อิตาเลีย หรือ โรมันอิตาเลีย หรือ อิตาลีอา (อังกฤษ: Italia) ภายใต้สาธารณรัฐโรมันและต่อมาจักรวรรดิโรมันคือชื่อของคาบสมุทรอิตาลี
ภายใต้สาธาณรัฐและการจัดระบบของออกัสตัส
ระหว่างสมัยสาธารณรัฐและในคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งของจักรวรรดิ อิตาเลีย (ที่เมื่อเริ่มแรกมีเนื้อที่ครอบคลุมคาลาเบรียไปจนถึงรูบิคอน และต่อมาจากคาลาเบรียไปจนถึงเทือกเขาแอลป์) มิได้เป็นจังหวัดโรมันแต่เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของโรม ฉะนั้นจึงอยู่ในฐานะพิเศษ เช่นในการที่แม่ทัพไม่สามารถนำกองทหารเข้ามาในอิตาเลียได้ ฉะนั้นเมื่อจูเลียส ซีซาร์นำกองทัพผ่านรูบิคอนเข้ามายังอิตาเลียก็เท่ากับเป็นการประกาศสงครามกลางเมือง
คำว่า “อิตาเลีย” รวมบริเวณอิตาลีที่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ จากหลักฐานการบรรยายของสตราโบ (“หนังสือภูมิศาสตร์” , v 1) เมื่อเริ่มแรกอิตาเลียหมายถึงดินแดนระหว่าง (strait of Messina) และเส้นที่เชื่อมระหว่างกับ ต่อมาอิตาเลียก็ขยายออกไปรวมคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมด และรวมทั้งเมืองใน และในที่สุดจูเลียส ซีซาร์ก็มอบสัญชาติโรมันให้แก่ประชาชนใน “”— ส่วนหนึ่งของที่เลยไปจากแม่น้ำโป—ซึ่งเท่ากับเป็นการขยายอิตาเลียไปจนถึงเทือกเขาแอลป์
เมื่อมาถึงปลายสงครามสังคมในศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราชโรมก็อนุญาตให้พันธมิตรของอิตาลีเข้ามามีสิทธิเต็มที่ในสังคมของโรมันและมอบสัญชาติโรมันให้แก่ต่างๆ ทั้งหมด
ในสมัยแรกของจักรวรรดิอิตาเลียเป็นกลุ่มดินแดนที่มีระดับฐานะต่างๆ กัน บางเมืองก็เรียกตนเองว่า “municipium” ที่มีอิสระบางอย่างบ้างจากโรม บางเมืองก็เป็นเมืองบริวารที่โรมันก่อตั้งขึ้นเอง เมื่อมาถึงราวปี 7 ก่อนคริสต์ศักราชออกัสตัสก็จัดระบบการบริหารใหม่โดยแบ่งอิตาลีออกเป็น “เขต” (regiones) ตามคำบรรยายของพลินิผู้อาวุโส ใน “Pliny's Natural History”(iii 46) อิตาเลียแบ่งออกเป็น:
- เขต 1 ละติอุมและคัมปาเนีย
- เขต 2 อพูเลียและคาลาเบรีย
- เขต 3 ลูคาเนียและบรูทิอิ
- เขต 4 ซัมนิอุม
- เขต 5 พิเชนุม
- เขต 6 อุมเบรียและอเจอร์กาลลิคัส
- เขต 7 เอทรูเรีย
- เขต 8 เอมิเลีย
- เขต 9 ลีกูเรีย
- เขต 10 เวเนเชียและฮิสเทรีย
- เขต 11 ทรานสพาดานา
อิตาเลียได้รับผลประโยชน์เป็นอันมากจากออกัสตัสและผู้ครองจักรวรรดิต่อมา ทั้งในด้านสิ่งก่อสร้างสารธารณะ และการก่อสร้างระบบถนนอันซับซ้อนที่ใช้ในการคมนาคมติดต่อไปยังดินแดนต่างๆ ทั่วจักรวรรดิ
การจัดระบบการบริหารและการคมนาคมขึ้นเป็นผลให้เศรษฐกิจของอิตาเลียรุ่งเรืองตามขึ้นไปด้วย ที่รวมไปถึงการเกษตรกรรม งานฝีมือ และการอุตสาหกรรม อิตาเลียสามารถส่งสินค้าออกไปขายยังจังหวัดอื่นๆ ในจักรวรรดิได้ ในขณะเดียวกันจำนวนประชากรก็ถีบตัวสูงตามขึ้นไปด้วย ออกัสตัสสั่งให้มีการสำรวจสัมโนประชากรสามครั้ง เพื่อที่จะสำรวจจำนวนประชากรชายของจักรวรรดิ ในปี 28 ก่อนคริสต์ศักราชจักรวรรดิมีประชากรชายทั้งสิ้นราว 4,063,000 คน ในปี 8 ก่อนคริสต์ศักราชมีจำนวน 4,233,000 คน และในปี ค.ศ. 14 มีจำนวน 4,937,000 คน เมื่อรวมประชากรสตรีและเด็กเข้าด้วยแล้วประชากรทั้งหมดของอิตาเลียเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ก็มีด้วยกันทั้งสิ้นราว 10 ล้านคน
อิตาเลียใน คริสต์ศตวรรษที่ 3
ต่อมาในปี 212 เมื่อสิทธิในการถือสัญชาติโรมันได้รับการมอบให้แก่ประชาชนทั้งจักรวรรดิ อิตาเลียก็เริ่มเสื่อมโทรมลงขณะที่จังหวัดต่างๆ นอกอิตาเลียรุ่งเรืองขึ้นมาแทนที่ นอกจากนั้นดินแดนของอิตาลีก็ยังได้รับความเสียหายจากการรุกรานของอนารยชนเผ่าต่างๆ ที่เริ่มเกิดขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ดูรายละเอียดที่วิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 และ (Barracks emperor))
ไดโอคลีเชียนทรงแบ่งจักรวรรดิออกเป็นสี่ส่วนที่เรียกว่า “มณฑล” (dioceses) โดย “มณฑลอิตาเลีย” ปกครองโดย “ออกัสตัส” แห่งตะวันตก ซึ่งแบ่งออกเป็นสองโซน แต่ละโซนก็แบ่งย่อยออกเป็นดินแดน (territories) ที่ปกครองโดย “corrector” โซนสองโซนและดินแดนภายใต้เขตปกครองก็ได้แก่:
- โซน “อิตาเลียซับเบอร์บิคาเรีย” (ภายใต้การปกครองของข้าหลวงแห่งโรม)
- “ทัสเคียและอุมเบรีย”
- “วาเลเรีย”
- “คัมปาเนียและซัมนิอุม”
- “อพูเลียและคาลาเบรีย”
- “ซิซิเลีย”
- โซน “ซาร์ดิเนียและคอร์ซิกา”
- “อิตาเลียอันโนนาเรีย” มีเมืองหลวงอยู่ที่มิลานปัจจุบัน
- “เวเนเชียและฮิสเทรีย”
- “เอมิเลียและลีกูเรีย”
- “ฟลามิเนียและพิเชนุม”
- “”
- “แอลป์โคตติเอ”
อดีตดินแดน และ แอลป์มาริทิเมกลายเป็นส่วนหนึ่งของ“มณฑลกาลลิเอรัม”
อิตาเลียในคริสต์ศตวรรษที่ 4 และ 5
เมื่ออนารยชนกลายเป็นปัญหาสำคัญจักรพรรดิโรมันก็ตัดสินใจย้ายออกจากกรุงโรมและบางครั้งก็ต้องถึงกับต้องออกจากจังหวัด ซึ่งเป็นผลทำให้อิตาเลียยิ่งเสื่อมโทรมลงหนักยิ่งขึ้นไปอีก ในปี ค.ศ. 330 จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ก็ทรงย้ายเมืองหลวงของจักรวรรดิจากโรมไปยังคอนสแตนติโนเปิลพร้อมด้วยราชสำนัก และหน่วยบริหารทางเศรษฐกิจและทางการทหาร
เมื่อจักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี อิตาเลียก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันตก หลังจากนั้นจักรวรรดิก็ถูกรุกรานโดยอนารชนจนต้องย้ายเมืองหลวงไปยังราเวนนาในปี ค.ศ. 402 ในปี ค.ศ. 410 อาลาริคที่ 1กษัตริย์แห่งเข้า ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมากว่าเจ็ดร้อยปี
จากหลักฐานที่บันทึกใน “” (Notitia Dignitatum) ที่ถือว่าถูกต้องสำหรับจักรวรรดิโรมันตะวันตกในคริสต์ทศวรรษ 420 อิตาเลียปกครองโดยข้าราชการตำแหน่ง “Praetorian prefect” (Prefectus praetorio Italiae) ผู้มีหน้าที่ปกครองอิตาเลีย อิลลิริคัม และ และในเขตแปดเขตก็ปกครองโดยกงสุล (consulares)
เมื่อจักรพรรดิอยู่ในมือของอนารยชน รัฐบาลที่ปกครองอิตาเลียก็อ่อนแอลงชายฝั่งทะเลก็ถูกโจมตีเป็นระยะๆ ในปี ค.ศ. 476 เมื่อโรมิวลัสออกัสตัสเสียชีวิต และการปกครองต่างๆ ย้ายไปคอนสแตนติโนเปิล จักรวรรดิโรมันตะวันตกก็สิ้นสุดลง ระหว่างหลายสิบปีแรกอิตาเลียก็ปกครองโดยโอโดเซอร์ (Odoacer) ต่อมาโดยออสโตรกอธและไบแซนไทน์ แต่หลังจากการรุกรานของลอมบาร์ด อิตาเลียก็ถูกแบ่งออกเป็นอาณาจักรย่อยๆ และไม่ได้มารวมตัวกันอีกจนกระทั่งอีก 1300 ปีต่อมา
อ้างอิง
- Geographical spaces in Roman history เก็บถาวร 2012-05-25 ที่ (Italian)
- Map of the Roman state c. 400 เก็บถาวร 2012-11-30 ที่ (Compilation 'notitia dignitatum')
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- De Reditu, poem by Rutilius Claudius Namatianus, at The Latin Library, describing the decadence of Italia and Rome around 410.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xitaeliy hrux ormnxitaeliy hrux xitalixa xngkvs Italia phayitsatharnrthormnaelatxmackrwrrdiormnkhuxchuxkhxngkhabsmuthrxitalixitaeliy siaedng inckrwrrdiormnbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha swnhnungkhxng aephnthiphiwthinecxrixana Tabula Peutingeriana sungepnaephnthiormncakkhriststwrrsthi 4 thiaesdngdinaednxitalitxnitphayitsathanrthaelakarcdrabbkhxngxxkstsrahwangsmysatharnrthaelainkhriststwrrsthihnungkhxngckrwrrdi xitaeliy thiemuxerimaerkmienuxthikhrxbkhlumkhalaebriyipcnthungrubikhxn aelatxmacakkhalaebriyipcnthungethuxkekhaaexlp miidepncnghwdormnaetepndinaednswnhnungkhxngorm channcungxyuinthanaphiess echninkarthiaemthphimsamarthnakxngthharekhamainxitaeliyid channemuxcueliys sisarnakxngthphphanrubikhxnekhamayngxitaeliykethakbepnkarprakassngkhramklangemuxng khawa xitaeliy rwmbriewnxitalithiepliynaeplngiptamsthankarn cakhlkthankarbrryaykhxngstraob hnngsuxphumisastr v 1 emuxerimaerkxitaeliyhmaythungdinaednrahwang strait of Messina aelaesnthiechuxmrahwangkb txmaxitaeliykkhyayxxkiprwmkhabsmuthrxitalithnghmd aelarwmthngemuxngin aelainthisudcueliys sisarkmxbsychatiormnihaekprachachnin swnhnungkhxngthielyipcakaemnaop sungethakbepnkarkhyayxitaeliyipcnthungethuxkekhaaexlp emuxmathungplaysngkhramsngkhminstwrrsthi 2 kxnkhristskrachormkxnuyatihphnthmitrkhxngxitaliekhamamisiththietmthiinsngkhmkhxngormnaelamxbsychatiormnihaektang thnghmd ormnxitali siekhiyw thicdrabbodyxxksts insmyaerkkhxngckrwrrdixitaeliyepnklumdinaednthimiradbthanatang kn bangemuxngkeriyktnexngwa municipium thimixisrabangxyangbangcakorm bangemuxngkepnemuxngbriwarthiormnkxtngkhunexng emuxmathungrawpi 7 kxnkhristskrachxxkstskcdrabbkarbriharihmodyaebngxitalixxkepn ekht regiones tamkhabrryaykhxngphliniphuxawuos in Pliny s Natural History iii 46 xitaeliyaebngxxkepn ekht 1 latixumaelakhmpaeniy ekht 2 xphueliyaelakhalaebriy ekht 3 lukhaeniyaelabruthixi ekht 4 smnixum ekht 5 phiechnum ekht 6 xumebriyaelaxecxrkallikhs ekht 7 exthrueriy ekht 8 exmieliy ekht 9 likueriy ekht 10 ewenechiyaelahisethriy ekht 11 thransphadana xitaeliyidrbphlpraoychnepnxnmakcakxxkstsaelaphukhrxngckrwrrditxma thngindansingkxsrangsartharna aelakarkxsrangrabbthnnxnsbsxnthiichinkarkhmnakhmtidtxipyngdinaedntang thwckrwrrdi karcdrabbkarbriharaelakarkhmnakhmkhunepnphlihesrsthkickhxngxitaeliyrungeruxngtamkhunipdwy thirwmipthungkarekstrkrrm nganfimux aelakarxutsahkrrm xitaeliysamarthsngsinkhaxxkipkhayyngcnghwdxun inckrwrrdiid inkhnaediywkncanwnprachakrkthibtwsungtamkhunipdwy xxkstssngihmikarsarwcsmonprachakrsamkhrng ephuxthicasarwccanwnprachakrchaykhxngckrwrrdi inpi 28 kxnkhristskrachckrwrrdimiprachakrchaythngsinraw 4 063 000 khn inpi 8 kxnkhristskrachmicanwn 4 233 000 khn aelainpi kh s 14 micanwn 4 937 000 khn emuxrwmprachakrstriaelaedkekhadwyaelwprachakrthnghmdkhxngxitaeliyemuxtnkhriststwrrsthi 1 kmidwyknthngsinraw 10 lankhnxitaeliyin khriststwrrsthi 3bnehriyykhxngckrphrrdixnotnins iphxs bukhlathisthankhxngxitaeliypraktxyudanhlngkhxngehriyy txmainpi 212 emuxsiththiinkarthuxsychatiormnidrbkarmxbihaekprachachnthngckrwrrdi xitaeliykerimesuxmothrmlngkhnathicnghwdtang nxkxitaeliyrungeruxngkhunmaaethnthi nxkcaknndinaednkhxngxitalikyngidrbkhwamesiyhaycakkarrukrankhxngxnarychnephatang thierimekidkhuninplaykhriststwrrsthi 3 duraylaexiydthiwikvtikarnkhxngkhriststwrrsthi 3 aela Barracks emperor idoxkhliechiynthrngaebngckrwrrdixxkepnsiswnthieriykwa mnthl dioceses ody mnthlxitaeliy pkkhrxngody xxksts aehngtawntk sungaebngxxkepnsxngosn aetlaosnkaebngyxyxxkepndinaedn territories thipkkhrxngody corrector osnsxngosnaeladinaednphayitekhtpkkhrxngkidaek osn xitaeliysbebxrbikhaeriy phayitkarpkkhrxngkhxngkhahlwngaehngorm thsekhiyaelaxumebriy waeleriy khmpaeniyaelasmnixum xphueliyaelakhalaebriy sisieliy osn sardieniyaelakhxrsika xitaeliyxnonnaeriy miemuxnghlwngxyuthimilanpccubn ewenechiyaelahisethriy exmieliyaelalikueriy flamieniyaelaphiechnum aexlpokhttiex xditdinaedn aela aexlpmarithiemklayepnswnhnungkhxng mnthlkalliexrm xitaeliyinkhriststwrrsthi 4 aela 5emuxxnarychnklayepnpyhasakhyckrphrrdiormnktdsinicyayxxkcakkrungormaelabangkhrngktxngthungkbtxngxxkcakcnghwd sungepnphlthaihxitaeliyyingesuxmothrmlnghnkyingkhunipxik inpi kh s 330 ckrphrrdikhxnsaetntinthi 1 kthrngyayemuxnghlwngkhxngckrwrrdicakormipyngkhxnsaetntionepilphrxmdwyrachsank aelahnwybriharthangesrsthkicaelathangkarthhar emuxckrphrrdithioxodesiysthi 1 esdcswrrkhtinpi xitaeliykklayepnswnhnungkhxngckrwrrdiormntawntk hlngcaknnckrwrrdikthukrukranodyxnarchncntxngyayemuxnghlwngipyngraewnnainpi kh s 402 inpi kh s 410 xalarikhthi 1kstriyaehngekha sungepnsingthiimidekidkhunmakwaecdrxypi cakhlkthanthibnthukin Notitia Dignitatum thithuxwathuktxngsahrbckrwrrdiormntawntkinkhristthswrrs 420 xitaeliypkkhrxngodykharachkartaaehnng Praetorian prefect Prefectus praetorio Italiae phumihnathipkkhrxngxitaeliy xillirikhm aela aelainekhtaepdekhtkpkkhrxngodykngsul consulares emuxckrphrrdixyuinmuxkhxngxnarychn rthbalthipkkhrxngxitaeliykxxnaexlngchayfngthaelkthukocmtiepnraya inpi kh s 476 emuxormiwlsxxkstsesiychiwit aelakarpkkhrxngtang yayipkhxnsaetntionepil ckrwrrdiormntawntkksinsudlng rahwanghlaysibpiaerkxitaeliykpkkhrxngodyoxodesxr Odoacer txmaodyxxsotrkxthaelaibaesnithn aethlngcakkarrukrankhxnglxmbard xitaeliykthukaebngxxkepnxanackryxy aelaimidmarwmtwknxikcnkrathngxik 1300 pitxmaxangxingGeographical spaces in Roman history ekbthawr 2012 05 25 thi Italian Map of the Roman state c 400 ekbthawr 2012 11 30 thi Compilation notitia dignitatum duephimckrwrrdiormnaehlngkhxmulxunDe Reditu poem by Rutilius Claudius Namatianus at The Latin Library describing the decadence of Italia and Rome around 410