อัณฑะ (มาจากรากศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต หมายถึง ไข่; อังกฤษ: testicle หรือ testis (เอกพจน์), testes (พหูพจน์)) เป็นต่อมระบบสืบพันธุ์หรือต่อมบ่งเพศของเพศชายในสัตว์ทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ เป็นอวัยวะกับรังไข่ในเพศหญิง อัณฑะมีหน้าที่สร้างทั้งตัวอสุจิและฮอร์โมนเพศชาย โดยมีฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเป็นหลัก ซึ่งการปล่อยนั้นจะถูกควบคุมโดยของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ในขณะที่การสร้างอสุจินั้นถูกควบคุมโดยทั้งของและฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของต่อมบ่งเพศ
อัณฑะ | |
---|---|
ภาพโครงสร้างภายในของอัณฑะ | |
แผนภาพแสดงลักษณะภายนอกและโครงสร้างโดยรอบของอัณฑะในผู้ชายวัยผู้ใหญ่ | |
รายละเอียด | |
หลอดเลือดแดง | |
หลอดเลือดดำ | , |
ประสาท | |
น้ำเหลือง | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | testis |
MeSH | D013737 |
TA98 | A09.3.01.001 |
TA2 | 3576 |
FMA | 7210 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
โครงสร้าง
ลักษณะปรากฏ
เพศชายมีอัณฑะสองข้างขนาดใกล้เคียงกันอยู่ภายในถุงอัณฑะ ซึ่งเป็นส่วนที่ขยายต่อเนื่องมาจากผนังช่องท้อง ความไม่สมดุลของถุงอัณฑะหรือการที่อัณฑะข้างหนึ่งยื่นลงไปในถุงอัณฑะมากกว่าอีกข้างหนึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เนื่องมาจากความแตกต่างในด้านกายวิภาคของระบบหลอดเลือด ซึ่งผู้ชายร้อยละ 85 จะมีอัณฑะข้างขวาห้อยต่ำกว่าข้างซ้าย
การวัดและปริมาตร
ปริมาตรของอัณฑะสามารถประมาณได้โดยการคลำตรวจและการเทียบกับทรงรีที่ทราบขนาด อีกวิธีหนึ่งคือการใช้เครื่องมือวัดขนาด () หรือไม้บรรทัดวัดบนตัวบุคคลหรือบนภาพอัลตราซาวด์ซึ่งวัดได้ทั้งสามแกน (ความยาว ความลึก และ ความกว้าง) โดยการวัดเหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการคำนวณปริมาตรได้ผ่านสูตรปริมาตรทรงรี:
อย่างไรก็ตาม การคำนวณปริมาตรจริงของอัณฑะที่แม่นยำสามารถหาได้จากสูตร:
ขนาดอัณฑะผู้ใหญ่เฉลี่ยสามารถวัดได้ถึง 5 × 2 × 3 ซm (2 × 3⁄4 × 1 1⁄4 in) โดยกำหนดระยะการเจริญเต็มที่ตามปริมาตรที่คำนวณได้ ตั้งแต่ช่วงระยะที่ 1 ปริมาตรน้อยกว่า 1.5 cm3 ไปจนถึงช่วงระยะที่ 5 ปริมาตรมากกว่า 20 cm3 ปริมาตรปกติจะอยู่ที่ 15 ถึง 25 cm3 และมีค่าเฉลี่ยที่ 18 cm3 ต่ออัณฑะ (ช่วง 12–30 cm3)
จำนวนตัวอสุจิที่มนุษย์สร้างขึ้นในวัยผู้ใหญ่นั้นจะแปรผันตรงกับปริมาตรของอัณฑะ เนื่องจากอัณฑะที่ใหญ่ขึ้นจะมีหลอดสร้างอสุจิและเซลล์เซอร์โตลีที่มากกว่า ด้วยเหตุนี้ ผู้ชายที่มีอัณฑะขนาดใหญ่จะผลิตเซลล์อสุจิเฉลี่ยมากกว่าในแต่ละการหลั่งน้ำอสุจิ เนื่องจากปริมาตรของอัณฑะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโครงร่างของน้ำอสุจิ
โครงสร้างภายใน
ระบบท่อ
อัณฑะถูกห่อหุ้มด้วยเปลือกเส้นใยที่เหนียว เรียกว่า ทูนิกา อัลบูจิเนีย ใต้ทูนิกา อัลบูจิเนียจะมีหลอดขดที่ละเอียดเป็นจำนวนมาก เรียกว่า หลอดเหล่านี้บุด้วยชั้นของเซลล์ (เซลล์สืบพันธุ์) ที่พัฒนาไปเป็นเซลล์อสุจิ (หรือเรียกอีกอย่างว่า หรือ เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย) ตั้งแต่จากวัยเริ่มเจริญพันธุ์ไปจนถึงวัยชรา ตัวอสุจิที่กำลังพัฒนาจะเคลื่อนไปตามหลอดสร้างอสุจิไปยัง ซึ่งตั้งอยู่ในผนังกลางอัณฑะ จากนั้นไปยัง และไปยังที่ซึ่งเซลล์อสุจิที่เกิดขึ้นใหม่จะเจริญเติมที่ (การสร้างสเปิร์ม) ตัวอสุจิจะเคลื่อนเข้าสู่ และในที่สุดก็จะถูกขับออกทางท่อปัสสาวะ และออกทางผ่านการหดตัวของกล้ามเนื้อ
ประเภทเซลล์ปฐมภูมิ
ภายในหลอดสร้างอสุจิ เซลล์สืบพันธุ์จะพัฒนาขึ้นเป็น และ ผ่านกระบวนการการสร้างอสุจิ ซึ่งเซลล์สืบพันธุ์จะมีดีเอ็นเอสำหรับการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่เซลล์เซอร์โตลีเป็นเยื่อบุที่แท้จริงของเยื่อบุหลอดสร้างอสุจิ ซึ่งมีความสำคัญต่อการสนับสนุนการพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นสเปอร์มาโทซูน โดยเซลล์เซอร์โตลีจะหลั่งออกมา และมีเป็นเซลล์ที่ห่อหุ้มหลอดสร้างอสุจิไว้
ระหว่างหลอด (เซลล์แทรก) จะมีเซลล์ไลดิชปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นเซลล์เฉพาะที่ที่อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจืที่สร้างและหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนและฮอร์โมนเพศชายอื่น ๆ ที่สำคัญสำหรับวัยเริ่มเจริญพันธุ์ (รวมถึง เช่น หนวดเครา) พฤติกรรมทางเพศ และ นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนการสร้างอสุจิและการแข็งตัวขององคชาตด้วย โดยฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเป็นตัวควบคุมปริมาตรของอัณฑะ
นอกจากนี้ก็ยังมีเซลล์ไลดิชที่ยังไม่เจริญเต็มที่ แมคโครฟาจแทรก และ เซลล์เนื้อเยื่อบุผิว ปรากฏอยู่เช่นกัน
การเลี้ยงของเลือดและการระบายน้ำเหลือง
การเลี้ยงของเลือดและของอัณฑะและถุงอัณฑะนั้นมีความแตกต่างกัน ดังนี้
- คู่ของแยกออกมาโดยตรงจากเอออร์ตาส่วนท้องและทอดตัวลงผ่าน ขณะที่ถุงอัณฑะและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกอื่นนั้นแยกออกมาจาก (ซึ่งแขนงหนึ่งของ)
- อัณฑะมีเลือดไปเลี้ยงจาก 1. (แขนงของ) และ 2. (แขนงของ) ดังนั้น ถ้าหลอดเลือดแดงอัณฑะถูกมัด เช่น ระหว่างการทำแบบฟาวเลอร์-สตีเวนส์ในอัณฑะที่ไม่เคลื่อนลงที่อยู่สูง อัณฑะจะได้รับเลือดจากแหล่งอื่นมาเลี้ยงแทน
- การระบายน้ำเหลืองของอัณฑะจะระบายไปตามหลอดเลือดแดงอัณฑะไปยัง ขณะที่น้ำเหลืองจากถุงอัณฑะจะระบายเข้าสู่
ชั้น
ลักษณะทางกายวิภาคหลายประการของอัณฑะในผู้ใหญ่นั้นสะท้อนถึงต้นกำเนิดในช่องท้อง โดยชั้นของเนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มอัณฑะนั้นมาจากชั้นต่าง ๆ ของส่วนหน้าเจริญขึ้นมาจาก
ตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ
โมเลกุลขนาดใหญ่จะไม่สามารถผ่านจากเลือดไปยังช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจิได้ เนื่องจากมีไทต์จังก์ชันอยู่ระหว่างเซลล์เซอร์โตลีที่ติดกัน เซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิจะอยู่บริเวณส่วนฐาน (ลึกลงไปในระดับของไทต์จังก์ชัน) และรูปแบบที่เจริญเติบโตมากขึ้น เช่น สเปอร์มาโทไซต์ปฐมภูมิและทุติยภูมิ และ สเปอร์มาทิด จะอยู่บริเวณส่วนช่องภายในหลอด
หน้าที่ของตัวกั้นอาจมีขึ้นเพื่อป้องกันปฏิกิริยาภูมิต้านตนเอง ซึ่งตัวอสุจิที่เจริญเต็มที่ (และแอนติเจนของมัน) จะปรากฏออกมาอย่างมีนัยสำคัญหลังจากการทนภูมิต้านทาน (immune tolerance) เกิดขึ้นในวัยทารก เนื่องจากตัวอสุจินั้นมีความแตกต่างทางแอนติเจนจากเนื้อเยื่อของร่างกาย ดังนั้น สัตว์เพศผู้และมนุษย์เพศชายจะสามารถเกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อตัวอสุจิของตัวเองได้ และยังสามารถสร้างสารภูมิต้านทานขึ้นมาต่อต้านตัวอสุจิได้เช่นกัน
การฉีดแอนติเจนของตัวอสุจิจะทำให้เกิดการอักเสบของอัณฑะ (อัณฑะอักเสบเหตุภูมิต้านตนเอง) และทำให้ภาวะเจริญพันธุ์ลดลง โดยตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะอาจลดโอกาสที่โปรตีนของตัวอสุจิจะไปกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ลดภาวะเจริญพันธุ์ และ ทำให้มีทายาทได้
การควบคุมและการตอบสนองต่ออุณหภูมิ
การสร้างสเปิร์มจะเพิ่มขึ้นที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิร่างกายเล็กน้อย การสร้างอสุจิจะมีประสิทธิภาพน้อยกว่าในอุณหภูมิที่ต่ำและสูงกว่า 33 องศาเซลเซียส เนื่องจากการที่อัณฑะอยู่นอกร่างกาย เนื้อเยื่อเรียบของถุงอัณฑะจึงสามารถเคลื่อนอัณฑะเข้าหรือออกห่างจากร่างกายได้ อุณหภูมิของอัณฑะจะถูกรักษาไว้อยู่ที่ 34.4 องศาเซลเซียส ซึ่งต่ำกว่าอุณหภูมิของร่างกายเล็กน้อย และที่อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียสจะขัดขวางการสร้างอสุจิ มีกลไกหลายอย่างที่ใช้ในการรักษาอุณหภูมิที่เหมาะสมของอัณฑะ
กล้ามเนื้อครีมาสเตอร์เป็นกล้ามเนื้อที่ปกคลุมอัณฑะและไว้ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว สายรั้งอัณฑะจะสั้นลงและอัณฑะจะเคลื่อนเข้าใกล้ร่างกายมากขึ้น ซึ่งจะให้ความอบอุ่นเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพื่อรักษาอุณหภูมิที่เหมาะสมของอัณฑะ เมื่อต้องการให้เย็นลง กล้ามเนื้อครีมาสเตอร์จะคลายตัว และอัณฑะจะเคลื่อนห่างจากร่างกายที่อุ่น และจะสามารถเย็นลงได้ การหดตัวยังเกิดขึ้นได้เพื่อตอบสนองต่อความเครียดของร่างกายได้ เช่น การบาดเจ็บ โดยอัณฑะอาจจะหดตัวออกจากถุงอัณฑะและเข้าใกล้ร่างกายให้มากที่สุดเพื่อปกป้องตัวอัณฑะ
เป็นรีเฟล็กซ์ที่ยกอัณฑะขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถยกอัณฑะได้โดยสมัครใจด้วยโดยใช้กล้ามเนื้อ ซึ่งจะไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องบางส่วน
การแสดงออกทางยีนและโปรตีน
จีโนมมนุษย์ประกอบด้วยยีนที่เข้ารหัสโปรตีนประมาณ 20,000 ยีน โดยร้อยละ 80 ของยีนที่แสดงออกเหล่านี้อยู่ในอัณฑะผู้ใหญ่ โดยอัณฑะมีสัดส่วนของยีนเฉพาะต่อเนื้อเยื่อสูงที่สุดเมื่อเทียบกับอวัยวะและเนื้อเยื่ออื่น ๆ โดยมีประมาณ 1,000 ยีนที่มีความจำเพาะอย่างมากสำหรับอัณฑะ และประมาณ 2,200 ยีนที่แสดงรูปแบบของการแสดงออกที่สูงขึ้น ยีนเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเข้ารหัสโปรตีนที่ปรากฏอยู่ในหลอดสร้างอสุจิ และมีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างตัวอสุจิ เซลล์อสุจิจะแสดงโปรตีนที่ทำให้เกิดการพัฒนาในแฟลเจลลัม โดยโปรตีนชนิดเดียวกันนี้ที่ปรากฏอยู่ในเซลล์ที่บุของเพศหญิง จะทำให้เกิดการพัฒนาของซิเลียขึ้น ซึ่งแฟลเจลลัมของเซลล์อสุจิและซีเลียของท่อนำไข่เป็นโครงสร้างที่มี ส่วนโปรตีนจำเพาะของอัณฑะที่มีระดับการแสดงออกสูงที่สุด คือ
พัฒนาการ
การเจริญเติบโตของอัณฑะอย่างมากแบ่งออกเป็นสองระยะ นั่นคือ ระยะเอ็มบริโอ และ ระยะวัยเริ่มเจริญพันธุ์
ระยะเอ็มบริโอและระยะวัยเริ่มเจริญพันธุ์
ในระหว่างการพัฒนาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ต่อมบ่งเพศในตอนแรกจะมีความสามารถในการกลายเป็นรังไข่หรืออัณฑะได้ ในมนุษย์ จะเริ่มขึ้นตั้งแต่สัปดาห์ที่ 4 เป็นไปต้น ต่อมบ่งเพศจะปรากฏอยู่ในซึ่งอยู่ติดกับไตที่กำลังพัฒนา ประมาณสัปดาห์ที่ 6 จะพัฒนาขึ้นภายในอัณฑะที่กำลังก่อตัว โดยประกอบด้วย เซลล์เซอร์โตลีช่วงแรกที่ล้อมรอบและหล่อเลี้ยงเซลล์สืบพันธุ์ ที่เคลื่อนเข้าสู่ต่อมบ่งเพศได้ไม่นานก่อนจะเริ่มมีการกำหนดเพศขึ้น ในเพศชาย ยีนซึ่งเป็นยีนเฉพาะเพศที่พบในโครโมโซมวาย จะเริ่มต้นการกำหนดเพศโดยการควบคุมสารที่กำหนดในขั้นปลาย (เช่น GATA4, SOX9 และ AMH) ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนารูปแบบปรากฏของเพศชาย รวมถึง การกำหนดให้สร้างองคชาตโดยตรงของต่อมบ่งเพศระยะแรกเข้าสู่การพัฒนาทางเพศชาย
อัณฑะจะเคลื่อนไปตาม "วิถีเคลื่อนลง" จากจุดที่สูงในช่องท้องด้านหลังของทารกในครรภ์ ไปยังวงแหวนขาหนีบและลงไปในคลองขาหนีบ เข้าสู่ถุงอัณฑะ ในกรณีส่วนใหญ่ (ร้อยละ 97 ของเด็กคลอดครบกำหนด และร้อยละ 70 ของเด็กคลอดก่อนกำหนด) อัณฑะทั้งสองข้างจะเคลื่อนลงมาตั้งแต่เกิด ส่วนกรณีอื่นส่วนมากจะเป็นการลงมาเพียงข้างเดียว () และอาจมีการเคลื่อนลงได้เองภายในหนึ่งปี
อัณฑะจะเติบโตขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการเริ่มต้นการสร้างอสุจิ ขนาดจะขึ้นอยู่กับการทำงานของไลติก การสร้างอสุจิ (จำนวนการสร้างอสุจิที่ปรากฏในอัณฑะ) และ การสร้างของเหลวโดยเซลล์เซอร์โตลี โดยอัณฑะนั้นจะลงมาอย่างเต็มที่ก่อนที่ผู้ชายจะเข้าสู่วัยเริ่มเจริญพันธุ์
ภาพอื่นๆ
- อัณฑะของแมว ประกอบด้วย 1 Extremitas capitata, 2 Extremitas caudata, 3 Margo epididymalis, 4 Margo liber, 5 Mesorchium, 6 Epididymis, 7 testicular artery and vene, 8 Ductus deferens
- พื้นผิวของอัณฑะ
- ภาพตัดขวางของอัณฑะ
- อัณฑะข้างขวา เมื่อเปิดชั้นทูนิกา วาไจนาลิส (tunica vaginalis)
- ลูกอัณฑะในถุงอัณฑะ
อ้างอิง
- Steger, Klaus; Weidner, Wolfgang (2011). "Anatomy of the Male Reproductive System". Practical Urology: Essential Principles and Practice. Springer Science & Business Media. p. 57. ISBN .
- 2007 Jan;69(1):152-7. doi: 10.1016/j.urology.2006.09.012. Testicular volume measurement: comparison of ultrasonography, orchidometry, and water displacement
- Testicular volume: correlation of ultrasonography, orchidometer and caliper measurements in children
- Cooper TG. Semen analysis. In: Nieschlag E, Behre HM, Nieschlag S, editors. Andrology: Male Reproductive Health and Dysfunction, 3rd ed. Heidelberg: Springer; 2010. p125–54.
- Condorelli, Rosita; Calogero, Aldo E.; La Vignera, Sandro (2013). "Relationship between Testicular Volume and Conventional or Nonconventional Sperm Parameters". International Journal of Endocrinology. 2013: 1–6. doi:10.1155/2013/145792. PMID 24089610.
- Cho, S; Bae, J.H. (2017). "Penis and Testis". Clinical Regenerative Medicine in Urology. Springer. p. 281. ISBN .
- Pocock, Gillian; Richards, Christopher D.; Richards, David A. (2018). Human Physiology. Oxford University Press. p. 766. ISBN .
- Histology, A Text and Atlas by Michael H. Ross and Wojciech Pawlina, Lippincott Williams & Wilkins, 5th ed, 2006[]
- Huhtaniemi, Ilpo (2018). Encyclopedia of Endocrine Diseases. Academic Press. p. 667. ISBN .
- Schlegel, P.N.; Katzovitz, M.A. (2020). "Male Reproductive Physiology". Urologic Principles and Practice. Springer Nature. p. 50. ISBN .
- Tubbs, R. Shane; Shoja, Mohammadali M.; Loukas, Marios (2016). Bergman's Comprehensive Encyclopedia of Human Anatomic Variation. John Wiley & Sons. p. 1393. ISBN .
- Steger, Klaus; Weidner, Wolfgang (2011). "Anatomy of the Male Reproductive System". Practical Urology: Essential Principles and Practice. Springer Science & Business Media. p. 63. ISBN .
- de Jong, M. Robert (2020). Sonography Scanning E-Book: Principles and Protocols. Elsevier Health Sciences. p. 343. ISBN .
- Song, David H; Neligan, Peter C (2017). Plastic Surgery E-Book: Volume 4: Trunk and Lower Extremity. Elsevier Health Sciences. p. 293. ISBN .
- Uhlén, Mathias; Fagerberg, Linn; Hallström, Björn M.; Lindskog, Cecilia; Oksvold, Per; Mardinoglu, Adil; Sivertsson, Åsa; Kampf, Caroline; Sjöstedt, Evelina (2015-01-23). "Tissue-based map of the human proteome". Science (ภาษาอังกฤษ). 347 (6220): 1260419. doi:10.1126/science.1260419. ISSN 0036-8075. PMID 25613900. S2CID 802377.
- Djureinovic, D.; Fagerberg, L.; Hallström, B.; Danielsson, A.; Lindskog, C.; Uhlén, M.; Pontén, F. (2014-06-01). "The human testis-specific proteome defined by transcriptomics and antibody-based profiling". MHR: Basic Science of Reproductive Medicine. 20 (6): 476–488. doi:10.1093/molehr/gau018. ISSN 1360-9947. PMID 24598113.
- "The human proteome in testis - The Human Protein Atlas". www.proteinatlas.org.
- Online textbook: "Developmental Biology" 6th ed. By Scott F. Gilbert (2000) published by Sinauer Associates, Inc. of Sunderland (MA).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xntha macakraksphthphasabaliaelasnskvt hmaythung ikh xngkvs testicle hrux testis exkphcn testes phhuphcn epntxmrabbsubphnthuhruxtxmbngephskhxngephschayinstwthukchnidrwmthungmnusy epnxwywakbrngikhinephshying xnthamihnathisrangthngtwxsuciaelahxromnephschay odymihxromnethsothsetxornepnhlk sungkarplxynncathukkhwbkhumodykhxngtxmitsmxngswnhna inkhnathikarsrangxsucinnthukkhwbkhumodythngkhxngaelahxromnethsothsetxornkhxngtxmbngephsxnthaphaphokhrngsrangphayinkhxngxnthaaephnphaphaesdnglksnaphaynxkaelaokhrngsrangodyrxbkhxngxnthainphuchaywyphuihyraylaexiydhlxdeluxdaednghlxdeluxdda prasathnaehluxngtwrabuphasalatintestisMeSHD013737TA98A09 3 01 001TA23576FMA7210 aekikhbnwikisneths phaphekhluxnihwkhxngkarekhluxnkhxngtwxsucicakcudkaenidinthanaesllsubphnthutnkaenidipcnxxkcak A hlxdeluxd B hwkhxng C thxnaxxk D E phiwdaninkhxngthunika wacinalis F phiwdannxkkhxngthunika wacinalis G ophrngkhxngthunika wacinalis H thunika xlbucieniy I klibyxykhxngxntha J hangkhxngexphidiidmis K twkhxngexphidiidmis L emdiaexstinm M hlxdnaxsuciokhrngsranglksnaprakt txmbngephskhxngephschay xnthakhangsay aelatxmbngephskhxngephshying rngikhkhangkhwa ephschaymixnthasxngkhangkhnadiklekhiyngknxyuphayinthungxntha sungepnswnthikhyaytxenuxngmacakphnngchxngthxng khwamimsmdulkhxngthungxnthahruxkarthixnthakhanghnungyunlngipinthungxnthamakkwaxikkhanghnungthuxepneruxngpkti enuxngmacakkhwamaetktangindankaywiphakhkhxngrabbhlxdeluxd sungphuchayrxyla 85 camixnthakhangkhwahxytakwakhangsay karwdaelaprimatr primatrkhxngxnthasamarthpramanidodykarkhlatrwcaelakarethiybkbthrngrithithrabkhnad xikwithihnungkhuxkarichekhruxngmuxwdkhnad hruximbrrthdwdbntwbukhkhlhruxbnphaphxltrasawdsungwdidthngsamaekn khwamyaw khwamluk aela khwamkwang odykarwdehlanisamarthnamaichinkarkhanwnprimatridphansutrprimatrthrngri Volume 43 p length2 width2 depth2 displaystyle Volume frac 4 3 cdot pi cdot frac length 2 cdot frac width 2 cdot frac depth 2 length width depth 0 52 displaystyle approx length cdot width cdot depth cdot 0 52 xyangirktam karkhanwnprimatrcringkhxngxnthathiaemnyasamarthhaidcaksutr length width depth 0 71 displaystyle approx length cdot width cdot depth cdot 0 71 khnadxnthaphuihyechliysamarthwdidthung 5 2 3 sm 2 3 4 1 1 4 in odykahndrayakarecriyetmthitamprimatrthikhanwnid tngaetchwngrayathi 1 primatrnxykwa 1 5 cm3 ipcnthungchwngrayathi 5 primatrmakkwa 20 cm3 primatrpkticaxyuthi 15 thung 25 cm3 aelamikhaechliythi 18 cm3 txxntha chwng 12 30 cm3 canwntwxsucithimnusysrangkhuninwyphuihynncaaeprphntrngkbprimatrkhxngxntha enuxngcakxnthathiihykhuncamihlxdsrangxsuciaelaesllesxrotlithimakkwa dwyehtuni phuchaythimixnthakhnadihycaphlitesllxsuciechliymakkwainaetlakarhlngnaxsuci enuxngcakprimatrkhxngxnthamikhwamsmphnthechingbwkkbokhrngrangkhxngnaxsuci okhrngsrangphayin phaphtdkhwangxnthaaelathungxnthakhangsayrabbthx xnthathukhxhumdwyepluxkesniythiehniyw eriykwa thunika xlbucieniy itthunika xlbucieniycamihlxdkhdthilaexiydepncanwnmak eriykwa hlxdehlanibudwychnkhxngesll esllsubphnthu thiphthnaipepnesllxsuci hruxeriykxikxyangwa hrux esllsubphnthuephschay tngaetcakwyerimecriyphnthuipcnthungwychra twxsucithikalngphthnacaekhluxniptamhlxdsrangxsuciipyng sungtngxyuinphnngklangxntha caknnipyng aelaipyngthisungesllxsucithiekidkhunihmcaecriyetimthi karsrangsepirm twxsucicaekhluxnekhasu aelainthisudkcathukkhbxxkthangthxpssawa aelaxxkthangphankarhdtwkhxngklamenux praephthesllpthmphumi phayinhlxdsrangxsuci esllsubphnthucaphthnakhunepn aela phankrabwnkarkarsrangxsuci sungesllsubphnthucamidiexnexsahrbkarptisnthikbesllikhesllesxrotliepneyuxbuthiaethcringkhxngeyuxbuhlxdsrangxsuci sungmikhwamsakhytxkarsnbsnunkarphthnakhxngesllsubphnthuipepnsepxrmaothsun odyesllesxrotlicahlngxxkma aelamiepnesllthihxhumhlxdsrangxsuciiw rahwanghlxd esllaethrk camiesllildichpraktxyu sungepnesllechphaathithixyurahwanghlxdsrangxsucuthisrangaelahlnghxromnethsothsetxornaelahxromnephschayxun thisakhysahrbwyerimecriyphnthu rwmthung echn hnwdekhra phvtikrrmthangephs aela nxkcakniyngchwysnbsnunkarsrangxsuciaelakaraekhngtwkhxngxngkhchatdwy odyhxromnethsothsetxornepntwkhwbkhumprimatrkhxngxntha nxkcaknikyngmiesllildichthiyngimecriyetmthi aemkhokhrfacaethrk aela esllenuxeyuxbuphiw praktxyuechnkn kareliyngkhxngeluxdaelakarrabaynaehluxng kareliyngkhxngeluxdaelakhxngxnthaaelathungxnthannmikhwamaetktangkn dngni khukhxngaeykxxkmaodytrngcakexxxrtaswnthxngaelathxdtwlngphan khnathithungxnthaaelaxwywasubphnthuphaynxkxunnnaeykxxkmacak sungaekhnnghnungkhxng xnthamieluxdipeliyngcak 1 aekhnngkhxng aela 2 aekhnngkhxng dngnn thahlxdeluxdaedngxnthathukmd echn rahwangkarthaaebbfawelxr stiewnsinxnthathiimekhluxnlngthixyusung xnthacaidrbeluxdcakaehlngxunmaeliyngaethn karrabaynaehluxngkhxngxnthacarabayiptamhlxdeluxdaedngxnthaipyng khnathinaehluxngcakthungxnthacarabayekhasuchn source source source aebbcalxngsammitikhxngchnthihxhumxntha lksnathangkaywiphakhhlayprakarkhxngxnthainphuihynnsathxnthungtnkaenidinchxngthxng odychnkhxngenuxeyuxthihxhumxnthannmacakchntang khxngswnhnaecriykhunmacak twknrahwangeluxdkbxntha omelkulkhnadihycaimsamarthphancakeluxdipyngchxngphayinhlxdkhxnghlxdsrangxsuciid enuxngcakmiithtcngkchnxyurahwangesllesxrotlithitidkn eslltnkaenidtwxsucicaxyubriewnswnthan luklngipinradbkhxngithtcngkchn aelarupaebbthiecriyetibotmakkhun echn sepxrmaothistpthmphumiaelathutiyphumi aela sepxrmathid caxyubriewnswnchxngphayinhlxd hnathikhxngtwknxacmikhunephuxpxngknptikiriyaphumitantnexng sungtwxsucithiecriyetmthi aelaaexntiecnkhxngmn capraktxxkmaxyangminysakhyhlngcakkarthnphumitanthan immune tolerance ekidkhuninwythark enuxngcaktwxsucinnmikhwamaetktangthangaexntiecncakenuxeyuxkhxngrangkay dngnn stwephsphuaelamnusyephschaycasamarthekidkartxbsnxngthangphumikhumkntxtwxsucikhxngtwexngid aelayngsamarthsrangsarphumitanthankhunmatxtantwxsuciidechnkn karchidaexntiecnkhxngtwxsucicathaihekidkarxkesbkhxngxntha xnthaxkesbehtuphumitantnexng aelathaihphawaecriyphnthuldlng odytwknrahwangeluxdkbxnthaxacldoxkasthioprtinkhxngtwxsucicaipkratunkartxbsnxngthangphumikhumkn ldphawaecriyphnthu aela thaihmithayathid karkhwbkhumaelakartxbsnxngtxxunhphumi karsrangsepirmcaephimkhunthixunhphumitakwaxunhphumirangkayelknxy karsrangxsucicamiprasiththiphaphnxykwainxunhphumithitaaelasungkwa 33 xngsaeslesiys enuxngcakkarthixnthaxyunxkrangkay enuxeyuxeriybkhxngthungxnthacungsamarthekhluxnxnthaekhahruxxxkhangcakrangkayid xunhphumikhxngxnthacathukrksaiwxyuthi 34 4 xngsaeslesiys sungtakwaxunhphumikhxngrangkayelknxy aelathixunhphumi 36 7 xngsaeslesiyscakhdkhwangkarsrangxsuci miklikhlayxyangthiichinkarrksaxunhphumithiehmaasmkhxngxntha klamenuxkhrimasetxrepnklamenuxthipkkhlumxnthaaelaiw emuxklamenuxhdtw sayrngxnthacasnlngaelaxnthacaekhluxnekhaiklrangkaymakkhun sungcaihkhwamxbxunephimkhunelknxy ephuxrksaxunhphumithiehmaasmkhxngxntha emuxtxngkariheynlng klamenuxkhrimasetxrcakhlaytw aelaxnthacaekhluxnhangcakrangkaythixun aelacasamartheynlngid karhdtwyngekidkhunidephuxtxbsnxngtxkhwamekhriydkhxngrangkayid echn karbadecb odyxnthaxaccahdtwxxkcakthungxnthaaelaekhaiklrangkayihmakthisudephuxpkpxngtwxntha epnrieflksthiykxnthakhun nxkcakniyngsamarthykxnthaidodysmkhricdwyodyichklamenux sungcaipkratunklamenuxthiekiywkhxngbangswn karaesdngxxkthangyinaelaoprtin cionmmnusyprakxbdwyyinthiekharhsoprtinpraman 20 000 yin odyrxyla 80 khxngyinthiaesdngxxkehlanixyuinxnthaphuihy odyxnthamisdswnkhxngyinechphaatxenuxeyuxsungthisudemuxethiybkbxwywaaelaenuxeyuxxun odymipraman 1 000 yinthimikhwamcaephaaxyangmaksahrbxntha aelapraman 2 200 yinthiaesdngrupaebbkhxngkaraesdngxxkthisungkhun yinehlaniswnihycaekharhsoprtinthipraktxyuinhlxdsrangxsuci aelamihnathithiekiywkhxngkbkarsrangtwxsuci esllxsucicaaesdngoprtinthithaihekidkarphthnainaeflecllm odyoprtinchnidediywknnithipraktxyuinesllthibukhxngephshying cathaihekidkarphthnakhxngsieliykhun sungaeflecllmkhxngesllxsuciaelasieliykhxngthxnaikhepnokhrngsrangthimi swnoprtincaephaakhxngxnthathimiradbkaraesdngxxksungthisud khuxphthnakarkarecriyetibotkhxngxnthaxyangmakaebngxxkepnsxngraya nnkhux rayaexmbriox aela rayawyerimecriyphnthu rayaexmbrioxaelarayawyerimecriyphnthu inrahwangkarphthnakhxngstweliynglukdwynm txmbngephsintxnaerkcamikhwamsamarthinkarklayepnrngikhhruxxnthaid inmnusy caerimkhuntngaetspdahthi 4 epniptn txmbngephscapraktxyuinsungxyutidkbitthikalngphthna pramanspdahthi 6 caphthnakhunphayinxnthathikalngkxtw odyprakxbdwy esllesxrotlichwngaerkthilxmrxbaelahlxeliyngesllsubphnthu thiekhluxnekhasutxmbngephsidimnankxncaerimmikarkahndephskhun inephschay yinsungepnyinechphaaephsthiphbinokhromosmway caerimtnkarkahndephsodykarkhwbkhumsarthikahndinkhnplay echn GATA4 SOX9 aela AMH sungcanaipsukarphthnarupaebbpraktkhxngephschay rwmthung karkahndihsrangxngkhchatodytrngkhxngtxmbngephsrayaaerkekhasukarphthnathangephschay xnthacaekhluxniptam withiekhluxnlng cakcudthisunginchxngthxngdanhlngkhxngtharkinkhrrph ipyngwngaehwnkhahnibaelalngipinkhlxngkhahnib ekhasuthungxntha inkrniswnihy rxyla 97 khxngedkkhlxdkhrbkahnd aelarxyla 70 khxngedkkhlxdkxnkahnd xnthathngsxngkhangcaekhluxnlngmatngaetekid swnkrnixunswnmakcaepnkarlngmaephiyngkhangediyw aelaxacmikarekhluxnlngidexngphayinhnungpi xnthacaetibotkhunephuxtxbsnxngtxkarerimtnkarsrangxsuci khnadcakhunxyukbkarthangankhxngiltik karsrangxsuci canwnkarsrangxsucithipraktinxntha aela karsrangkhxngehlwodyesllesxrotli odyxnthanncalngmaxyangetmthikxnthiphuchaycaekhasuwyerimecriyphnthuphaphxunxnthakhxngaemw prakxbdwy 1 Extremitas capitata 2 Extremitas caudata 3 Margo epididymalis 4 Margo liber 5 Mesorchium 6 Epididymis 7 testicular artery and vene 8 Ductus deferens phunphiwkhxngxntha phaphtdkhwangkhxngxntha xnthakhangkhwa emuxepidchnthunika waicnalis tunica vaginalis lukxnthainthungxnthaxangxingSteger Klaus Weidner Wolfgang 2011 Anatomy of the Male Reproductive System Practical Urology Essential Principles and Practice Springer Science amp Business Media p 57 ISBN 978 1 84 882034 0 2007 Jan 69 1 152 7 doi 10 1016 j urology 2006 09 012 Testicular volume measurement comparison of ultrasonography orchidometry and water displacement Testicular volume correlation of ultrasonography orchidometer and caliper measurements in children Cooper TG Semen analysis In Nieschlag E Behre HM Nieschlag S editors Andrology Male Reproductive Health and Dysfunction 3rd ed Heidelberg Springer 2010 p125 54 Condorelli Rosita Calogero Aldo E La Vignera Sandro 2013 Relationship between Testicular Volume and Conventional or Nonconventional Sperm Parameters International Journal of Endocrinology 2013 1 6 doi 10 1155 2013 145792 PMID 24089610 Cho S Bae J H 2017 Penis and Testis Clinical Regenerative Medicine in Urology Springer p 281 ISBN 978 9 81 102723 9 Pocock Gillian Richards Christopher D Richards David A 2018 Human Physiology Oxford University Press p 766 ISBN 978 0 19 873722 3 Histology A Text and Atlas by Michael H Ross and Wojciech Pawlina Lippincott Williams amp Wilkins 5th ed 2006 txngkarelkhhna Huhtaniemi Ilpo 2018 Encyclopedia of Endocrine Diseases Academic Press p 667 ISBN 978 0 12 812200 6 Schlegel P N Katzovitz M A 2020 Male Reproductive Physiology Urologic Principles and Practice Springer Nature p 50 ISBN 978 3 03 028599 9 Tubbs R Shane Shoja Mohammadali M Loukas Marios 2016 Bergman s Comprehensive Encyclopedia of Human Anatomic Variation John Wiley amp Sons p 1393 ISBN 978 1 11 843068 2 Steger Klaus Weidner Wolfgang 2011 Anatomy of the Male Reproductive System Practical Urology Essential Principles and Practice Springer Science amp Business Media p 63 ISBN 978 1 84 882034 0 de Jong M Robert 2020 Sonography Scanning E Book Principles and Protocols Elsevier Health Sciences p 343 ISBN 978 0 32 376425 4 Song David H Neligan Peter C 2017 Plastic Surgery E Book Volume 4 Trunk and Lower Extremity Elsevier Health Sciences p 293 ISBN 978 0 32 335707 4 Uhlen Mathias Fagerberg Linn Hallstrom Bjorn M Lindskog Cecilia Oksvold Per Mardinoglu Adil Sivertsson Asa Kampf Caroline Sjostedt Evelina 2015 01 23 Tissue based map of the human proteome Science phasaxngkvs 347 6220 1260419 doi 10 1126 science 1260419 ISSN 0036 8075 PMID 25613900 S2CID 802377 Djureinovic D Fagerberg L Hallstrom B Danielsson A Lindskog C Uhlen M Ponten F 2014 06 01 The human testis specific proteome defined by transcriptomics and antibody based profiling MHR Basic Science of Reproductive Medicine 20 6 476 488 doi 10 1093 molehr gau018 ISSN 1360 9947 PMID 24598113 The human proteome in testis The Human Protein Atlas www proteinatlas org Online textbook Developmental Biology 6th ed By Scott F Gilbert 2000 published by Sinauer Associates Inc of Sunderland MA bthkhwamkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk