แคทารีน ฮอตัน เฮปเบิร์น (อังกฤษ: Katharine Houghton Hepburn; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1907 - 29 มิถุนายน ค.ศ. 2003) เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน เธอเป็นที่รู้จักอย่างมากจากนิสัยที่รักอิสระอย่างรุนแรงและมีชีวิตชีวา เฮปเบิร์นเป็นสตรีชั้นนำในฮอลลีวูดมาเป็นเวลากว่า 60 ปี เธอเป็นหนึ่งในนักแสดงหญิงเพียงไม่กี่คน ที่ถูกจัดอันดับว่าเป็น 1 ใน 10 นักแสดงหญิงที่ยอดเยี่ยมที่สุดของโลกตลอดกาล เธอปรากฏตัวในวงการบันเทิงหลากหลายประเภท มีทั้ง (Screwball comedy film) จนถึงภาพยนตร์แนววรรณกรรม และเธอได้รับรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมถึง 4 ครั้ง ซึ่งมีการบันทึกว่าเป็นจำนวนมากกว่านักแสดงใดๆ ในปี ค.ศ. 1999 เฮปเบิร์นได้รับการประกาศชื่อจากสถาบันภาพยนตร์อเมริกันในฐานะ ของภาพยนตร์ฮอลลีวูดยุคคลาสสิก
แคทารีน เฮปเบิร์น | |
---|---|
ภาพถ่ายในสตูดิโอที่เผยแพร่สู่สาธารณะ ราว ค.ศ. 1941 | |
สารนิเทศภูมิหลัง | |
เกิด | 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1907 แคทารีน ฮอตัน เฮปเบิร์น ฮาร์ตเฟิร์ด คอนเนทิคัต สหรัฐอเมริกา |
เสียชีวิต | มิถุนายน 29, 2003 เฟนวิก โอลด์เซย์บรูก รัฐคอนเนกติคัต สหรัฐอเมริกา | (96 ปี)
คู่สมรส | (1928–1934) |
คู่ครอง | สเปนเซอร์ เทรซี (1941–1967) |
อาชีพ | นักแสดง |
ปีที่แสดง | 1928–1994 |
รางวัล | |
ออสการ์ | 1933 Best Actress 1968 Best Actress 1969 Best Actress 1981 Best Actress |
เฮปเบิร์นเติบโตขึ้นในรัฐคอนเนทิคัตและถูกเลี้ยงดูโดยบิดามารดาที่มั่งคั่งและอยู่ในยุค เฮปเบิร์นเริ่มแสดงขณะศึกษาอยู่ที่ หลังจากใช้เวลาสี่ปีแสดงในโรงละคร ได้มีบทวิจารณ์ที่ดีในช่วงที่ทำการแสดงละครบรอดเวย์ได้ทำให้เธอเป็นที่สนใจของฮอลลีวูด ช่วงปีแรกๆของเธอในวงการภาพยนตร์เริ่มต้นด้วยความสำเร็จ โดยเธอได้รางวัลออสการ์จากการแสดงในภาพยนตร์เรื่องที่สามของเธอ คือ เรื่อง (ค.ศ. 1933) แต่ก็ตามมาด้วยความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ซึ่งทำให้เธอถูกตีตราว่าเป็น "" ในปี ค.ศ. 1938 เฮปเบิร์นมีความคิดที่เฉียบแหลมในการทำให้ตัวเธอเองกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้ง โดยการไปซื้อสัญญากับ และทำให้ได้สิทธิในบทประพันธ์ ซึ่งเธอได้ประกาศขายโดยมีเงื่อนไขว่าเธอจะต้องได้เป็นนักแสดงนำในเรื่อง ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1940 เธอได้รับการติดต่อจาก เมโทร-โกลด์วิน-เมเยอร์ ซึ่งทำให้งานการแสดงของเธอเน้นไปที่การเป็นพันธมิตรกับสเปนเซอร์ เทรซี ความเป็นหุ้นส่วนกันนี้เป็นเวลา 25 ปี และผลิตภาพยนตร์ออกมา 9 เรื่อง
เฮปเบิร์นได้สร้างความท้าทายให้ตนเองในช่วงครึ่งหลังของชีวิต โดยเธอมักจะปรากฏตัวเป็นประจำในละครเวทีแนวเชกสเปียร์และสร้างความท้าทายในบทบาทที่หลากหลายในด้านวรรณกรรม เธอพบช่องทางในการแสดงบทบาทเป็นสตรีทึนทึกวัยกลางคน เช่นในภาพยนตร์เรื่อง (ค.ศ. 1951) ได้ทำให้เธอกลายเป็นบุคคลที่สาธารณะอ้าแขนรับ เธอได้รับรางวัลออสการ์อีกสามครั้งในภาพยนตร์ (ค.ศ. 1967), (ค.ศ. 1968) และ (ค.ศ. 1968) ในช่วงทศวรรษ 1970 เธอเริ่มปรากฏตัวในภาพยนตร์โทรทัศน์ ซึ่งจะเป็นจุดสนใจของอาชีพการทำงานในบั้นปลายชีวิตของเธอ เธอยังคงทำงานต่อเนื่องในวัยชรา ซึ่งทำให้เธอปรากฏตัวในจอครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1993 ขณะมีอายุ 87 ปี หลังจากนั้นเธอก็ไม่สามารถทำงานได้อีกและมีปัญหาสุขภาพ เฮปเบิร์นเสียชีวิตในปี ค.ศ. 2003 ด้วยวัย 96 ปี
เฮปเบิร์นเป็นที่รู้จักจากการที่เธอพยายามหลบหลีกจากสังคมสาธารณชนในฮอลลีวูด และปฏิเสธที่จะทำตามภาพความคาดหวังของสังคมที่มีต่อผู้หญิงในยุคนั้น เธอมีบุคลิกที่ตรงไปตรงมา แน่วแน่ ว่องไวและมักจะสวมใส่กางเกงขายาวเสมอก่อนที่มันจะกลายมาเป็นแฟชั่นสำหรับผู้หญิง เธอเคยแต่งงานหนึ่งครั้งขณะเป็นวัยรุ่น แต่หลังจากนั้นเธอก็อยู่อย่างอิสระ เธอมีเรื่องอื้อฉาวจากการมีความสัมพันธ์กับดาราดังอย่าง สเปนเซอร์ เทรซี ซึ่งถูกปิดซ่อนจากสังคมมาเป็นเวลากว่า 26 ปี ด้วยการที่เธอมีวิถีการดำเนินชีวิตที่แปลกใหม่และมีบุคลิกที่เป็นอิสระซึ่งได้นำเธอให้ก้าวเข้ามาสู่จอภาพยนตร์ เฮปเบิร์นจึงถูกเขียนคำจารึกไว้ว่าเป็น "ผู้หญิงยุคใหม่" ในสหรัฐอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 และถูกจดจำในฐานะตัวแสดงทางวัฒนธรรมที่มีความสำคัญ
ช่วงต้นของชีวิตและการศึกษา
เฮปเบิร์นเกิดที่ฮาร์ตเฟิร์ด ในวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1907 เป็นบุตรคนที่สองจากจำนวนบุตรทั้งหมดหกคน บิดาของเธอ คือ โธมัส นอร์วัล เฮปเบิร์น (1879 - 1962) ประจำ ส่วนมารดาของเธอ คือ (1878 - 1951) เป็นนักรณรงค์เรียกร้องสิทธิสตรี ทั้งบิดามารดาต้องต่อสู้กับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในสหรัฐอมริกา โธมัส เฮปเบิร์นได้ร่วมช่วยก่อตั้ง ซึ่งให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในขณะที่แคทารีน ผู้เป็นมารดาดำรงเป็นประธานสมาคมรณรงค์เพื่อสิทธิเลือกตั้งของสตรีรัฐคอนเนทิคัต หลังจากนั้นเธอก็ร่วมรณรงค์ร่วมกับ เมื่อยังเยาว์วัย เฮปเบิร์นได้ร่วมเดินขบวน "Votes For Women" พร้อมกับมารดาหลายครั้ง เด็กๆในครอบครัวเฮปเบิร์นได้ถูกอบรมเลี้ยงดูให้เห็นความสำคัญของเสรีภาพในการพูดและถูกกระตุ้นให้ใช้ความคิดและโต้แย้งในเรื่องที่ปรารถนา บิดามารดาของเธอมักจะถูกวิพากษ์วิจารณ์จากชุมชนเพราะมีมุมมองหัวก้าวหน้า ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้เฮปเบิร์นพยายามต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรคที่ต้องพบเจอ เฮปเบิร์นกล่าวว่าเธอได้รับรู้ว่าในช่วงวัยเด็กเธอเป็นผลผลิตของ "พ่อแม่ที่พิเศษมากทั้งสอง" และได้ให้เครดิตเธอว่าได้รับการเลี้ยงดูอย่าง "โชคดีเป็นอันมาก" โดยเป็นการปูพื้นฐานไปสู่ความสำเร็จในชีวิตของเธอ เธอยังคงใกล้ชิดกับครอบครัวเสมอตลอดชีวิต
เฮปเบิร์นในวัยเยาว์มีลักษณะเป็นทอมบอยซึ่งมักจะเรียกตัวเธอเองว่า จิมมี่ และมักจะตัดผมสั้นเหมือนเด็กผู้ชาย โธมัส เฮปเบิร์นต้องการให้ลูกๆของเขาใช้ความคิดและกำลังกายอย่างเต็มที่ และเขามักจะสอนลูกๆให้ว่ายน้ำ วิ่ง ดำน้ำ การขี่ม้า กีฬามวยปล้ำ และเล่นกอล์ฟกับเทนนิส กีฬากอล์ฟกลายเป็นกีฬาที่แคทารีนชอบมาก เธอเรียนรู้ทุกๆวันและกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญมากคนหนึ่ง โดยสามารถแข่งขันเข้าไปได้ถึงรอบชิงชนะเลิศของการแข่งขันกอล์ฟเยาวชนหญิงคอนเนทิคัต เธอชอบไปว่ายน้ำที่ชะวากทะเล และอาบน้ำเย็นทุกเช้าโดยมีความเชื่อที่ว่าเป็น "ยาขมที่ดีสำหรับตัวคุณ" เฮปเบิร์นเป็นแฟนภาพยนตร์มาตั้งแต่ยังเยาว์ และมักจะไปดูภาพยนตร์ทุกคืนวันเสาร์ เธอมักจะเล่นการแสดงร่วมกับพี่น้องและเพื่อนและแสดงให้เพื่อนบ้านชม เพื่อจะได้นำเงิน 50 เซนต์ที่เป็นค่าตั๋วไปบริจาคให้แก่ชนเผ่านาวาโฮ
ในวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1921 ขณะที่เธอไปเยี่ยมเพื่อนที่ เฮปเบิร์นได้พบศพของ ทอม พี่ชายที่เธอรักมาก ซึ่งเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอย่างเห็นได้ชัด เขาได้ผูกเชือกรอบขื่อและแขวนคอตาย ครอบครัวเฮปเบิร์นพยายามปฏิเสธเรื่องการฆ่าตัวตาย และพยายามเก็บเรื่องการตายของทอมให้เป็นเรื่องการทดลองที่ผิดพลาด เหตุการณ์นี้ได้ทำให้เฮปเบิร์นในวัยรุ่นมีความวิตกกังวล เจ้าอารมณ์และเป็นที่น่าสงสัยต่อคนทั่วไป เธอหลีกหนีจากเด็กคนอื่นๆ เธอออกจากและเริ่มเรียนที่บ้าน เป็นเวลาหลายปีที่เธอใช้วันเกิดของทอม (8 พฤศจิกายน) เป็นวันเกิดของเธอเอง และความเป็นจริงก็ระบุในอัตชีวประวัติของเธอในปี ค.ศ. 1991 คือหนังสือ Me: Stories of My Life ซึ่งเฮปเบิร์นได้เปิดเผยวันเกิดที่แท้จริงของเธอ
ในปี ค.ศ. 1924 เฮปเบิร์นได้เข้าเรียนที่ เธอได้เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาเพื่อให้มารดาพอใจ เนื่องจากมารดาของเธอเคยศึกษาที่นี่ และนั่นเป็นประสบการณ์ที่เธอไม่ชอบใจเลย เป็นครั้งแรกที่เธอได้เข้าเรียนเป็นเวลาหลายปี เธอรู้สึกประหม่าและอึดอัดกับเพื่อนร่วมชั้นของเธอ เธอต้องต่อสู้กับความต้องการทางวิชาการในวิทยาลัยและครั้งหนึ่งเธอถูกสั่งพักการเรียนจากการที่เธอแอบสูบบุหรี่ในห้องของเธอเอง เฮปเบิร์นถูกดึงไปแสดงละคร แต่บทบาทในการเล่นละครของวิทยาลัยจะขึ้นอยู่กับเกรดที่ดี ครั้งหนึ่งเธอทำคะแนนได้ดีขึ้น จึงทำให้เริ่มแสดงละครได้บ่อยขึ้น เธอได้แสดงบทนำในละครเวทีเรื่อง ในช่วงการศึกษาตอนปลาย และเธอได้รับกระแสตอบรับในทางที่ดี ได้เป็นตัวเชื่อมแรงจูงใจของเธอในอาชีพการแสดงละครเวที เธอจบการศึกษาในระดับปริญญาด้านประวัติศาสตร์และปรัชญาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1928
การทำงาน
โด่งดังในละครเวที (ค.ศ. 1928 - 1932)
เฮปเบิร์นออกจากมหาวิทยาลัยโดยมุ่งมั่นที่จะเป็นนักแสดง หลังจากจบการศึกษา เธอเดินทางไปที่บอลทิมอร์เพื่อพบกับ ผู้ประสบความสำเร็จในเขาประทับใจในความทะเยอทะยานของเธอ คน็อปฟ์ให้เธอแสดงในละครที่เขาจัดอยู่ในขณะนั้นคือ เรื่อง The Czarina เธอได้รับคำวิจารณ์ที่ดีในบทเล็กๆของเธอ และการแสดงในเรื่อง Printed Word ได้ถูกบรรยายว่าเป็นที่ "น่าตราตรึง" เธอได้แสดงในอีกสัปดาห์ต่อมา แต่การแสดงครั้งที่สองของเธอได้รับการตอบรับน้อยกว่าเดิม เธอถูกวิจารณ์ในเรื่องเสียงที่แหลมสูงของเธอ และเพราะเหตุนั้นเธอจึงเดินทางออกจากบอลทิมอร์เพื่อเรียนกับผู้ฝึกสอนด้านเสียงในนิวยอร์ก
คน็อปฟ์ตัดสินใจที่จสร้างละครเวทีเรื่อง ในนิวยอร์ก และได้ตั้งเฮปเบิร์นให้ฝึกซ้อมเพื่อเป็นตัวสำรองบทนักแสดงนำ เป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ก่อนทำการแสดง นักแสดงนำถูกไล่ออกและเฮปเบิร์นเข้ามาแทนที่ ซึ่งทำให้เธอได้มีบทบาทในการแสดงเพียงสี่สัปดาห์ในสายงานละครเวที ในคืนเปิดทำการแสดง เธอปรากฏตัวช้าเกินไป พูดบทมั่ว เดินสะดุดเท้าตัวเอง และพูดเร็วเกินกว่าจะจับใจความได้ เธอถูกไล่ออกทันที และผู้หญิงที่เล่นบทนำคนเดิมได้ถูกจ้างใหม่อีกครั้ง ด้วยไม่มีใครสามารถขวางได้ เธอจึงไปเข้าสังกัดของผู้อำนวยการสร้าง คือ และรับบทเป็นนักเรียนหญิงในเรื่อง These Days การเปิดตัวในละครบรอดเวย์ครั้งแรกของเธอเริ่มในวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1928 ที่ แต่คำวิจารณ์ที่ออกมานั้นย่ำแย่และละครต้องยุติลงหลังจากแสดงไปแปดคืน ฮ็อปกินส์รับจ้างเฮปเบิร์นโดยทันทีในฐานะตัวสำรองบทนักแสดงนำในบทละครของ เรื่อง ในช่วงต้นเดือนธันวาคม หลังจากนั้นเพียงสองสัปดาห์ เธอได้ลาออกเพื่อไปแต่งงานกับลัดโลว์ อ็อกเดน สมิธ เพื่อนสนิทเมื่อครั้งศึกษาที่วิทยาลัย เธอวางแผนที่จะทิ้งงานละครเวทีไว้เบื้องหลัง แต่เธอก็เริ่มคิดถึงการทำงานและรีบกลับมาดำเนินการแสดงบทตัวสำรองนักแสดงนำในเรื่อง ฮอลิเดย์ ซึ่งเป็นระยะเวลาหกเดือน
ในปี ค.ศ. 1929 เฮปเบิร์นปฏิเสธบทบาทร่วมกับ โดยไปแสดงบทนำในละคร เธอรู้สึกว่าบทบาทนี้เธอทำได้สมบูรณ์แบบ แต่แล้วเธอก็ถูกไล่ออกอีกครั้ง เธอได้กลับมายังกิลด์อีกครั้ง และรับบทเป็นตัวสำรองเพื่อให้ได้รับเงินค่าจ้างขั้นต่ำในละคร ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1930 เฮปเบิร์นร่วมงานกับบริษัทโรงละครใน เธอใช้เวลาช่วงครึ่งของวันหยุดภาคฤดูร้อนและเริ่มเรียนการแสดงกับครูสอนพิเศษด้านการละคร ช่วงต้น ค.ศ. 1931 เธอได้ไปรับการคัดเลือกนักแสดงในละครบรอดเวย์ Art and Mrs. Bottle เธอถูกปลดจากบทบาทที่ได้รับหลังจากที่คนเขียนบทไม่ชอบเธออย่างมาก โดยกล่าวว่า "เธอดูตื่นตระหนกตกใจ มารยาทของเธอเป็นที่น่ารังเกียจ และเธอไม่มีความสามารถใดๆเลย" แต่ในภายหลังก็ต้องจ้างเธออีกครั้งเนื่องจากไม่มีนักแสดงหญิงคนอื่นคนใดอีก ซึ่งละครบรอดเวย์นี้ประสบความสำเร็จเพียงเล็กน้อย
เฮปเบิร์นปรากฏตัวในละครหลายเรื่องของบริษัทที่ และเริ่มพิสูจน์ให้เห็นว่าเธอเริ่มโด่งดัง ระหว่างฤดูร้อน ค.ศ. 1931 ฟิลิป แบร์รีเสนอให้เธอแสดงในละครเรื่องใหม่ของเขา คือ เรื่อง เดอะแอนิมอลคิงดอม คู่กับ พวกเขาเริ่มฝึกซ้อมในเดือนพฤศจิกายน เฮปเบิร์นรู้สึกแน่ใจว่าบทบาทนี้จะทำให้เธอกลายเป็นดาราดัง แต่ฮาวเวิร์ดกลับไม่ชอบนักแสดงหญิงคนนี้ ซึ่งทำให้เธอถูกไล่ออกอีกครั้ง เมื่อเธอเข้าไปถามแบร์รีว่าทำไมเธอถึงถูกปลดออก เขาตอบว่า "ก็ดี จะได้พูดตรงๆไม่อ้อมค้อม คุณทำได้ไม่ดีอย่างมาก" ความวุ่นวายครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะความมั่นใจในตัวเองเกินไปของเฮปเบิร์น แต่เธอก็ยังคงหางานต่อไป เธอได้รับบทเล็กๆในละคร แต่ในขณะที่การฝึกซ้อมเริ่มขึ้น เธอได้ถูกขอให้ไปอ่านบทมากกว่านี้เพื่อรับบทแสดงนำในนิทานกรีก เรื่อง เดอะวอรริเออร์ฮัสแบนด์
เรื่อง เดอะวอรริเออร์ฮัสแบนด์ ได้พิสูจน์เห็นเห็นถึงความพลุ่งพล่านในการแสดงละครของเฮปเบิร์น ผู้เขียนชีวประวัติ ได้กล่าวว่า บทบาทนี้เป็นอุดมคติสำหรับนักแสดงหญิงที่มีลักษณะพลังที่ก้าวร้าวและกระฉับกระเฉง และเธอมีความกระตือรือร้นอย่างมากในละครเรื่องนี้ ละครเวทีเปิดรอบแสดงในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1932 ที่ในบรอดเวย์ การปรากฏตัวครั้งแรกของเฮปเบิร์น เรียกได้ว่า เธอกระโจนลงมาจากบันไดแคบๆ โดยสวมเสื้อคลุมเหนือไหล่และใส่ทูนิคสั้นสีเงิน ละครเวทีแสดงเป็นเวลาสามเดือน และเฮปเบิร์นได้รับบทวิจารณ์ในแง่บวก ริชาร์ด การ์แลนด์จากหนังสือพิมพ์ ได้เขียนว่า "เป็นเวลาหลายคืนนับตั้งแต่นั้นที่มีความเปล่งแสงโชติช่วงด้วยการแสดงที่ได้ฉายแสงในฉากของบรอดเวย์"
ความสำเร็จในฮอลลีวูด (ค.ศ. 1932 - 1934)
แมวมองของ นายหน้าในฮอลลีวูดได้มาสังเกตเห็นรูปโฉมของเฮปเบิร์น ในละครเวที เดอะวอรริเออร์ฮัสแบนด์ และได้ขอให้เธอลองมาทดสอบในบท ซิดนีย์ แฟร์ฟิลด์ ในภาพยนตร์ของ เรื่อง ผู้กำกับรู้สึกประทับใจในสิ่งที่เขาเห็น เขากล่าวว่า "นี่คือสิ่งแปลกที่พระเจ้าได้สร้างสรรค์ขึ้นมา" เขาจำได้ว่า "เธอไม่เหมือนใครที่ผมเคยได้ยินพบเจอมาก่อน" โดยเฉพาะเขาชื่นชอบอากัปกิริยาที่เธอหยิบแก้วขึ้นมา โดยกล่าวว่า "ผมคิดว่าเธอมีความสามารถมากในการแสดงอากัปกิริยาเช่นนั้น" เฮปเบิร์นเรียกร้องค่าจ้าง 1,500 ดอลลาร์ฯต่อสัปดาห์ สำหรับการรับบทนี้ ซึ่งเป็นค่าจ้างที่สูงมากสำหรับนักแสดงหน้าใหม่ คูกอร์ได้สนับสนุนให้ทางสตูดิโอยินยอมตามข้อเรียกร้องของเธอและพวกเขาก็ได้เซ็นสัญญากับเฮปเบิร์นเป็นการชั่วคราวรับประกันสามสัปดาห์ ประธานอาร์เคโอ ได้คิดทบทวนใหม่ถึงการที่เขาจะได้ "โอกาสครั้งยิ่งใหญ่" จากการคัดเลือกนักแสดงหญิงผู้แหวกแนวคนนี้
เฮปเบิร์นเดินทางมาถึงแคลิฟอร์เนียในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1932 ขณะมีอายุ 25 ปี เธอแสดงภาพยนตร์ อะบิลออฟดีโวสเมนต์ โดยบทที่ได้รับต้องเป็นคู่ขัดแย้งกับ แต่ก็ไม่มีสัญญาณของความหวดกลัวใดๆเลย แต่เธอก็พยายามปรับตัวให้เข้ากับลักษณะของการแสดงภาพยนตร์ ซึ่งเฮปเบิร์นได้หลงใหลในอุตสาหกรรมภาพยนตร์นี้ตั้งแต่เริ่มต้น ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จและเฮปเบิร์นได้รับคำวิจารณ์ในเชิงบวกจากเดอะนิวยอร์กไทมส์ได้เรียกการแสดงของเธอว่า "ยอดเยี่ยมเป็นพิเศษ...ลักษณะท่าทางของคุณเฮปเบิร์นเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่พบเจอบนหน้าจอภาพยนตร์" บทวิจารณ์ของนิตยสาร ได้ประกาศว่า "ความยอดเยี่ยมที่เกิดขึ้นที่นี่คือความประทับใจที่พุ่งเข้าชนโดยฝีมือของแคทารีย เฮปเบิร์นในภาพยนตร์เรื่องแรกของเธอ เธอมีบางสิ่งบางอย่างที่สำคัญซึ่งทำให้เธอมีลักษณะที่แตกต่างไปจากกลุ่มกาแล็กซีภาพยนตร์" ด้วยกระแสของ อะบิลออฟดีโวสเมนต์ ที่กำลังมาแรง ทำให้ อาร์เคโอ ตัดสินใจเซ็นสัญญาระยะยาวกับเธอ จอร์จ คูกอร์ได้กลายเป็นเพื่อนและผู้ร่วมงานที่ยาวนานตลอดชีวิตของเธอ เขาและเฮปเบิร์นได้ร่วมงานกันในภาพยนตร์ทั้งหมด 10 เรื่อง
ภาพยนตร์เรื่องที่สองของเฮปเบิร์นคือ (ปี 1933) เป็นเรื่องราวของนักบินและความสัมพันธ์ของเธอที่มีต่อชายที่แต่งงานแล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ค่อยประสบความสำเร็จทางการตลาดเท่าไร แต่บทวิจารณ์เฮปเบิร์นนั้นดี เรจินา ครีวี เขียนในหนังสือพิมพ์ว่าแม้ว่ากิริยาท่าทางของเธอจะค่อนข้างเถื่อน แต่"กิริยาเหล่านั้นก็สามารถดึงดูดความสนใจ และทำให้ผู้รับชมต้องหลงใหลเธอ เธอมีบุคลิกชัดเจน เด็ดขาด และบุคลิกภาพด้านบวก" ภาพยนตร์เรื่องที่สามของเฮปเบิร์นเป็นสิ่งยืนยันให้เธอเป็นนักแสดงหลักของฮอลลีวูด ด้วยการแสดงเป็นนักแสดงผู้ทะเยอทะยานชื่อ เอวา เลิฟเลซ บทที่ตั้งใจมอบให้กับ ในเรื่อง ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เธอเคยเห็นบทวางอยู่บนโต๊ะของโปรดิวเซอร์ และเธอเชื่อว่าเธอเกิดมาเพื่อรับบทนี้ เป็นบทที่สร้างมาเพื่อเธอ เฮปเบิร์นเลือกที่จะไม่เข้าร่วมงานประกาศรางวัล และเธอจะไม่เข้าร่วมเลยตลอดอาชีพการทำงานของเธอ แต่ก็รู้สึกตื่นเต้นต่อชัยชนะมาก ความสำเร็จของเธอยังมีต่อในบท โจ ในเรื่อง (ปี 1933) ภาพยนตร์โด่งดังมาก จนกลายเป็นหนึ่งในความสำเร็จของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในช่วงเวลานั้น และเฮปเบิร์นได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส เรื่อง สี่ดรุณี เป็นภาพยนตร์ที่เธอชอบเป็นการส่วนตัวและเธอพึงพอใจกับการแสดงมาก ซึ่งในภายหลังเธอบอกว่า "ฉันท้าได้เลยว่า ใครจะเล่นเป็น [โจ] ได้ดีกว่าที่ฉันเล่น"
ปลายปีค.ศ. 1933 เฮปเบิร์นเป็นนักแสดงภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง แต่เธอต้องการพิสูจน์ตัวเองในบรอดเวย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรดิวเซอร์ละครเวทีที่ประสบความสำเร็จที่สุดในทศวรรษที่ 1920 กำลังผ่านช่วงตกต่ำของอาชีพของเขา เขาขอให้เฮปเบิร์นแสดงในละครเวทีเรื่อง ซึ่งเฮปเบิร์นยินยอมรับงานในอัตราค่าตอบแทนที่ต่ำ ก่อนที่เธอจะลาไปบรอดเวย์ อาร์เคโอเสนอให้เธอเล่นภาพยนตร์เรื่อง (ปี 1934) เฮปเบิร์นแสดงเป็น ทริกเกอร์ ฮิกส์ เด็กสาวที่อาศัยบนภูเขาซึ่งไม่ได้รับการศึกษา แม้ว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ทำได้ดีในบ็อกซ์ออฟฟิศ แต่สปิทไฟเออร์ก็ถูกวิจารณ์ว่าเป็นภาพยนตร์ที่แย่ที่สุดของแคทารีน เฮปเบิร์น และเธอก็ได้รับคำวิจารณ์ที่ไม่ค่อยดีนัก เฮปเบิร์นเก็บรูปถ่ายของตัวเองที่แสดงเป็นฮิกส์ไว้ในห้องนอนตลอดชีวิตเพื่อให้ฉัน "[มี]ความเจียมเนื้อเจียมตน"
มีการฉายตัวอย่างการแสดงละครเวทีเรื่องเดอะเลคในวอชิงตัน ดี.ซี. ทำให้มีการซื้อตั๋วล่วงหน้าจำนวนมาก ทิศทางการทำงานที่ย่ำแย่ของแฮร์ริสได้ทำลายความเชื่อมั่นของเฮปเบิร์นและเธอก็ประสบความลำบากในการแสดง ด้วยเหตุนี้แฮร์ริสจึงย้ายการแสดงไปยังนิวยอร์กโดยไม่มีการซ้อมล่วงหน้า ละครเวทีจัดแสดงที่ ในวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1933 และเฮปเบิร์นก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในทันที ได้เหน็บแนมว่า "เฮปเบิร์นใช้แต่ช่วงโทนเสียงอารมณ์ตั้งแต่เอถึงบีตลอดทั้งเรื่อง" ด้วยต้องผูกติดกับสัญญาทั้งหมด 10 สัปดาห์ เฮปเบิร์นต้องทนลำบากใจที่ยอดขายบ็อกซ์ออฟฟิศลดลงอย่างรวดเร็ว แฮร์ริสจึงตัดสินใจจัดแสดงที่ชิคาโก และพูดกับเฮปเบิร์นว่า "ที่รัก ความสนใจหนึ่งเดียวที่ผมมีต่อคุณคือเงินที่ผมได้จากคุณ" เฮปเบิร์นไม่อยากแสดงในละครเวทีที่ล้มเหลวของแฮร์ริสอีกต่อไป เธอจึงจ่ายเงินให้แฮร์ริสถึง 14,000 ดอลลาร์ ซึ่งมาจากเงินเก็บชั่วชีวิตของเธอ เพื่อหยุดยั้งการจัดแสดงนี้แทน ในภายหลังเธอกล่าวถึงแฮร์ริสว่า "ตัดสินให้เป็นคนที่โหดร้ายที่สุดที่ฉันเคยพบเจอมาในชีวิต" และเธออ้างว่าประสบการณ์ครั้งนี้เป็นสิ่งสำคัญที่สอนให้เธอมีความรับผิดชอบในอาชีพของเธอ
ความล้มเหลวในอาชีพ (ค.ศ.1934-1938)
หลังจากล้มเหลวใน สปิทไฟเออร์ และเดอะเลค อาร์เคโอได้เลือกให้เฮปเบิร์นแสดงในเรื่อง ตามนวนิยายสมัยวิกตอเรียนของ โดยพยายามให้สำเร็จเหมือนภาพยนตร์เรื่อง "สี่ดรุณี" แต่มันก็ไม่เกิดขึ้นและกลายเป็นความล้มเหลวเชิงการค้า ภาพยนตร์ดราม่าโรแมนติกเรื่อง ในปี 1935 ซึ่งแสดงคู่กับได้รับการตอบรับที่ไม่ดีและสูญเสียรายได้ หลังจากแสดงภาพยนตร์ที่ไม่น่าจดจำสามเรื่อง เฮปเบิร์นก็ประสบความสำเร็จอีกครั้งในเรื่อง (ปี 1935) เป็นเรื่องราวความสิ้นหวังของหญิงสาวในการไต่เต้าชนชั้นทางสังคม เฮปเบิร์นชื่นชอบนิยายเล่มนี้และรู้สึกตื่นเต้นที่ได้รับการเสนอบทนี้ ภาพยนตร์โด่งดังมาก และเป็นหนึ่งในภาพยนตร์เรื่องโปรดของเฮปเบิร์น และเรื่องนี้ทำให้เธอได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมเป็นครั้งที่สอง และได้รับคะแนนโหวตเป็นลำดับสอง แต่ผู้ชนะคือ เบตตี เดวิส
ด้วยความโดดเด่นนี้ เฮปเบิร์นตัดสินใจแสดงภาพยนตร์เรื่องใหม่ของจอร์จ คูกอร์ ในเรื่อง (ปี 1935) ซึ่งเธอแสดงคู่กับแครี แกรนต์เป็นครั้งแรก เธอตัดผมสั้นเพราะตัวละครของเธฮนั้นปลอมตัวเป็นเด็กผู้ชายเกือบทั้งเรื่อง นักวิจารณ์นั้นไม่ชอบซิลเวีย สการ์เล็ตและไม่เป็นที่นิยมต่อสาธารณชน ภาพยนตร์ต่อไปเธอแสดงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ หรือ แมรี สจวต ในภาพยนตร์เรื่อง ของจอห์น ฟอร์ด (ปี 1936) ซึ่งได้รับการตอบรับกระแสไม่ค่อยดีเช่นกัน ตามมาด้วยเรื่อง (ปี 1936) ภาพยนตร์ดราม่ายุควิกตอเรียนที่ซึ่งเฮปเบิร์นรับบทที่ท้าทายจากการมีลูกนอกสมรส เรื่อง (ปี 1937) ละครย้อนยุคเช่นกันแต่คราวนี้มีภาพยนตร์ตลก ภาพบนตร์แต่ละเรื่องไม่ได้รับความนิยมจากสาธารณชนเลย ซึ่งหมายความว่าเธอไม่ประสบความสำเร็จในภาพยนตร์สี่เรื่องติดต่อกัน
นอกเหนือจากภาพยนตร์ที่ล้มเหลวแล้ว ปัญหาอีกประการคือ กิริยาท่าทางของเธอ เธอมักมีปัญหากับสื่อมวลชนซึ่งมองว่าเธอหยาบคายและยั่วยุ เมื่อสื่อถามว่าเธอมีลูกหรือไม่ เธอตอบกลับไปว่า "ใช่ฉันมีลูกห้าคน ผิวขาวสองคน ผิวสีสามคน" เธอไม่ให้สัมภาษณ์และปฏิเสธที่จะให้ลายเซ็น ทำให้ได้รับสมญาว่า "แคทารีนจอมหยิ่งยโส" สื่องงงันกับพฤติกรรมแบบเด็กๆของเธอ และการเลือกแฟชั่นของเธอ และนั่นทำให้เธอเป็นบุคคลที่ไม่ได้รับความนิยมอย่างมาก เฮปเบิร์นรู้สึกว่าเธอต้องออกไปจากฮอลลีวูด ดังนั้นเธอเดินทางกลับไปยังตะวันออกและเล่นละครเวทีตามบทประพันธ์ของ ซึ่งประสบความสำเร็จ แต่ด้วยบทที่ไม่แน่นอน และความไม่เต็มใจเสี่ยงต่อความล้มเหลวเพราะกลัวจะซ้ำรอยเรื่องเดอะเลค เฮปเบิร์นจึงตัดสินใจไม่รับงานแสดงบรอดเวย์ จนถุงปลายปีค.ศ. 1936 เฮปเบิร์นต้องการเล่นบทในเรื่องวิมานลอย เดวิด โอ.เซลสนิก ผู้ผลิตปฏิเสธที่จะให้บทเธอเพราะมองว่าเธอไม่มีแรงดึงดูดทางเพศ เขาบอกเฮปเบิร์นว่า "ผมไม่เห็นเลยว่าจะสามารถไล่ตามคุณได้ถึง 12 ปี"
