmuxnhruxkhlaykhlungkn aela stasis thiaeplwakhwamesthiyrkhwamhmaythwipkhacakdkhwamnimkthuknaipichinechingchiwwithya emuxsingmichiwithlayesllcaepntxngmisphaphrangkaythixyuinphawatharngdul ephuxthicadarngchiwittxipid yngepnthiehnphxngkninnksingaewdlxmcanwnmakwahlkkarnisamarthnaipichkbsingaewdlxmxun iddwy enuxngcakmirabbcanwnmak rwmthungrabbechingniews echingchiwa aelaechingsngkhmthicaepntxngxyuinphawatharngdul rabbehlanicapxngknimihekidkhwamepliynaeplngid ephuxrksasmdul enuxngcakemuxrabbnn imsamarthrksasmduliwid mncasngphlihrabbnnhyudthanganinthisud sunginsingmichiwit nnkkhux hyudmichiwit hruxtaynnexng rabbsbsxn xyangechnraykaymnusy catxngxyuinphawatharngdulephuxthicarksaesthiyrphaphaeladarngchiwitxyutxipid rabbehlaniimcaepntxngthntxsingaewdlxmphaynxkephuxthicadarngchiwitxyu aetrabbcatxngprbtwexngaelaphthnasphaphtnexngihekhakbsingaewdlxmnn khunsmbtikhxngphawatharngdul rabbthixyuinphawatharngdulcaaesdngkhunsmbtihlayxyangdngni rabbcami ultrastable odyrabbcamikhwamsamarthinkarthdsxbkhwamphidephiynthikhwrcatxngthukprbaetng rabbrwmthnghmd rabbphayin rabbokhrngsrang aelarabbthithahnathi cathahnathiduaelrksa imsamarthkhadedaid odyphllphththikhadcakkarkrathaid mkcatrngknkhamkbsingthiekidkhuncring twxyanghlkkhxngphawatharngdulinstweliynglukdwynmmidngni karkhwbkhumcanwnnaaelaekluxaerinrangkay niruckknwaepnkarkhwbkhum osmoregulation sungekidkhuninit karkacdkhxngesiythiekidcakkrabwnkarsrangaelaslay hruxkarkhbthaynnexng sungekidkhunphayinxwywakhbthayechnitaelapxd karkhwbkhumxunhphumikhxngrangkay sungepnhnathihlkkhxngphiwhnng karkhwbkhumradbnatalineluxd sungepnhnathihlkkhxngtbaelasarxinsulinthithukhlngxxkmaodytbxxn sngektwainkhnathisingmichiwitnnaesdngihehnthungphawasmdulintw aetsthanathangsrirwithyakhxngsingmichiwitimmikhwamcaepntxngmikhwamesthiyr singthimichiwithlaychnidaesdngihehnkhwamepliynaeplngphayinrangkayinrupaebbkhxng inchwngewlathirangkaythanganma 20 thung 28 chwomng xultraediynchwngewlanxykwa 20 chwomng aelaxinfraediyninchwngewlamakkwa 28 chwomng dwyehtuniaemwarangkaycaxyuinphawatharngdul aetxunhphumikhxngrangkay khwamdnolhit xtrakaretnkhxnghwic aelatwchiwdkhxngkrabwnkarsrangaelaslaycaimxyuinradbkhngthiiptlxdaetcaphkphnaelakhadedaimidxyutlxdewlaxangxingCannon W B 1926 Physiological regulation of normal states some tentative postulates concerning biological homeostatics in A Pettit ed b k A Charles Richet ses amis ses collegues ses eleves phasafrngess Paris Les Editions Medicales p 91 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a editor michuxeriykthwip help bthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk