บทนิยามเวียนเกิด (อังกฤษ: recursive definition) หรือบทนิยามแบบอุปนัย (อังกฤษ: inductive definition) เป็นคณิตตรรกศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่ใช้นิยามสมาชิกในเซตหนึ่งในพจน์สมาชิกอื่นในเซต
บทนิยามเวียนเกิดของฟังก์ชันนิยามค่าของฟังก์ชันสำหรับค่าป้อนเข้าบางค่าในพจน์ค่าของฟังก์ชันเดิมสำหรับค่าป้อนเข้าอื่น ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันแฟกทอเรียล n! นิยามด้วยกฎดังนี้
- 0! = 1.
- (n+1)! = (n+1)·n!.
บทนิยามนี้สมเหตุสมผลสำหรับทุก n เพราะการเวียนกลับสุด้ายจะถึงกรณีฐาน 0 บทนิยามนี้อาจยังคิดได้เป็นการให้กระบวนงานอธิบายการสร้างฟังก์ชัน n! โดยเริ่มจาก n = 0 แล้วต่อไปเป็น n = 1, n = 2, n = 3 เป็นต้น
ทฤษฎีบทเวียนเกิดระบุว่า บทนิยามดังนี้นิยามฟังก์ชันหนึ่ง ข้อพิสูจน์ใช้การอุปนัยทางคณิตศาสตร์
บทนิยามแบบอุปนัยของเซตอธิบายสมาชิกในเซตในพจน์สมาชิกอื่นในเซต ตัวอย่างเช่น บทนิยามหนึ่งของเซต N ของจำนวนธรรมชาติเป็นดังนี้
- 1 อยู่ใน N.
- หากสมาชิก n อยู่ใน N แล้ว n+1 อยู่ใน N
- N เป็นส่วนร่วมของทุกเซตที่เป็นไปตามข้อ (1) และ (2)
มีเซตจำนวนมากที่เป็นไปตามข้อ (1) และ (2) ตัวอย่างเช่นเซต {1, 1.649, 2, 2.649, 3, 3.649, ...} เข้าได้กับบนิยาม ทว่า เงื่อนไข (3) เจาะจงเซตจำนวนธรมชาติโดยตัดสมาชิกภายนอก
คุณสมบัติของฟังก์ชันและเซตที่นิยามเวียนเกิดสามารถพิสูจน์ได้โดยหลักการอุปนัยซึ่งเป็นไปตามบทนิยามเวียนเกิด ตัวอย่างเช่น บทนิยามของจำนวนธรรมชาติที่แสดงในที่นี้ส่อความหลักการอุปนัยทางคณิตศาสตร์สำหรับจำนวนธรรมชาติ คือ หากคุณสมบัติเข้าได้กับจำนวนธรรมชาติ 0 และคุณสมบัติเข้าได้กับ n+1 ต่อเมื่อเข้าได้กับ n แล้วคุณสมบัติจะเข้าได้กับทุกจำนวนธรรมชาติ
อ้างอิง
- (Aczel 1978:740ff).
- (Aczel 1978:742)
บรรณานุกรม
- P. Aczel (1977), "An introduction to inductive definitions", Handbook of Mathematical Logic, J. Barwise (ed.),
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthniyamewiynekid xngkvs recursive definition hruxbthniyamaebbxupny xngkvs inductive definition epnkhnittrrksastraelawithyakarkhxmphiwetxrthiichniyamsmachikinesthnunginphcnsmachikxuninest bthniyamewiynekidkhxngfngkchnniyamkhakhxngfngkchnsahrbkhapxnekhabangkhainphcnkhakhxngfngkchnedimsahrbkhapxnekhaxun twxyangechn fngkchnaefkthxeriyl n niyamdwykddngni 0 1 n 1 n 1 n bthniyamnismehtusmphlsahrbthuk n ephraakarewiynklbsudaycathungkrnithan 0 bthniyamnixacyngkhididepnkarihkrabwnnganxthibaykarsrangfngkchn n odyerimcak n 0 aelwtxipepn n 1 n 2 n 3 epntn thvsdibthewiynekidrabuwa bthniyamdngniniyamfngkchnhnung khxphisucnichkarxupnythangkhnitsastr bthniyamaebbxupnykhxngestxthibaysmachikinestinphcnsmachikxuninest twxyangechn bthniyamhnungkhxngest N khxngcanwnthrrmchatiepndngni 1 xyuin N haksmachik n xyuin N aelw n 1 xyuin N N epnswnrwmkhxngthukestthiepniptamkhx 1 aela 2 miestcanwnmakthiepniptamkhx 1 aela 2 twxyangechnest 1 1 649 2 2 649 3 3 649 ekhaidkbbniyam thwa enguxnikh 3 ecaacngestcanwnthrmchatiodytdsmachikphaynxk khunsmbtikhxngfngkchnaelaestthiniyamewiynekidsamarthphisucnidodyhlkkarxupnysungepniptambthniyamewiynekid twxyangechn bthniyamkhxngcanwnthrrmchatithiaesdnginthinisxkhwamhlkkarxupnythangkhnitsastrsahrbcanwnthrrmchati khux hakkhunsmbtiekhaidkbcanwnthrrmchati 0 aelakhunsmbtiekhaidkb n 1 txemuxekhaidkb n aelwkhunsmbticaekhaidkbthukcanwnthrrmchatixangxing Aczel 1978 740ff Aczel 1978 742 brrnanukrmP Aczel 1977 An introduction to inductive definitions Handbook of Mathematical Logic J Barwise ed