ภาพยนตร์เรื่องถัดไปของเฮปเบิร์นคือ (1937) โดยแสดงคู่กับจิงเจอร์ รอเจอส์ ในบทบาทที่สะท้อนชีวิตของเธอเอง ซึ่งเป็นสาวสังคมที่ร่ำรวยพยายามที่จะเป็นนักแสดง เฮปเบิร์นได้รับคำชมในช่วงต้นทำให้เธอมีรายได้ที่สูงกว่ารอเจอส์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รรับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม แต่ก็ไม่ได้โด่งดังในบ็อกซ์ออพฟิศตามที่อาร์เคโอหวังไว้ ผู้เชี่ยวชาญในวงการกล่าวหาว่าเป็นเพราะเฮปเบิร์นทำให้ได้ผลกำไรน้อย แต่บริษัทภาพยนตร์ก็พยายามมุ่งมั่นที่จะฟื้นความนิยมของเธอ เธอแสดงในภาพยนตร์ของเรื่อง (1938) เธอต้องรับบททายาทวัยสาวผู้เหลาะแหละของตระกูล ซึ่งทำเสือดาวหายไประหว่างที่กำลังเกี้ยวพานนักบรรพชีวินวิทยา (แครี แกรนต์) เธอเข้าถึงความตลกขบขันของบทด้วยความมั่นใจ และได้รับการฝึกฝนด้านตลกจากดาราร่วมคือ บริงกิงอัพเบบี้ได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จในบ็อกซ์ออพฟิศ ด้วยแนวภาพยนตร์ประเภทนี้รวมถึงแกรนต์ทำให้ภาพยนตร์โด่งดังมากในขณะนั้น แต่ นักเขียนชีวประวัติมองว่า ความล้มเหลวนั้นเกิดจากผู้ชมภาพยนตร์ปฏิเสธเฮปเบิร์น
หลังจากภาพยนตร์ บริงกิงอัพเบบี้ ออกฉาย สมาคมเจ้าของโรงภาพยนตร์อิสระแห่งอเมริกาได้รวมชื่อของเฮปเบิร์นเข้ากับรายชื่อ "" ชื่อเสียงของเธออยู่ในระดับต่ำ อาร์เคโอได้เสนอภาพยนตร์ต่อไปให้คือเรื่อง และมีแนวโน้มว่าไม่ดี เฮปเบิร์นปฏิเสธ และเธอเลือกที่จะซื้อหนังสือสัญญาคืนเป็นเงิน 75,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ นักแสดงหลายคนในขณะนั้นกลัวที่จะต้องละทิ้งจากความมั่นคงในระบบบริษัทภาพยนตร์ แต่ด้วยเฮปเบิร์นมีทุนทรัพย์ส่วนตัวที่มั่งคั่งทำให้เธอสามารถเป็นอิสระได้ เธอเซ็นต์สัญญาเล่นภาพยนตร์เรื่อง ของโคลัมเบียพิคเจอร์ส และเธอได้เล่นประกบคู่แกรนต์เป็นครั้งที่สาม เธอเล่นเป็นสาวสังคมหัวดื้อที่เล่นสนุกกับคู่หมั้นของน้องสาว ภาพยนตร์ตลกเรื่องนี้ได้รับการวิจารณ์เชิงบวก แต่ก็ไม่สามารถดึงดูดผู้ชมได้มากนัก และบทต่อมาเสนอให้เฮปเบิร์นพร้อมเงินเดือน 10,000 ดอลลาร์ฯ ซึ่งน้อยกว่าที่เธอได้รับเมื่อแรกเข้าวงการ แอนดรูว์ บริทตัน เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงของโชคชะตาเฮปเบิร์นว่า "ไม่มีดาราคนไหนทะยานโด่งดังอย่างรวดเร็วหรือได้รับเสียงชื่นชมอย่างมากที่สุด และไม่มีดาราคนไหนร่วงหล่นจากความนิยมอย่างรวดเร็วเช่นกันมาเป็นเวลานานแล้ว"
ฟื้นคืนชีพ (ค.ศ.1939-1942)
หลังจากล้มเหลวในอาชีพ เฮปเบิร์นพยายามกลับคืนสู่ความนิยมอีกครั้ง เธอออกจากฮอลลีวูดเพื่อรับงานแสดงละครเวที และเซ็นต์สัญญาเป็นดาราในบทละครใหม่ของฟิลิป บาร์รี เรื่อง บทได้รับการปรับแต่งเพื่อนักแสดงหญิงที่มีคุณลักษณะเป็นสาวสังคมอย่าง เทรซี ลอร์ด ซึ่งเป็นคนที่มีความผสมผสานทั้งด้านอารมณ์ขัน ความก้าวร้าว ขี้หงุดหงิด และเป็นคนใจอ่อนเป็นหุ้นส่วนของเฮปเบิร์นในเวลานั้น ได้รู้สึกว่าละครเรื่องนี้อาจเป็นตั๋วตีตราให้เธอกลับสู่วงการฮอลลีวูด และเขาได้ซื้อลิขสิทธิ์ให้เธอก่อนที่เธอจะเข้าลองแสดงบนเวทีด้วยซ้ำเดอะฟิลาเดลเฟียสตอรี ตระเวนแสดงครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา ได้รับการวิจารณ์เชิงบวกและเปิดแสดงในนิวยอร์กที่โรงละครชูเบิร์ตในวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1939 ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากทั้งด้านการแสดงและการเงิน ละครเรื่องนี้แสดงถึง 417 ครั้ง จากนั้นก็ออกตระเวนแสดงครั้งที่สองก็ประสบความสำเร็จ
บริษัทภาพยนตร์ใหญ่ๆพยายามเข้าหาเฮปเบิร์น เพื่อนำบทประพันธ์ของบาร์รีมาผลิตเป็นภาพยนตร์ เธอเลือกที่จะขายลิขสิทธิ์ให้เมโทร-โกลด์วิน-เมเยอร์ (เอ็มจีเอ็ม) บริษัทภาพยนตร์เบอร์หนึ่งของฮอลลีวูด ด้วยเงื่อนไขว่าเธอจะต้องได้โด่งดัง จากข้อตกลงทำให้เธอมีสิทธิเลือกผู้ผลิต คือ และเธอเลือกเจมส์ สจวร์ตกับแครี แกรนต์ (ซึ่งเธอหวังว่าจะได้รับความนิยม) เป็นดาราร่วม ก่อนที่จะถ่ายทำ เฮปเบิร์นได้กล่าวอย่างชาญฉลาดว่า "ฉันไม่อยากจะทำตัวเด่นดังอะไรก่อนถ่ายภาพยนตร์ พวกคนดูมันหมั่นไส้ฉัน คิดว่าฉันเป็นพวกหัวสูงผู้ดีตีนแดง พวกเขาอยากจะเห็นฉันล้มหน้าคว่ำ" แต่ในภาพยนตร์ฉากแรกเธอก็โดนแกรนต์ทำหงายท้อง เบิร์กได้สร้างตัวละครเพื่อให้ผู้ชม "หัวเราะเยาะเธอมากพอก่อนที่สุดท้ายพวกเขาจะเห็นใจเธอ" ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่เฮปเบิร์นจะสามารถ "สร้างภาพลักษณ์ของเธอใหม่"
อ้างอิง
- Britton (2003) p. 41.
- Berg (2004), p. 40.
- Chandler (2011) p. 37.
- Higham (2004) p. 2.
- "Katharine Hepburn: Part 2". . October 3, 1973. American Broadcasting Company. จากคำสัมภาษณ์นี้ของเฮปเบิร์น
- Higham (2004) p. 4; Chandler (2011) p. 39; Prideaux (1996) p. 74.
- Hepburn (1991) p. 21.
- "Katharine Hepburn: Part 1". . October 2, 1973. American Broadcasting Company.
- Berg (2004) p. 47.
- Hepburn (1991) p. 30; Kanin (1971) p. 82.
- Chandler (2011) p. 30.
- Hepburn (1991) p. 43; Higham (2004) p. 2.
- Higham (2004) p. 7.
- Higham (2004) p. 3.
- Chandler (2011) p. 34.
- Higham (2004) p. 4.
- Hepburn (1991) p. 44.
- Hepburn (1991) p. 46.
- Chandler (2011) p. 6.
- Higham (2004) p. 5.
- Hepburn (1991) p. 49.
- Chandler (2011) p. 7.
- Kanin (1971) p. 285.
- Hepburn (1991) p. 69.
- Dickens (1990) p. 4.
- Horton and Simmons (2007) p. 119.
- "Cinema: The Hepburn Story". Time. September 1, 1952. สืบค้นเมื่อ August 21, 2011.(ต้องรับบริการ)
- Directed by David Heeley (January 18, 1993). Katharine Hepburn: All About Me. Turner Network Television. Stated by Hepburn in this documentary.
- Higham (2004) p. 8.
- Hepburn (1991) p. 81.
- Higham (2004) p. 9.
- Berg (2004) p. 59; Higham (2004) p. 9.
- Berg (2004) p. 73.
- Hepburn (1991) p. 109; Higham (2004) p. 11.
- Higham (2004) p. 16; Hepburn (1991) p. 112.
- Higham (2004) p. 16.
- Kanin (1971) p. 22.
- Hepburn (1991) p. 118.
- Berg (2004) p. 74.
- Hepburn (1991) p. 120.
- Higham (2004) p. 17.
- Berg (2004) p. 75.
- Dickens (1990) p. 229.
- Hepburn (1991) p. 128.
- Higham (2004) p. 23.
- Higham (2004) p. 21.
- Haver (1980) p. 94.
- Haver (1980) p. 96.
- Prideaux (1996) p. 15.
- Higham (2004) pp. 30–31.
- Berg (2004) p. 82.
- Hall, Mordaunt (October 3, 1932). "A Bill of Divorcement (1932)". The New York Times. สืบค้นเมื่อ August 25, 2011.
- "A Bill of Divorcement". . October 1932. สืบค้นเมื่อ August 25, 2011.
- Higham (2004) p. 39.
- Hepburn (1991) pp. 178, 181.
- Berg (2004) p. 84.
- Higham (2004) p. 44.
- Berg (2004) p. 86.
- Berg (2004) p. 85.
- Berg (2004) p. 88.
- Berg (2004), p. 89; Higham (2004) p. 57.
- Berg (2004) p. 91.
- Berg (2004) p. 92.
- Berg (2004) p. 89.
- Berg (2004) p. 90.
- Higham (2004) p. 60.
- Higham (2004) p. 62.
- Hendrickson (2013) p. 311
- Hepburn (1991) p. 166.
- Berg (2004) p. 93.
- Hepburn (1991) p. 4.
- Berg (2004) p. 105.
- Higham (2004) p. 66.
- Berg (2004) p. 106.
- Higham (2004) p. 68.
- Berg (2004) p. 109.
- Berg (2004) p. 110.
- Berg (2004) pp. 111–112.
- Berg (2004) p. 126.
- Berg (2004) p. 112.
- Horton and Simmons (2007) p. 120.
- McNamara, Mary (July 1, 2003). "It was her defining role: life". Los Angeles Times. จากแหล่งเดิมเมื่อ January 13, 2012. สืบค้นเมื่อ October 2, 2011.
- Kanin (1971) p. 284.
- Kanin (1971) p. 85.
- Berg (2004) p. 111.
- Britton (2003) p. 16.
- Berg (2004) p. 114.
- Chandler (2011) p. 105.
- Haver (1980) pp. 237–238.
- Higham (2004) p. 94.
- Dickstein (2002) pp. 48–50.
- Berg (2004) p. 116.
- Hepburn (1991) p. 238.
- Berg (2004) p. 117.
- Higham (2004) p. 88.
- Higham (2004) p. 90.
- Berg (2004) p. 118.
- Hepburn (1991) p. 201.
- Verlhac (2009) p. 8; Chandler (2011) p. 142.
- Edwards (1985) p. 166.
- Berg (2004) p. 119.
- Britton (2003) p. 13.
- Higham (2004) p. 97.
- Berg (2004) p. 132.
- Berg (2004) p. 136.
- (March 29, 1939). "The Play: Katharine Hepburn Appearing in Philip Barry's 'The Philadelphia Story' for the Theatre Guild". The New York Times. จากแหล่งเดิมเมื่อ March 5, 2016. สืบค้นเมื่อ November 10, 2015.
- Berg (2004) p. 137.
- Curtis (2011) p. 224.
- Dickens (1990) p. 17.
- Berg (2004) p. 139.
- Berg (2004) pp. 139–140.
แหล่งที่มา
- Bacall, Lauren (2005). By Myself and Then Some. London: Headline. ISBN .
- (2004) [2003]. . London: Pocket. ISBN .
- Britton, Andrew (2003) [1984]. Katharine Hepburn: Star as Feminist. New York City, NY: Columbia University Press. ISBN .
- (2011) [2010]. I Know Where I'm Going: Katharine Hepburn, a Personal Biography. Milwaukee, WI: Applause. ISBN .
- (2011). Spencer Tracy: A Biography. London: Hutchinson. ISBN .
- Dickens, Homer (1990) [1971]. The Films of Katharine Hepburn. New York City, NY: Carol Publishing Group. ISBN .
- DiEdwardo, Maryann Pasda (2006). The Legacy of Katharine Hepburn: Fine Art as a Way of Life: A Memoir. Bloomington, IN: AuthorHouse. ISBN .
- (1985). A Remarkable Woman: A Biography of Katharine Hepburn. New York City, NY: William Morrow & Company, Inc. ISBN .
- (1980). David O. Selznick's Hollywood. London: Martin Secker & Warburg Ltd. ISBN .
- Hendrickson, Robert (2013). God Bless America: The Origins of Over 1,500 Patriotic Words and Phrases. New York City, NY: Skyhorse Publishing. ISBN .
- Hepburn, Katharine (1991). Me: Stories of My Life. New York City, NY: Alfred A. Knopf. ISBN .
- (2004) [1975]. Kate: The Life of Katharine Hepburn. New York City, NY: W. W. Norton. ISBN .
- Horton, Ros and Sally Simmons (2007). Women Who Changed the World. London: Quercus Publishing Plc. ISBN .
- (1971). Tracy and Hepburn: An Intimate Memoir. New York City, NY: Viking. ISBN .
- (2007). Kate: The Woman Who Was Hepburn. New York City, NY: Picador. ISBN .
- * Dickstein, Morris (2002). Bringing Up Baby (1938), in The A List: The National Society of Film Critics' 100 Essential Films. Cambridge: Da Capo. ISBN .
- (1996). Knowing Hepburn and Other Curious Experiences. Boston, MA: Faber and Faber. ISBN .
- Verlhac, Pierre-Henri (2009). Katharine Hepburn: A Life in Pictures. San Francisco, CA: Chronicle Books. ISBN .
เว็บไซต์อ้างอิง
- แคทารีน เฮปเบิร์น ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส
- "One Life: Kate, A Centennial Celebration". Online exhibition from the National Portrait Gallery, Smithsonian Institution
- Katharine Hepburn papers, circa 1854–1997 and undated, held by the Billy Rose Theatre Division,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aekhtharin hxtn ehpebirn xngkvs Katharine Houghton Hepburn 12 phvsphakhm kh s 1907 29 mithunayn kh s 2003 epnnkaesdnghyingchawxemrikn ethxepnthiruckxyangmakcaknisythirkxisraxyangrunaerngaelamichiwitchiwa ehpebirnepnstrichnnainhxlliwudmaepnewlakwa 60 pi ethxepnhnunginnkaesdnghyingephiyngimkikhn thithukcdxndbwaepn 1 in 10 nkaesdnghyingthiyxdeyiymthisudkhxngolktlxdkal ethxprakttwinwngkarbnethinghlakhlaypraephth mithng Screwball comedy film cnthungphaphyntraenwwrrnkrrm aelaethxidrbrangwlxxskarinsakhankaesdngnahyingyxdeyiymthung 4 khrng sungmikarbnthukwaepncanwnmakkwankaesdngid inpi kh s 1999 ehpebirnidrbkarprakaschuxcaksthabnphaphyntrxemrikninthana khxngphaphyntrhxlliwudyukhkhlassikaekhtharin ehpebirnphaphthayinstudioxthiephyaephrsusatharna raw kh s 1941sarniethsphumihlngekid12 phvsphakhm kh s 1907 1907 05 12 aekhtharin hxtn ehpebirn hartefird khxnenthikht shrthxemrikaesiychiwitmithunayn 29 2003 2003 06 29 96 pi efnwik oxldesybruk rthkhxnenktikht shrthxemrikakhusmrs 1928 1934 khukhrxngsepnesxr ethrsi 1941 1967 xachiphnkaesdngpithiaesdng1928 1994rangwlxxskar1933 Best Actress 1968 Best Actress 1969 Best Actress 1981 Best Actress ehpebirnetibotkhuninrthkhxnenthikhtaelathukeliyngduodybidamardathimngkhngaelaxyuinyukh ehpebirnerimaesdngkhnasuksaxyuthi hlngcakichewlasipiaesdnginornglakhr idmibthwicarnthidiinchwngthithakaraesdnglakhrbrxdewyidthaihethxepnthisnickhxnghxlliwud chwngpiaerkkhxngethxinwngkarphaphyntrerimtndwykhwamsaerc odyethxidrangwlxxskarcakkaraesdnginphaphyntreruxngthisamkhxngethx khux eruxng kh s 1933 aetktammadwykhwamlmehlwinechingphanichysungthaihethxthuktitrawaepn inpi kh s 1938 ehpebirnmikhwamkhidthiechiybaehlminkarthaihtwethxexngklbmamichuxesiyngxikkhrng odykaripsuxsyyakb aelathaihidsiththiinbthpraphnth sungethxidprakaskhayodymienguxnikhwaethxcatxngidepnnkaesdngnaineruxng inchwngkhristthswrrsthi 1940 ethxidrbkartidtxcak emothr okldwin emeyxr sungthaihngankaraesdngkhxngethxennipthikarepnphnthmitrkbsepnesxr ethrsi khwamepnhunswnknniepnewla 25 pi aelaphlitphaphyntrxxkma 9 eruxng ehpebirnidsrangkhwamthathayihtnexnginchwngkhrunghlngkhxngchiwit odyethxmkcaprakttwepnpracainlakhrewthiaenwechksepiyraelasrangkhwamthathayinbthbaththihlakhlayindanwrrnkrrm ethxphbchxngthanginkaraesdngbthbathepnstrithunthukwyklangkhn echninphaphyntreruxng kh s 1951 idthaihethxklayepnbukhkhlthisatharnaxaaekhnrb ethxidrbrangwlxxskarxiksamkhrnginphaphyntr kh s 1967 kh s 1968 aela kh s 1968 inchwngthswrrs 1970 ethxerimprakttwinphaphyntrothrthsn sungcaepncudsnickhxngxachiphkarthanganinbnplaychiwitkhxngethx ethxyngkhngthangantxenuxnginwychra sungthaihethxprakttwincxkhrngsudthayinpi kh s 1993 khnamixayu 87 pi hlngcaknnethxkimsamarththanganidxikaelamipyhasukhphaph ehpebirnesiychiwitinpi kh s 2003 dwywy 96 pi ehpebirnepnthiruckcakkarthiethxphyayamhlbhlikcaksngkhmsatharnchninhxlliwud aelaptiesththicathatamphaphkhwamkhadhwngkhxngsngkhmthimitxphuhyinginyukhnn ethxmibukhlikthitrngiptrngma aenwaen wxngiwaelamkcaswmiskangekngkhayawesmxkxnthimncaklaymaepnaefchnsahrbphuhying ethxekhyaetngnganhnungkhrngkhnaepnwyrun aethlngcaknnethxkxyuxyangxisra ethxmieruxngxuxchawcakkarmikhwamsmphnthkbdaradngxyang sepnesxr ethrsi sungthukpidsxncaksngkhmmaepnewlakwa 26 pi dwykarthiethxmiwithikardaeninchiwitthiaeplkihmaelamibukhlikthiepnxisrasungidnaethxihkawekhamasucxphaphyntr ehpebirncungthukekhiynkhacarukiwwaepn phuhyingyukhihm inshrthxemrikachwngkhriststwrrsthi 20 aelathukcdcainthanatwaesdngthangwthnthrrmthimikhwamsakhychwngtnkhxngchiwitaelakarsuksaehpebirnekidthihartefird inwnthi 12 phvsphakhm kh s 1907 epnbutrkhnthisxngcakcanwnbutrthnghmdhkkhn bidakhxngethx khux othms nxrwl ehpebirn 1879 1962 praca swnmardakhxngethx khux 1878 1951 epnnkrnrngkheriykrxngsiththistri thngbidamardatxngtxsukbkhwamepliynaeplngthangsngkhminshrthxmrika othms ehpebirnidrwmchwykxtng sungihkhwamruaekprachachnekiywkborkhtidtxthangephssmphnth inkhnathiaekhtharin phuepnmardadarngepnprathansmakhmrnrngkhephuxsiththieluxktngkhxngstrirthkhxnenthikht hlngcaknnethxkrwmrnrngkhrwmkb emuxyngeyawwy ehpebirnidrwmedinkhbwn Votes For Women phrxmkbmardahlaykhrng edkinkhrxbkhrwehpebirnidthukxbrmeliyngduihehnkhwamsakhykhxngesriphaphinkarphudaelathukkratunihichkhwamkhidaelaotaeyngineruxngthiprarthna bidamardakhxngethxmkcathukwiphakswicarncakchumchnephraamimummxnghwkawhna sungepnkarkratunihehpebirnphyayamtxsukbpyhaaelaxupsrrkhthitxngphbecx ehpebirnklawwaethxidrbruwainchwngwyedkethxepnphlphlitkhxng phxaemthiphiessmakthngsxng aelaidihekhrditethxwaidrbkareliyngduxyang ochkhdiepnxnmak odyepnkarpuphunthanipsukhwamsaercinchiwitkhxngethx ethxyngkhngiklchidkbkhrxbkhrwesmxtlxdchiwit phaphthayehpebirninthaeniybhnngsuxrunkhxngwithyaly kh s 1928 inkhnasuksathi sungethxtdsiniceluxkngandankaraesdng ehpebirninwyeyawmilksnaepnthxmbxysungmkcaeriyktwethxexngwa cimmi aelamkcatdphmsnehmuxnedkphuchay othms ehpebirntxngkarihlukkhxngekhaichkhwamkhidaelakalngkayxyangetmthi aelaekhamkcasxnlukihwayna wing dana karkhima kilamwypla aelaelnkxlfkbethnnis kilakxlfklayepnkilathiaekhtharinchxbmak ethxeriynruthukwnaelaklayepnphuechiywchaymakkhnhnung odysamarthaekhngkhnekhaipidthungrxbchingchnaeliskhxngkaraekhngkhnkxlfeyawchnhyingkhxnenthikht ethxchxbipwaynathichawakthael aelaxabnaeynthukechaodymikhwamechuxthiwaepn yakhmthidisahrbtwkhun ehpebirnepnaefnphaphyntrmatngaetyngeyaw aelamkcaipduphaphyntrthukkhunwnesar ethxmkcaelnkaraesdngrwmkbphinxngaelaephuxnaelaaesdngihephuxnbanchm ephuxcaidnaengin 50 esntthiepnkhatwipbricakhihaekchnephanawaoh inwnthi 3 emsayn kh s 1921 khnathiethxipeyiymephuxnthi ehpebirnidphbsphkhxng thxm phichaythiethxrkmak sungesiychiwitcakkarkhatwtayxyangehnidchd ekhaidphukechuxkrxbkhuxaelaaekhwnkhxtay khrxbkhrwehpebirnphyayamptiestheruxngkarkhatwtay aelaphyayamekberuxngkartaykhxngthxmihepneruxngkarthdlxngthiphidphlad ehtukarnniidthaihehpebirninwyrunmikhwamwitkkngwl ecaxarmnaelaepnthinasngsytxkhnthwip ethxhlikhnicakedkkhnxun ethxxxkcakaelaerimeriynthiban epnewlahlaypithiethxichwnekidkhxngthxm 8 phvscikayn epnwnekidkhxngethxexng aelakhwamepncringkrabuinxtchiwprawtikhxngethxinpi kh s 1991 khuxhnngsux Me Stories of My Life sungehpebirnidepidephywnekidthiaethcringkhxngethx inpi kh s 1924 ehpebirnidekhaeriynthi ethxidekhaeriyninsthabnkarsuksaephuxihmardaphxic enuxngcakmardakhxngethxekhysuksathini aelannepnprasbkarnthiethximchxbicely epnkhrngaerkthiethxidekhaeriynepnewlahlaypi ethxrusukprahmaaelaxudxdkbephuxnrwmchnkhxngethx ethxtxngtxsukbkhwamtxngkarthangwichakarinwithyalyaelakhrnghnungethxthuksngphkkareriyncakkarthiethxaexbsubbuhriinhxngkhxngethxexng ehpebirnthukdungipaesdnglakhr aetbthbathinkarelnlakhrkhxngwithyalycakhunxyukbekrdthidi khrnghnungethxthakhaaenniddikhun cungthaiherimaesdnglakhridbxykhun ethxidaesdngbthnainlakhrewthieruxng inchwngkarsuksatxnplay aelaethxidrbkraaestxbrbinthangthidi idepntwechuxmaerngcungickhxngethxinxachiphkaraesdnglakhrewthi ethxcbkarsuksainradbpriyyadanprawtisastraelaprchyaineduxnmithunayn kh s 1928karthanganodngdnginlakhrewthi kh s 1928 1932 ehpebirnxxkcakmhawithyalyodymungmnthicaepnnkaesdng hlngcakcbkarsuksa ethxedinthangipthibxlthimxrephuxphbkb phuprasbkhwamsaercinekhaprathbicinkhwamthaeyxthayankhxngethx khnxpfihethxaesdnginlakhrthiekhacdxyuinkhnannkhux eruxng The Czarina ethxidrbkhawicarnthidiinbthelkkhxngethx aelakaraesdngineruxng Printed Word idthukbrryaywaepnthi natratrung ethxidaesdnginxikspdahtxma aetkaraesdngkhrngthisxngkhxngethxidrbkartxbrbnxykwaedim ethxthukwicarnineruxngesiyngthiaehlmsungkhxngethx aelaephraaehtunnethxcungedinthangxxkcakbxlthimxrephuxeriynkbphufuksxndanesiynginniwyxrk ehpebirninbthbaththidungdudkhwamsniccakhxlliwud inlakhrewthi edxawxrriexxrhsaebnd kh s 1932 khnxpftdsinicthicsranglakhrewthieruxng inniwyxrk aelaidtngehpebirnihfuksxmephuxepntwsarxngbthnkaesdngna epnewlahnungspdahkxnthakaraesdng nkaesdngnathukilxxkaelaehpebirnekhamaaethnthi sungthaihethxidmibthbathinkaraesdngephiyngsispdahinsaynganlakhrewthi inkhunepidthakaraesdng ethxprakttwchaekinip phudbthmw edinsadudethatwexng aelaphuderwekinkwacacbickhwamid ethxthukilxxkthnthi aelaphuhyingthielnbthnakhnedimidthukcangihmxikkhrng dwyimmiikhrsamarthkhwangid ethxcungipekhasngkdkhxngphuxanwykarsrang khux aelarbbthepnnkeriynhyingineruxng These Days karepidtwinlakhrbrxdewykhrngaerkkhxngethxeriminwnthi 12 phvscikayn kh s 1928 thi aetkhawicarnthixxkmannyaaeyaelalakhrtxngyutilnghlngcakaesdngipaepdkhun hxpkinsrbcangehpebirnodythnthiinthanatwsarxngbthnkaesdngnainbthlakhrkhxng eruxng inchwngtneduxnthnwakhm hlngcaknnephiyngsxngspdah ethxidlaxxkephuxipaetngngankbldolw xxkedn smith ephuxnsnithemuxkhrngsuksathiwithyaly ethxwangaephnthicathingnganlakhrewthiiwebuxnghlng aetethxkerimkhidthungkarthanganaelaribklbmadaeninkaraesdngbthtwsarxngnkaesdngnaineruxng hxliedy sungepnrayaewlahkeduxn inpi kh s 1929 ehpebirnptiesthbthbathrwmkb odyipaesdngbthnainlakhr ethxrusukwabthbathniethxthaidsmburnaebb aetaelwethxkthukilxxkxikkhrng ethxidklbmayngkildxikkhrng aelarbbthepntwsarxngephuxihidrbenginkhacangkhntainlakhr invduibimphli kh s 1930 ehpebirnrwmngankbbristhornglakhrin ethxichewlachwngkhrungkhxngwnhyudphakhvdurxnaelaerimeriynkaraesdngkbkhrusxnphiessdankarlakhr chwngtn kh s 1931 ethxidiprbkarkhdeluxknkaesdnginlakhrbrxdewy Art and Mrs Bottle ethxthukpldcakbthbaththiidrbhlngcakthikhnekhiynbthimchxbethxxyangmak odyklawwa ethxdutuntrahnktkic maryathkhxngethxepnthinarngekiyc aelaethximmikhwamsamarthidely aetinphayhlngktxngcangethxxikkhrngenuxngcakimminkaesdnghyingkhnxunkhnidxik sunglakhrbrxdewyniprasbkhwamsaercephiyngelknxy ehpebirnprakttwinlakhrhlayeruxngkhxngbrisththi aelaerimphisucnihehnwaethxerimodngdng rahwangvdurxn kh s 1931 filip aebrriesnxihethxaesdnginlakhreruxngihmkhxngekha khux eruxng edxaaexnimxlkhingdxm khukb phwkekhaerimfuksxmineduxnphvscikayn ehpebirnrusukaenicwabthbathnicathaihethxklayepndaradng aethawewirdklbimchxbnkaesdnghyingkhnni sungthaihethxthukilxxkxikkhrng emuxethxekhaipthamaebrriwathaimethxthungthukpldxxk ekhatxbwa kdi caidphudtrngimxxmkhxm khunthaidimdixyangmak khwamwunwaykhrngniekidkhunephraakhwammnicintwexngekinipkhxngehpebirn aetethxkyngkhnghangantxip ethxidrbbthelkinlakhr aetinkhnathikarfuksxmerimkhun ethxidthukkhxihipxanbthmakkwaniephuxrbbthaesdngnainnithankrik eruxng edxawxrriexxrhsaebnd eruxng edxawxrriexxrhsaebnd idphisucnehnehnthungkhwamphlungphlaninkaraesdnglakhrkhxngehpebirn phuekhiynchiwprawti idklawwa bthbathniepnxudmkhtisahrbnkaesdnghyingthimilksnaphlngthikawrawaelakrachbkraechng aelaethxmikhwamkratuxruxrnxyangmakinlakhreruxngni lakhrewthiepidrxbaesdnginwnthi 11 minakhm kh s 1932 thiinbrxdewy karprakttwkhrngaerkkhxngehpebirn eriykidwa ethxkraocnlngmacakbnidaekhb odyswmesuxkhlumehnuxihlaelaisthunikhsnsiengin lakhrewthiaesdngepnewlasameduxn aelaehpebirnidrbbthwicarninaengbwk richard karaelndcakhnngsuxphimph idekhiynwa epnewlahlaykhunnbtngaetnnthimikhwameplngaesngochtichwngdwykaraesdngthiidchayaesnginchakkhxngbrxdewy khwamsaercinhxlliwud kh s 1932 1934 ehpebirnprakttwkhrngaerkinphaphyntraenwpraolmolk eruxng kh s 1932 inbth sidniy aefrfild odykhukb nkwicarnchunchxbkaraesdngkhxngethxaelathaihethxodngdnginthnthi aemwmxngkhxng nayhnainhxlliwudidmasngektehnrupochmkhxngehpebirn inlakhrewthi edxawxrriexxrhsaebnd aelaidkhxihethxlxngmathdsxbinbth sidniy aefrfild inphaphyntrkhxng eruxng phukakbrusukprathbicinsingthiekhaehn ekhaklawwa nikhuxsingaeplkthiphraecaidsrangsrrkhkhunma ekhacaidwa ethximehmuxnikhrthiphmekhyidyinphbecxmakxn odyechphaaekhachunchxbxakpkiriyathiethxhyibaekwkhunma odyklawwa phmkhidwaethxmikhwamsamarthmakinkaraesdngxakpkiriyaechnnn ehpebirneriykrxngkhacang 1 500 dxllartxspdah sahrbkarrbbthni sungepnkhacangthisungmaksahrbnkaesdnghnaihm khukxridsnbsnunihthangstudioxyinyxmtamkhxeriykrxngkhxngethxaelaphwkekhakidesnsyyakbehpebirnepnkarchwkhrawrbpraknsamspdah prathanxarekhox idkhidthbthwnihmthungkarthiekhacaid oxkaskhrngyingihy cakkarkhdeluxknkaesdnghyingphuaehwkaenwkhnni ehpebirnedinthangmathungaekhlifxreniyineduxnkrkdakhm kh s 1932 khnamixayu 25 pi ethxaesdngphaphyntr xabilxxfdiowsemnt odybththiidrbtxngepnkhukhdaeyngkb aetkimmisyyankhxngkhwamhwdklwidely aetethxkphyayamprbtwihekhakblksnakhxngkaraesdngphaphyntr sungehpebirnidhlngihlinxutsahkrrmphaphyntrnitngaeterimtn phaphyntrprasbkhwamsaercaelaehpebirnidrbkhawicarninechingbwkcakedxaniwyxrkithmsideriykkaraesdngkhxngethxwa yxdeyiymepnphiess lksnathathangkhxngkhunehpebirnepnhnunginsingthidithisudthiphbecxbnhnacxphaphyntr bthwicarnkhxngnitysar idprakaswa khwamyxdeyiymthiekidkhunthinikhuxkhwamprathbicthiphungekhachnodyfimuxkhxngaekhthariy ehpebirninphaphyntreruxngaerkkhxngethx ethxmibangsingbangxyangthisakhysungthaihethxmilksnathiaetktangipcakklumkaaelksiphaphyntr dwykraaeskhxng xabilxxfdiowsemnt thikalngmaaerng thaih xarekhox tdsinicesnsyyarayayawkbethx cxrc khukxridklayepnephuxnaelaphurwmnganthiyawnantlxdchiwitkhxngethx ekhaaelaehpebirnidrwmngankninphaphyntrthnghmd 10 eruxng aesdngepn oc march in pi 1933 xnepnphaphyntrsungepnthiniymmakinkhnann phaphyntreruxngthisxngkhxngehpebirnkhux pi 1933 epneruxngrawkhxngnkbinaelakhwamsmphnthkhxngethxthimitxchaythiaetngnganaelw phaphyntreruxngniimkhxyprasbkhwamsaercthangkartladethair aetbthwicarnehpebirnnndi ercina khriwi ekhiyninhnngsuxphimphwaaemwakiriyathathangkhxngethxcakhxnkhangethuxn aet kiriyaehlannksamarthdungdudkhwamsnic aelathaihphurbchmtxnghlngihlethx ethxmibukhlikchdecn eddkhad aelabukhlikphaphdanbwk phaphyntreruxngthisamkhxngehpebirnepnsingyunynihethxepnnkaesdnghlkkhxnghxlliwud dwykaraesdngepnnkaesdngphuthaeyxthayanchux exwa elifels bththitngicmxbihkb ineruxng sungthaihethxidrbrangwlxxskar sakhankaesdngnahyingyxdeyiym ethxekhyehnbthwangxyubnotakhxngoprdiwesxr aelaethxechuxwaethxekidmaephuxrbbthni epnbththisrangmaephuxethx ehpebirneluxkthicaimekharwmnganprakasrangwl aelaethxcaimekharwmelytlxdxachiphkarthangankhxngethx aetkrusuktunetntxchychnamak khwamsaerckhxngethxyngmitxinbth oc ineruxng pi 1933 phaphyntrodngdngmak cnklayepnhnunginkhwamsaerckhxngxutsahkrrmphaphyntrinchwngewlann aelaehpebirnidrbrangwlnkaesdngnahyingyxdeyiymcakethskalphaphyntrnanachatiewnis eruxng sidruni epnphaphyntrthiethxchxbepnkarswntwaelaethxphungphxickbkaraesdngmak sunginphayhlngethxbxkwa chnthaidelywa ikhrcaelnepn oc iddikwathichneln playpikh s 1933 ehpebirnepnnkaesdngphaphyntrthimichuxesiyng aetethxtxngkarphisucntwexnginbrxdewy sungepnhnunginoprdiwesxrlakhrewthithiprasbkhwamsaercthisudinthswrrsthi 1920 kalngphanchwngtktakhxngxachiphkhxngekha ekhakhxihehpebirnaesdnginlakhrewthieruxng sungehpebirnyinyxmrbnganinxtrakhatxbaethnthita kxnthiethxcalaipbrxdewy xarekhoxesnxihethxelnphaphyntreruxng pi 1934 ehpebirnaesdngepn thrikekxr hiks edksawthixasybnphuekhasungimidrbkarsuksa aemwaphaphyntreruxngnithaiddiinbxksxxffis aetspithifexxrkthukwicarnwaepnphaphyntrthiaeythisudkhxngaekhtharin ehpebirn aelaethxkidrbkhawicarnthiimkhxydink ehpebirnekbrupthaykhxngtwexngthiaesdngepnhiksiwinhxngnxntlxdchiwitephuxihchn mi khwameciymenuxeciymtn mikarchaytwxyangkaraesdnglakhrewthieruxngedxaelkhinwxchingtn di si thaihmikarsuxtwlwnghnacanwnmak thisthangkarthanganthiyaaeykhxngaehrrisidthalaykhwamechuxmnkhxngehpebirnaelaethxkprasbkhwamlabakinkaraesdng dwyehtuniaehrriscungyaykaraesdngipyngniwyxrkodyimmikarsxmlwnghna lakhrewthicdaesdngthi inwnthi 26 thnwakhm kh s 1933 aelaehpebirnkthukwiphakswicarninthnthi idehnbaenmwa ehpebirnichaetchwngothnesiyngxarmntngaetexthungbitlxdthngeruxng dwytxngphuktidkbsyyathnghmd 10 spdah ehpebirntxngthnlabakicthiyxdkhaybxksxxffisldlngxyangrwderw aehrriscungtdsiniccdaesdngthichikhaok aelaphudkbehpebirnwa thirk khwamsnichnungediywthiphmmitxkhunkhuxenginthiphmidcakkhun ehpebirnimxyakaesdnginlakhrewthithilmehlwkhxngaehrrisxiktxip ethxcungcayenginihaehrristhung 14 000 dxllar sungmacakenginekbchwchiwitkhxngethx ephuxhyudyngkarcdaesdngniaethn inphayhlngethxklawthungaehrriswa tdsinihepnkhnthiohdraythisudthichnekhyphbecxmainchiwit aelaethxxangwaprasbkarnkhrngniepnsingsakhythisxnihethxmikhwamrbphidchxbinxachiphkhxngethx khwamlmehlwinxachiph kh s 1934 1938 ineruxng 1936 epnhnunginphaphyntrthiimsaerckhxngehpebirninchwngewlani hlngcaklmehlwin spithifexxr aelaedxaelkh xarekhoxideluxkihehpebirnaesdngineruxng tamnwniyaysmywiktxeriynkhxng odyphyayamihsaercehmuxnphaphyntreruxng sidruni aetmnkimekidkhunaelaklayepnkhwamlmehlwechingkarkha phaphyntrdramaoraemntikeruxng inpi 1935 sungaesdngkhukbidrbkartxbrbthiimdiaelasuyesiyrayid hlngcakaesdngphaphyntrthiimnacdcasameruxng ehpebirnkprasbkhwamsaercxikkhrngineruxng pi 1935 epneruxngrawkhwamsinhwngkhxnghyingsawinkaritetachnchnthangsngkhm ehpebirnchunchxbniyayelmniaelarusuktunetnthiidrbkaresnxbthni phaphyntrodngdngmak aelaepnhnunginphaphyntreruxngoprdkhxngehpebirn aelaeruxngnithaihethxidekhachingrangwlxxskar sakhankaesdngnahyingyxdeyiymepnkhrngthisxng aelaidrbkhaaennohwtepnladbsxng aetphuchnakhux ebtti edwis dwykhwamoddednni ehpebirntdsinicaesdngphaphyntreruxngihmkhxngcxrc khukxr ineruxng pi 1935 sungethxaesdngkhukbaekhri aekrntepnkhrngaerk ethxtdphmsnephraatwlakhrkhxngethhnnplxmtwepnedkphuchayekuxbthngeruxng nkwicarnnnimchxbsilewiy skareltaelaimepnthiniymtxsatharnchn phaphyntrtxipethxaesdngepnsmedcphrarachininathaemrithi 1 aehngskxtaelnd hrux aemri scwt inphaphyntreruxng khxngcxhn fxrd pi 1936 sungidrbkartxbrbkraaesimkhxydiechnkn tammadwyeruxng pi 1936 phaphyntrdramayukhwiktxeriynthisungehpebirnrbbththithathaycakkarmiluknxksmrs eruxng pi 1937 lakhryxnyukhechnknaetkhrawnimiphaphyntrtlk phaphbntraetlaeruxngimidrbkhwamniymcaksatharnchnely sunghmaykhwamwaethximprasbkhwamsaercinphaphyntrsieruxngtidtxkn nxkehnuxcakphaphyntrthilmehlwaelw pyhaxikprakarkhux kiriyathathangkhxngethx ethxmkmipyhakbsuxmwlchnsungmxngwaethxhyabkhayaelaywyu emuxsuxthamwaethxmilukhruxim ethxtxbklbipwa ichchnmilukhakhn phiwkhawsxngkhn phiwsisamkhn ethximihsmphasnaelaptiesththicaihlayesn thaihidrbsmyawa aekhtharincxmhyingyos suxngngngnkbphvtikrrmaebbedkkhxngethx aelakareluxkaefchnkhxngethx aelannthaihethxepnbukhkhlthiimidrbkhwamniymxyangmak ehpebirnrusukwaethxtxngxxkipcakhxlliwud dngnnethxedinthangklbipyngtawnxxkaelaelnlakhrewthitambthpraphnthkhxng sungprasbkhwamsaerc aetdwybththiimaennxn aelakhwamimetmicesiyngtxkhwamlmehlwephraaklwcasarxyeruxngedxaelkh ehpebirncungtdsinicimrbnganaesdngbrxdewy cnthungplaypikh s 1936 ehpebirntxngkarelnbthineruxngwimanlxy edwid ox eslsnik phuphlitptiesththicaihbthethxephraamxngwaethximmiaerngdungdudthangephs ekhabxkehpebirnwa phmimehnelywacasamarthiltamkhunidthung 12 pi ehpebirnelnhnngprakbkhuaekhri aekrnt 4 eruxng cakphaphnikhuxeruxng 1938 sunglmehlwinkarepidtw aettxmaepnthiruckinthanaphaphyntrdngedimkhxngaenw phaphyntreruxngthdipkhxngehpebirnkhux 1937 odyaesdngkhukbcingecxr rxecxs inbthbaththisathxnchiwitkhxngethxexng sungepnsawsngkhmthirarwyphyayamthicaepnnkaesdng ehpebirnidrbkhachminchwngtnthaihethxmirayidthisungkwarxecxs phaphyntreruxngniidrrbkaresnxchuxekhachingrangwlxxskar sakhaphaphyntryxdeyiym aetkimidodngdnginbxksxxphfistamthixarekhoxhwngiw phuechiywchayinwngkarklawhawaepnephraaehpebirnthaihidphlkairnxy aetbristhphaphyntrkphyayammungmnthicafunkhwamniymkhxngethx ethxaesdnginphaphyntrkhxngeruxng 1938 ethxtxngrbbththayathwysawphuehlaaaehlakhxngtrakul sungthaesuxdawhayiprahwangthikalngekiywphannkbrrphchiwinwithya aekhri aekrnt ethxekhathungkhwamtlkkhbkhnkhxngbthdwykhwammnic aelaidrbkarfukfndantlkcakdararwmkhux bringkingxphebbiidrbkarykyxngcaknkwicarnaetkyngimprasbkhwamsaercinbxksxxphfis dwyaenwphaphyntrpraephthnirwmthungaekrntthaihphaphyntrodngdngmakinkhnann aet nkekhiynchiwprawtimxngwa khwamlmehlwnnekidcakphuchmphaphyntrptiesthehpebirn hlngcakphaphyntr bringkingxphebbi xxkchay smakhmecakhxngorngphaphyntrxisraaehngxemrikaidrwmchuxkhxngehpebirnekhakbraychux chuxesiyngkhxngethxxyuinradbta xarekhoxidesnxphaphyntrtxipihkhuxeruxng aelamiaenwonmwaimdi ehpebirnptiesth aelaethxeluxkthicasuxhnngsuxsyyakhunepnengin 75 000 dxllarshrth nkaesdnghlaykhninkhnannklwthicatxnglathingcakkhwammnkhnginrabbbristhphaphyntr aetdwyehpebirnmithunthrphyswntwthimngkhngthaihethxsamarthepnxisraid ethxesntsyyaelnphaphyntreruxng khxngokhlmebiyphikhecxrs aelaethxidelnprakbkhuaekrntepnkhrngthisam ethxelnepnsawsngkhmhwduxthielnsnukkbkhuhmnkhxngnxngsaw phaphyntrtlkeruxngniidrbkarwicarnechingbwk aetkimsamarthdungdudphuchmidmaknk aelabthtxmaesnxihehpebirnphrxmengineduxn 10 000 dxllar sungnxykwathiethxidrbemuxaerkekhawngkar aexndruw brithtn ekhiynthungkarepliynaeplngkhxngochkhchataehpebirnwa immidarakhnihnthayanodngdngxyangrwderwhruxidrbesiyngchunchmxyangmakthisud aelaimmidarakhnihnrwnghlncakkhwamniymxyangrwderwechnknmaepnewlananaelw funkhunchiph kh s 1939 1942 hlngcaklmehlwinxachiph ehpebirnphyayamklbkhunsukhwamniymxikkhrng ethxxxkcakhxlliwudephuxrbnganaesdnglakhrewthi aelaesntsyyaepndarainbthlakhrihmkhxngfilip barri eruxng bthidrbkarprbaetngephuxnkaesdnghyingthimikhunlksnaepnsawsngkhmxyang ethrsi lxrd sungepnkhnthimikhwamphsmphsanthngdanxarmnkhn khwamkawraw khihngudhngid aelaepnkhnicxxnepnhunswnkhxngehpebirninewlann idrusukwalakhreruxngnixacepntwtitraihethxklbsuwngkarhxlliwud aelaekhaidsuxlikhsiththiihethxkxnthiethxcaekhalxngaesdngbnewthidwysaedxafilaedlefiystxri traewnaesdngkhrngaerkinshrthxemrika idrbkarwicarnechingbwkaelaepidaesdnginniwyxrkthiornglakhrchuebirtinwnthi 28 minakhm kh s 1939 sungidrbkhwamniymxyangmakthngdankaraesdngaelakarengin lakhreruxngniaesdngthung 417 khrng caknnkxxktraewnaesdngkhrngthisxngkprasbkhwamsaerc bristhphaphyntrihyphyayamekhahaehpebirn ephuxnabthpraphnthkhxngbarrimaphlitepnphaphyntr ethxeluxkthicakhaylikhsiththiihemothr okldwin emeyxr exmciexm bristhphaphyntrebxrhnungkhxnghxlliwud dwyenguxnikhwaethxcatxngidodngdng cakkhxtklngthaihethxmisiththieluxkphuphlit khux aelaethxeluxkecms scwrtkbaekhri aekrnt sungethxhwngwacaidrbkhwamniym epndararwm kxnthicathaytha ehpebirnidklawxyangchaychladwa chnimxyakcathatwedndngxairkxnthayphaphyntr phwkkhndumnhmnischn khidwachnepnphwkhwsungphuditinaedng phwkekhaxyakcaehnchnlmhnakhwa aetinphaphyntrchakaerkethxkodnaekrntthahngaythxng ebirkidsrangtwlakhrephuxihphuchm hweraaeyaaethxmakphxkxnthisudthayphwkekhacaehnicethx sungepnsingsakhyxyangyingthiehpebirncasamarth srangphaphlksnkhxngethxihm xangxingBritton 2003 p 41 Berg 2004 p 40 Chandler 2011 p 37 Higham 2004 p 2 Katharine Hepburn Part 2 October 3 1973 American Broadcasting Company cakkhasmphasnnikhxngehpebirn Higham 2004 p 4 Chandler 2011 p 39 Prideaux 1996 p 74 Hepburn 1991 p 21 Katharine Hepburn Part 1 October 2 1973 American Broadcasting Company Berg 2004 p 47 Hepburn 1991 p 30 Kanin 1971 p 82 Chandler 2011 p 30 Hepburn 1991 p 43 Higham 2004 p 2 Higham 2004 p 7 Higham 2004 p 3 Chandler 2011 p 34 Higham 2004 p 4 Hepburn 1991 p 44 Hepburn 1991 p 46 Chandler 2011 p 6 Higham 2004 p 5 Hepburn 1991 p 49 Chandler 2011 p 7 Kanin 1971 p 285 Hepburn 1991 p 69 Dickens 1990 p 4 Horton and Simmons 2007 p 119 Cinema The Hepburn Story Time September 1 1952 subkhnemux August 21 2011 txngrbbrikar Directed by David Heeley January 18 1993 Katharine Hepburn All About Me Turner Network Television Stated by Hepburn in this documentary Higham 2004 p 8 Hepburn 1991 p 81 Higham 2004 p 9 Berg 2004 p 59 Higham 2004 p 9 Berg 2004 p 73 Hepburn 1991 p 109 Higham 2004 p 11 Higham 2004 p 16 Hepburn 1991 p 112 Higham 2004 p 16 Kanin 1971 p 22 Hepburn 1991 p 118 Berg 2004 p 74 Hepburn 1991 p 120 Higham 2004 p 17 Berg 2004 p 75 Dickens 1990 p 229 Hepburn 1991 p 128 Higham 2004 p 23 Higham 2004 p 21 Haver 1980 p 94 Haver 1980 p 96 Prideaux 1996 p 15 Higham 2004 pp 30 31 Berg 2004 p 82 Hall Mordaunt October 3 1932 A Bill of Divorcement 1932 The New York Times subkhnemux August 25 2011 A Bill of Divorcement October 1932 subkhnemux August 25 2011 Higham 2004 p 39 Hepburn 1991 pp 178 181 Berg 2004 p 84 Higham 2004 p 44 Berg 2004 p 86 Berg 2004 p 85 Berg 2004 p 88 Berg 2004 p 89 Higham 2004 p 57 Berg 2004 p 91 Berg 2004 p 92 Berg 2004 p 89 Berg 2004 p 90 Higham 2004 p 60 Higham 2004 p 62 Hendrickson 2013 p 311 Hepburn 1991 p 166 Berg 2004 p 93 Hepburn 1991 p 4 Berg 2004 p 105 Higham 2004 p 66 Berg 2004 p 106 Higham 2004 p 68 Berg 2004 p 109 Berg 2004 p 110 Berg 2004 pp 111 112 Berg 2004 p 126 Berg 2004 p 112 Horton and Simmons 2007 p 120 McNamara Mary July 1 2003 It was her defining role life Los Angeles Times cakaehlngedimemux January 13 2012 subkhnemux October 2 2011 Kanin 1971 p 284 Kanin 1971 p 85 Berg 2004 p 111 Britton 2003 p 16 Berg 2004 p 114 Chandler 2011 p 105 Haver 1980 pp 237 238 Higham 2004 p 94 Dickstein 2002 pp 48 50 Berg 2004 p 116 Hepburn 1991 p 238 Berg 2004 p 117 Higham 2004 p 88 Higham 2004 p 90 Berg 2004 p 118 Hepburn 1991 p 201 Verlhac 2009 p 8 Chandler 2011 p 142 Edwards 1985 p 166 Berg 2004 p 119 Britton 2003 p 13 Higham 2004 p 97 Berg 2004 p 132 Berg 2004 p 136 March 29 1939 The Play Katharine Hepburn Appearing in Philip Barry s The Philadelphia Story for the Theatre Guild The New York Times cakaehlngedimemux March 5 2016 subkhnemux November 10 2015 Berg 2004 p 137 Curtis 2011 p 224 Dickens 1990 p 17 Berg 2004 p 139 Berg 2004 pp 139 140 aehlngthimaBacall Lauren 2005 By Myself and Then Some London Headline ISBN 0 7553 1350 X 2004 2003 London Pocket ISBN 0 7434 1563 9 Britton Andrew 2003 1984 Katharine Hepburn Star as Feminist New York City NY Columbia University Press ISBN 0 231 13277 8 2011 2010 I Know Where I m Going Katharine Hepburn a Personal Biography Milwaukee WI Applause ISBN 1 907532 01 3 2011 Spencer Tracy A Biography London Hutchinson ISBN 0 09 178524 3 Dickens Homer 1990 1971 The Films of Katharine Hepburn New York City NY Carol Publishing Group ISBN 0 8065 1175 3 DiEdwardo Maryann Pasda 2006 The Legacy of Katharine Hepburn Fine Art as a Way of Life A Memoir Bloomington IN AuthorHouse ISBN 1 4259 6089 8 1985 A Remarkable Woman A Biography of Katharine Hepburn New York City NY William Morrow amp Company Inc ISBN 0 688 04528 6 1980 David O Selznick s Hollywood London Martin Secker amp Warburg Ltd ISBN 0 394 42595 2 Hendrickson Robert 2013 God Bless America The Origins of Over 1 500 Patriotic Words and Phrases New York City NY Skyhorse Publishing ISBN 978 1 62087 597 1 Hepburn Katharine 1991 Me Stories of My Life New York City NY Alfred A Knopf ISBN 0 679 40051 6 2004 1975 Kate The Life of Katharine Hepburn New York City NY W W Norton ISBN 0 393 32598 9 Horton Ros and Sally Simmons 2007 Women Who Changed the World London Quercus Publishing Plc ISBN 1 84724 026 7 1971 Tracy and Hepburn An Intimate Memoir New York City NY Viking ISBN 0 670 72293 6 2007 Kate The Woman Who Was Hepburn New York City NY Picador ISBN 0 312 42740 9 Dickstein Morris 2002 Bringing Up Baby 1938 in The A List The National Society of Film Critics 100 Essential Films Cambridge Da Capo ISBN 0 306 81096 4 1996 Knowing Hepburn and Other Curious Experiences Boston MA Faber and Faber ISBN 0 571 19892 9 Verlhac Pierre Henri 2009 Katharine Hepburn A Life in Pictures San Francisco CA Chronicle Books ISBN 0 8118 6947 4 ewbistxangxingaekhtharin ehpebirn thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy phaphaelasuxcakkhxmmxnskhakhmcakwikikhakhmkhxmulcakwikisneths aekhtharin ehpebirn thixinethxrentmuwiedtaebs One Life Kate A Centennial Celebration Online exhibition from the National Portrait Gallery Smithsonian Institution Katharine Hepburn papers circa 1854 1997 and undated held by the Billy Rose Theatre Division wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aekhtharin ehpebirn bthkhwamdara nkaesdngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk