จุดบอดต่อความเอนเอียง (อังกฤษ: bias blind spot) เป็นความเอนเอียงทางประชาน ที่เรารู้จัก/รู้จำว่า การประเมินตัดสินใจของผู้อื่นมีผลมาจากความเอนเอียง แต่ไม่รู้จัก/รู้จำว่า การประเมินตัดสินใจของเราเองก็มีผลมาจากความเอนเอียงด้วย ชื่อนี้บัญญัติโดย ศ.ญ.ดร. เอมิลี โพรนิน ของคณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน และเพื่อนร่วมงาน โดยตั้งตามจุดบอดทางตา
เหตุ
จุดบอดอาจเกิดจากความเอนเอียงและการหลอกตัวเอง (self-deception) แบบอื่น ๆ
Self-enhancement bias (ความเอนเอียงในการยกตน) อาจจะมีบทบาท คือเรามีแรงจูงใจที่จะมองตนในแง่ดี แต่เพราะว่าความเอนเอียงเป็นสิ่งที่ไม่น่าชอบใจ ดังนั้น เรามักจะคิดว่าการรับรู้และการตัดสินใจของเรานั้นมีเหตุผล แม่นยำ และปราศจากความเอนเอียง และเรามักจะมีความเอนเอียงในการยกตนเมื่อต้องวิเคราะห์การตัดสินใจของตนด้วย คือเรามักจะคิดว่า เราตัดสินใจได้ดีกว่าคนอื่น ๆ
นอกจากนั้นแล้ว เรายังเชื่อด้วยว่า เรารู้ว่าทำไมและอย่างไรเราจึงตัดสินใจเช่นนี้ และดังนั้นก็จะสรุปว่า ความเอนเอียงต่าง ๆ ไม่มีอิทธิพล แต่ว่า การตัดสินใจหลายอย่างของเราเกิดจากความเอนเอียงและวิธีทางลัดทางประชาน (ฮิวริสติก) ซึ่งเป็นกระบวนการจิตใต้สำนึก ที่เราไม่สามารถรับรู้ได้ และดังนั้น เราจะไม่สามารถเห็นอิทธิพลของกระบวนการเหล่านั้นในการตัดสินใจของเรา
ถึงแม้ว่าเราอาจจะมีข้อมูลว่าเรามีความเอนเอียงต่าง ๆ ในการรับรู้ ในการตัดสินใจ และในการประเมิน ผลงานวิจัยกลับพบว่า เราก็ยังไม่สามารถที่จะควบคุมความเอนเอียงต่าง ๆ เหล่านั้น นี่ส่งผลให้เรามีจุดบอด คือว่าแม้จะมีข้อมูลว่าเรามีความเอนเอียง แต่เราก็ยังไม่สามารถเปลี่ยนกระบวนการทางประชานที่ประกอบด้วยความเอนเอียงเหล่านั้น
บทบาทของการพินิจภายใน
ศ.ญ.ดร. โพรนินและเพื่อนร่วมงานอ้างว่า ปรากฏการณ์นี้มีเหตุมาจากการแปลการพินิจภายในผิด (introspection illusion) ในงานทดลองของพวกเขา มีการให้ผู้ร่วมการทดลองประเมินตนเองและผู้อื่น ผลปรากฏว่าผู้ร่วมการทดลองมีความเอนเอียงที่ปกติทั่วไป เช่นให้คะแนนตัวเองสูงกว่าผู้อื่นเกี่ยวกับคุณลักษณะต่าง ๆ ที่น่าชอบใจ (คือแสดง illusory superiority คือความเหนือกว่าลวง) ต่อจากนั้น ผู้ทำการทดลองก็อธิบายเรื่องความเอนเอียงทางประชาน และถามผู้ร่วมการทดลองว่า การประเมินของผู้ร่วมการทดลองได้รับอิทธิพลจากความเอนเอียงหรือไม่ ผู้ร่วมการทดลองให้คะแนนตนเองว่า มีโอกาสเสี่ยงต่อความเอนเอียงน้อยกว่าผู้ร่วมการทดลองอื่น (ซึ่งเป็นหลักฐานยืนยันว่ามีจุดบอดต่อความเอนเอียง) และเมื่อต้องอธิบายเหตุผลการประเมินของตน ผู้ร่วมการทดลองใช้วิธีการประเมินที่ต่างกันเมื่อประเมินความเอนเอียงของตนเอง และเมื่อประเมินผู้อื่น
นักวิจัยกลุ่มนี้ตีความว่า เมื่อเราจะประเมินว่าคนอื่นมีความเอนเอียงหรือไม่ เราจะสังเกตดูพฤติกรรมที่แสดงออก ในนัยตรงกันข้ามกัน เมื่อประเมินว่าเราเองมีความเอนเอียงหรือไม่ เราจะมองภายในตัวเรา สังเกตหาความคิดและความรู้สึกที่เป็นเหตุจูงใจให้เกิดความเอนเอียง แต่เนื่องจากว่า ความเอนเอียงต่าง ๆ ทำงานใต้จิตสำนึก ดังนั้น การพินิจภายในเช่นนี้จึงไม่สำเร็จประโยชน์ แต่อย่างไรก็ดี เรามักจะเห็นความคิดความรู้สึกเหล่านั้นว่า เป็นตัวบ่งชี้ที่เชื่อถือได้ว่า ตนเองไม่เสี่ยงต่อความเอนเอียงซึ่งไม่เหมือนกับคนอื่น
จากนั้นนักวิจัยก็พยายามให้ข้อมูลผู้ร่วมการทดลองเกี่ยวกับการพินิจภายในของผู้อื่น คือ นักวิจัยอัดเสียงของผู้ร่วมการทดลองที่กล่าวเรื่องที่ตนคิดเมื่อกำลังประเมินตนเองว่า คำตอบที่ให้ในคำถามที่ผ่านมามีอิทธิพลจากความเอนเอียงหรือไม่ ผลก็คือ แม้ว่า ผู้ร่วมการทดลองจะเชื่อว่าตนเองมีโอกาสน้อยที่จะมีความเอนเอียง แต่ว่าการรายงานการพินิจภายในของตน กลับไม่มีอิทธิพลต่อผู้อื่นเมื่อผู้อื่นประเมินความเอนเอียงของบุคคลนั้น
ความแตกต่างในการรับรู้
เรามักจะประเมินความเอนเอียงอย่างไม่สมมาตร เมื่อเรารู้ต่างจากคนอื่น เรามักจะกล่าวว่าคนอื่นมีความเอนเอียง และตนเองมีการรับรู้ที่แม่นยำและไม่มีความเอนเอียง ดร. โพรนินมีสมมุติฐานว่าการยกคนอื่นว่ามีความเอนเอียงอย่างผิด ๆ เช่นนี้ อาจจะเป็นเหตุแห่งความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันในระหว่างบุคคล ยกตัวอย่างเช่น เมื่อคิดว่าคนอื่นมีความเอนเอียง เราอาจจะตั้งความสงสัยในเจตนาของคนนั้น แต่เมื่อเราสำรวจการรับรู้ของเราเอง เราจะประเมินตนเองโดยใช้เจตนาที่ดีของเรา ดังนั้นในกรณีนี้ มีโอกาสเป็นไปได้ที่เราจะโทษความเอนเอียงของคนอื่นว่าเป็นเจตนาที่ไม่ดี ไม่ใช่ว่าเป็นกระบวนการใต้จิตสำนึก
ดร. โพรนินยังมีสมมุติฐานเกี่ยวกับการใช้ความสำนึกในเรื่องจุดบอด เพื่อลดความขัดแย้ง และเพื่อการคิดโดยมีข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ที่ดีกว่า แม้ว่าเราจะไม่สามารถควบคุมความเอนเอียงที่เกิดในระบบประชานของเรา เราอาจจะทำไว้ในใจได้ว่า ความเอนเอียงนั้นเกิดขึ้นกับทุกคน ดร. โพรนินเสนอว่า เราอาจจะใช้ความรู้นี้ ในการแยกเจตนา (ที่ดี) และการกระทำของผู้อื่น (ที่อาจประกอบด้วยความเอนเอียงที่ไม่ได้ตั้งใจ)
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ blind spot ว่า "จุดบอด"
- Pronin, E.; Lin, D.; Ross, L (2002). "The Bias Blind Spot: Perceptions Of Bias In Self Versus Others". Personality and Social Psychology Bulletin. 28 (3): 369–381.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - . Center for Behavioral and Decision Research at Carnegie Mellon. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 23, 2011. สืบค้นเมื่อ 2015-04-07.
- Antony, P (2009). "Unconscious bias and the limits of director independence". University of Illinois Law Review. 1: 237–294.
- Pronin, E (2007). "Perception and misperception of bias In human judgment". Trends in Cognitive Sciences. 11 (1): 37–43.
- Gilovich, Thomas; Epley, Nicholas; Hanko, Karlene (2005). "Shallow Thoughts About the Self: The Automatic Components of Self-Assessment". ใน Alicke, Mark D; Dunning,David A; Krueger, Joachim I. (บ.ก.). The Self in Social Judgment. Studies in Self and Identity. New York: Psychology Press. p. 77. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: editors list () - Pronin, Emily; Kugler, Matthew B. (July 2007). "Valuing thoughts, ignoring behavior: The introspection illusion as a source of the bias blind spot". Journal of Experimental Social Psychology. Elsevier. 43 (4): 565–578. doi:10.1016/j.jesp.2006.05.011. ISSN 0022-1031.
- Pronin, E (2008). "How we see ourselves and how we see others". Science. 320 (5880): 1177–1180.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
cudbxdtxkhwamexnexiyng xngkvs bias blind spot epnkhwamexnexiyngthangprachan thieraruck rucawa karpraemintdsinickhxngphuxunmiphlmacakkhwamexnexiyng aetimruck rucawa karpraemintdsinickhxngeraexngkmiphlmacakkhwamexnexiyngdwy chuxnibyytiody s y dr exmili ophrnin khxngkhnacitwithya mhawithyalyphrinstn aelaephuxnrwmngan odytngtamcudbxdthangtaehtucudbxdxacekidcakkhwamexnexiyngaelakarhlxktwexng self deception aebbxun Self enhancement bias khwamexnexiynginkaryktn xaccamibthbath khuxeramiaerngcungicthicamxngtninaengdi aetephraawakhwamexnexiyngepnsingthiimnachxbic dngnn eramkcakhidwakarrbruaelakartdsinickhxngerannmiehtuphl aemnya aelaprascakkhwamexnexiyng aelaeramkcamikhwamexnexiynginkaryktnemuxtxngwiekhraahkartdsinickhxngtndwy khuxeramkcakhidwa eratdsiniciddikwakhnxun nxkcaknnaelw erayngechuxdwywa eraruwathaimaelaxyangireracungtdsinicechnni aeladngnnkcasrupwa khwamexnexiyngtang immixiththiphl aetwa kartdsinichlayxyangkhxngeraekidcakkhwamexnexiyngaelawithithangldthangprachan hiwristik sungepnkrabwnkarcititsanuk thieraimsamarthrbruid aeladngnn eracaimsamarthehnxiththiphlkhxngkrabwnkarehlanninkartdsinickhxngera thungaemwaeraxaccamikhxmulwaeramikhwamexnexiyngtang inkarrbru inkartdsinic aelainkarpraemin phlnganwicyklbphbwa erakyngimsamarththicakhwbkhumkhwamexnexiyngtang ehlann nisngphliheramicudbxd khuxwaaemcamikhxmulwaeramikhwamexnexiyng aeterakyngimsamarthepliynkrabwnkarthangprachanthiprakxbdwykhwamexnexiyngehlannbthbathkhxngkarphinicphayins y dr ophrninaelaephuxnrwmnganxangwa praktkarnnimiehtumacakkaraeplkarphinicphayinphid introspection illusion innganthdlxngkhxngphwkekha mikarihphurwmkarthdlxngpraemintnexngaelaphuxun phlpraktwaphurwmkarthdlxngmikhwamexnexiyngthipktithwip echnihkhaaenntwexngsungkwaphuxunekiywkbkhunlksnatang thinachxbic khuxaesdng illusory superiority khuxkhwamehnuxkwalwng txcaknn phuthakarthdlxngkxthibayeruxngkhwamexnexiyngthangprachan aelathamphurwmkarthdlxngwa karpraeminkhxngphurwmkarthdlxngidrbxiththiphlcakkhwamexnexiynghruxim phurwmkarthdlxngihkhaaenntnexngwa mioxkasesiyngtxkhwamexnexiyngnxykwaphurwmkarthdlxngxun sungepnhlkthanyunynwamicudbxdtxkhwamexnexiyng aelaemuxtxngxthibayehtuphlkarpraeminkhxngtn phurwmkarthdlxngichwithikarpraeminthitangknemuxpraeminkhwamexnexiyngkhxngtnexng aelaemuxpraeminphuxun nkwicyklumnitikhwamwa emuxeracapraeminwakhnxunmikhwamexnexiynghruxim eracasngektduphvtikrrmthiaesdngxxk innytrngknkhamkn emuxpraeminwaeraexngmikhwamexnexiynghruxim eracamxngphayintwera sngekthakhwamkhidaelakhwamrusukthiepnehtucungicihekidkhwamexnexiyng aetenuxngcakwa khwamexnexiyngtang thanganitcitsanuk dngnn karphinicphayinechnnicungimsaercpraoychn aetxyangirkdi eramkcaehnkhwamkhidkhwamrusukehlannwa epntwbngchithiechuxthuxidwa tnexngimesiyngtxkhwamexnexiyngsungimehmuxnkbkhnxun caknnnkwicykphyayamihkhxmulphurwmkarthdlxngekiywkbkarphinicphayinkhxngphuxun khux nkwicyxdesiyngkhxngphurwmkarthdlxngthiklaweruxngthitnkhidemuxkalngpraemintnexngwa khatxbthiihinkhathamthiphanmamixiththiphlcakkhwamexnexiynghruxim phlkkhux aemwa phurwmkarthdlxngcaechuxwatnexngmioxkasnxythicamikhwamexnexiyng aetwakarrayngankarphinicphayinkhxngtn klbimmixiththiphltxphuxunemuxphuxunpraeminkhwamexnexiyngkhxngbukhkhlnnkhwamaetktanginkarrbrueramkcapraeminkhwamexnexiyngxyangimsmmatr emuxerarutangcakkhnxun eramkcaklawwakhnxunmikhwamexnexiyng aelatnexngmikarrbruthiaemnyaaelaimmikhwamexnexiyng dr ophrninmismmutithanwakarykkhnxunwamikhwamexnexiyngxyangphid echnni xaccaepnehtuaehngkhwamkhdaeyngaelakhwamimekhaickninrahwangbukhkhl yktwxyangechn emuxkhidwakhnxunmikhwamexnexiyng eraxaccatngkhwamsngsyinectnakhxngkhnnn aetemuxerasarwckarrbrukhxngeraexng eracapraemintnexngodyichectnathidikhxngera dngnninkrnini mioxkasepnipidthieracaothskhwamexnexiyngkhxngkhnxunwaepnectnathiimdi imichwaepnkrabwnkaritcitsanuk dr ophrninyngmismmutithanekiywkbkarichkhwamsanukineruxngcudbxd ephuxldkhwamkhdaeyng aelaephuxkarkhidodymikhxmulechingwithyasastrthidikwa aemwaeracaimsamarthkhwbkhumkhwamexnexiyngthiekidinrabbprachankhxngera eraxaccathaiwinicidwa khwamexnexiyngnnekidkhunkbthukkhn dr ophrninesnxwa eraxaccaichkhwamruni inkaraeykectna thidi aelakarkrathakhxngphuxun thixacprakxbdwykhwamexnexiyngthiimidtngic echingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitsthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng blind spot wa cudbxd Pronin E Lin D Ross L 2002 The Bias Blind Spot Perceptions Of Bias In Self Versus Others Personality and Social Psychology Bulletin 28 3 369 381 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Center for Behavioral and Decision Research at Carnegie Mellon khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux July 23 2011 subkhnemux 2015 04 07 Antony P 2009 Unconscious bias and the limits of director independence University of Illinois Law Review 1 237 294 Pronin E 2007 Perception and misperception of bias In human judgment Trends in Cognitive Sciences 11 1 37 43 Gilovich Thomas Epley Nicholas Hanko Karlene 2005 Shallow Thoughts About the Self The Automatic Components of Self Assessment in Alicke Mark D Dunning David A Krueger Joachim I b k The Self in Social Judgment Studies in Self and Identity New York Psychology Press p 77 ISBN 978 1 84169 418 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names editors list Pronin Emily Kugler Matthew B July 2007 Valuing thoughts ignoring behavior The introspection illusion as a source of the bias blind spot Journal of Experimental Social Psychology Elsevier 43 4 565 578 doi 10 1016 j jesp 2006 05 011 ISSN 0022 1031 Pronin E 2008 How we see ourselves and how we see others Science 320 5880 1177 1180