เฮลิโอสเฟียร์ หรือ สุริยมณฑล (อังกฤษ: Heliosphere) เป็นปริมณฑลแรงแม่เหล็ก (magnetoshpere) ที่ถูกสร้างขึ้นโดยดวงอาทิตย์และห่อหุ้มระบบสุริยะเอาไว้ โดยมีลักษณะคล้ายฟองอากาศอยู่ในห้วงอวกาศ ที่พองตัวอยู่ในสสารระหว่างดาว ซึ่งเป็นผลจากลมสุริยะ ทำหน้าที่ปกป้องระบบสุริยะจากรังสีคอสมิก แม้จะมีอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าส่วนหนึ่งจากสสารระหว่างดาวสามารถลอดเข้ามาภายในเฮลิโอสเฟียร์ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วสสารส่วนใหญ่ที่อยู่ภายในเฮลิโอสเฟียร์ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น
ในรัศมี 10,000 ล้านกิโลเมตรแรก ลมสุริยะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง จากนั้นจึงเริ่มชะลอและสลายไปในสสารระหว่างดาว ลมสุริยะจะชะลอความเร็วลงจนหยุดลงในที่สุดและรวมไปในมวลสารเหล่านั้น จุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงเรียกว่า กำแพงกระแทก (termination shock) จุดที่แรงดันของสสารระหว่างดาวกับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกันเรียกว่า เฮลิโอพอส (heliopause) จุดที่สสารระหว่างดาวเคลื่อนที่ในทางตรงกันข้าม คือชะลอตัวลงเมื่อปะทะเข้ากับเฮลิโอสเฟียร์ เรียกว่า โบว์ช็อค (bow shock)
ลมสุริยะ
ลมสุริยะ ประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ อะตอมที่มีประจุจากโคโรนาของดวงอาทิตย์ และสนามแม่เหล็ก ลักษณะของสนามแม่เหล็กที่ส่งออกมาจากดวงอาทิตย์ผ่านลมสุริยะมีลักษณะเป็นเกลียว ทั้งนี้เนื่องจากดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเองทุกๆ ระยะ 27 วัน ลมสุริยะนำพาเอาความเปลี่ยนแปรของสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ไปกับมันด้วย และทำให้เกิดพายุแม่เหล็กขึ้นในแม็กนีโตสเฟียร์ของโลก
เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2005 มีรายงานการตรวจวัดจากเครื่องมือวัด Solar Wind Anisotropies (SWAN) ซึ่งติดตั้งอยู่บนยานโซโฮ ถึงลักษณะของเฮลิโอสเฟียร์ซึ่งเป็นขอบเขตของลมสุริยะที่ปกป้องระบบของเราเอาไว้ มีลักษณะที่ไม่สมมาตร แต่มีการลดทอนกำลังลงด้วยผลกระทบจากสนามแม่เหล็กของดาราจักร
โครงสร้าง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กำแพงกระแทก
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เฮลิโอชีท
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โบว์ช็อค
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- Dr. David H. Hathaway (January 18, 2007). . NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-13. สืบค้นเมื่อ 2007-12-11.
- Britt, Robert Roy (March 15, 2000). . SPACE.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-01-11. สืบค้นเมื่อ 2006-05-24.
แหล่งข้อมูลอื่น
- กลุ่มวิจัยระบบสุริยะและเฮลิโอสเฟียร์ มหาวิทยาลัยมิชิแกน 2019-01-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- วัตถุที่เฝ้าสังเกต 2007-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนโดยยานสำรวจระหว่างดาว 2010-12-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ขององค์การนาซา
- CNN: NASA: Voyager I enters solar system's final frontier – 25 พฤษภาคม 2005
- New Scientist: Voyager 1 reaches the edge of the solar system 2007-02-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – 25 พฤษภาคม 2005
- Surprises from the Edge of the Solar System 2007-03-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – การค้นพบล่าสุดของวอยเอจเจอร์ 1 : กันยายน 2006
- The heliospheric hydrogen wall and astrospheres
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ehlioxsefiyr hrux suriymnthl xngkvs Heliosphere epnprimnthlaerngaemehlk magnetoshpere thithuksrangkhunodydwngxathityaelahxhumrabbsuriyaexaiw odymilksnakhlayfxngxakasxyuinhwngxwkas thiphxngtwxyuinssarrahwangdaw sungepnphlcaklmsuriya thahnathipkpxngrabbsuriyacakrngsikhxsmik aemcamixatxmthiepnklangthangiffaswnhnungcakssarrahwangdawsamarthlxdekhamaphayinehlioxsefiyrid aetodythwipaelwssarswnihythixyuphayinehlioxsefiyrlwnmitnkaenidmacakdwngxathitythngsinaephnphaphaesdngkhunlksnakhxngehlioxsefiyr inrsmi 10 000 lankiolemtraerk lmsuriyaekhluxnthidwykhwamerwmakkwa 1 lankiolemtrtxchwomng caknncungerimchalxaelaslayipinssarrahwangdaw lmsuriyacachalxkhwamerwlngcnhyudlnginthisudaelarwmipinmwlsarehlann cudthilmsuriyachalxkhwamerwlngeriykwa kaaephngkraaethk termination shock cudthiaerngdnkhxngssarrahwangdawkblmsuriyaekhasusmdulkneriykwa ehlioxphxs heliopause cudthissarrahwangdawekhluxnthiinthangtrngknkham khuxchalxtwlngemuxpathaekhakbehlioxsefiyr eriykwa obwchxkh bow shock lmsuriyalmsuriya prakxbdwyxnuphakhelk xatxmthimipracucakokhornakhxngdwngxathity aelasnamaemehlk lksnakhxngsnamaemehlkthisngxxkmacakdwngxathityphanlmsuriyamilksnaepnekliyw thngnienuxngcakdwngxathityhmunrxbtwexngthuk raya 27 wn lmsuriyanaphaexakhwamepliynaeprkhxngsnamaemehlkkhxngdwngxathityipkbmndwy aelathaihekidphayuaemehlkkhuninaemkniotsefiyrkhxngolk emuxeduxnminakhm kh s 2005 mirayngankartrwcwdcakekhruxngmuxwd Solar Wind Anisotropies SWAN sungtidtngxyubnyanosoh thunglksnakhxngehlioxsefiyrsungepnkhxbekhtkhxnglmsuriyathipkpxngrabbkhxngeraexaiw milksnathiimsmmatr aetmikarldthxnkalnglngdwyphlkrathbcaksnamaemehlkkhxngdarackrokhrngsrangswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkaaephngkraaethkswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidehlioxchithswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidobwchxkhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingDr David H Hathaway January 18 2007 NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 08 13 subkhnemux 2007 12 11 Britt Robert Roy March 15 2000 SPACE com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2001 01 11 subkhnemux 2006 05 24 aehlngkhxmulxunklumwicyrabbsuriyaaelaehlioxsefiyr mhawithyalymichiaekn 2019 01 18 thi ewyaebkaemchchin wtthuthiefasngekt 2007 10 07 thi ewyaebkaemchchinodyyansarwcrahwangdaw 2010 12 10 thi ewyaebkaemchchin khxngxngkhkarnasa CNN NASA Voyager I enters solar system s final frontier 25 phvsphakhm 2005 New Scientist Voyager 1 reaches the edge of the solar system 2007 02 16 thi ewyaebkaemchchin 25 phvsphakhm 2005 Surprises from the Edge of the Solar System 2007 03 08 thi ewyaebkaemchchin karkhnphblasudkhxngwxyexcecxr 1 knyayn 2006 The heliospheric hydrogen wall and astrospheresbthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk