บทความนี้ไม่มีจาก |
กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะของทางเดินอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อยอาหารที่ผ่านภายในช่องปากมาแล้ว กระเพาะอาหารยังเป็นอวัยวะที่มีสภาพแวดล้อมเป็นกรด โดยมักจะมีค่าพีเอชอยู่ที่ประมาณ 1-4 โดยขึ้นกับอาหารที่รับประทานและปัจจัยอื่น ๆ นอกจากนี้ในกระเพาะอาหารยังมีการสร้างเอนไซม์เพื่อช่วยในการย่อยอาหารอีกด้วย ในศัพท์ทางการแพทย์จะเรียกโครงสร้างที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหารโดยขึ้นต้นด้วยคำว่า gastro- และ gastric ซึ่งเป็นคำในภาษาละตินที่หมายถึงกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร (Stomach) | |
---|---|
ชั้นกล้ามเนื้อส่วนนอกของกระเพาะอาหาร | |
โครงสร้างภายในกระเพาะอาหาร | |
รายละเอียด | |
ประสาท | , |
น้ำเหลือง | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | Ventriculus |
ภาษากรีก | Gaster |
MeSH | D013270 |
TA98 | A05.5.01.001 |
TA2 | 2901 |
FMA | 7148 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
หน้าที่การทำงาน
หน้าที่หลักของกระเพาะอาหารคือการย่อยสลายสารอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เล็กลงโดยอาศัยการทำงานของกรดเกลือ (hydrochloric acid) เพื่อให้ง่ายต่อการดูดซึมที่ลำไส้เล็ก นอกจากนี้กระเพาะอาหารยังมีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยโปรตีน คือเอนไซม์เพปซิน โดยในช่วงแรก เอนไซม์นี้จะถูกผลิตออกมาในรูปของเพปซิโนเจน (pepsinogen) ที่ยังไม่สามารถทำงานได้ในการย่อย แต่จะถูกเปลี่ยนเป็นเพปซินเมื่ออยู่ในสภาวะที่เป็นกรดภายในกระเพาะอาหาร นอกจากนี้แล้ว กระเพาะอาหารยังทำหน้าที่ในการดูดซึมน้ำ ไอออนต่าง ๆ รวมทั้งแอลกอฮอล์ แอสไพริน และกาเฟอีนอีกด้วย อย่างไรก็ตาม หน้าที่ของกระเพาะอาหารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตคือการผลิตสารที่เรียกว่า (intrinsic factor) ซึ่งเป็นสารที่จำเป็นในการดูดซึม
กายวิภาคศาสตร์
กระเพาะอาหารวางตัวอยู่ทางด้านซ้ายของช่องท้อง โดยอยู่ระหว่างหลอดอาหารและลำไส้เล็กตอนต้น และมีบางส่วนที่สัมผัสกับกะบังลม และมีตับอ่อนวางอยู่ใต้กระเพาะอาหารด้วย ที่ (greater curvature) ของกระเพาะอาหารยังมี (greater omentum) ห้อยลงมาคลุมอวัยวะอื่น ๆ ในช่องท้องอีกด้วย ที่บริเวณติดต่อกับหลอดอาหารและลำไส้เล็กตอนต้น จะมีที่ควบคุมการเข้าออกของสารภายในกระเพาะอาหาร ซึ่งได้แก่ (esophageal หรือ cardiac sphincter) ซึ่งแบ่งระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร และ (pyloric sphincter) ซึ่งแบ่งระหว่างกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็กตอนต้น
ส่วนของกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหารจะถูกแบ่งออกเป็นสี่ส่วน ซึ่งจะมีโครงสร้างในระดับเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน ได้แก่
- ส่วนบนสุด ปากกระเพาะ หรือส่วนคาดิแอค (cardiac) เป็นส่วนที่ติดต่อกับหลอดอาหาร
- ส่วนบน กระพุ้งกระเพาะอาหาร หรือส่วนฟันดัส (fundus)
- ส่วนกลาง (body)
- ส่วนท้าย หรือส่วนไพลอรัส (pylorus) มี กระเพาะส่วนปลาย (antrum, pylorus) และ หูรูดกระเพาะส่วนปลาย (pyloric sphincter) จะติดต่อกับลำไส้เล็กตอนต้น
ระบบไหลเวียนเลือด และระบบประสาท
หลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงกระเพาะอาหารทั้งหมดจะมาจากหลอดเลือดแดงใหญ่ซิลิแอค (celiac trunk) ซึ่งได้แก่
- หลอดเลือดแดงกระเพาะอาหารซ้าย (left gastric artery)
- หลอดเลือดแดงกระเพาะอาหารขวา (right gastric artery)
- หลอดเลือดแดงแกสโตรอิพิโพลอิกซ้าย (left gastroepiploic artery)
- หลอดเลือดแดงแกสโตรอิพิโพลอิกขวา (right gastroepiploic artery)
ส่วนระบบหลอดเลือดดำที่นำเลือดออกจากกระเพาะอาหาร ได้แก่ (splenic vein) และ (superior mesenteric vein) ซึ่งทั้งสองจะนำเลือดเข้าสู่ตับทางหลอดเลือดดำพอร์ทัล ระบบประสาทที่มาควบคุมการทำงานของกระเพาะอาหาร ได้แก่ (vagus nerve) ซึ่งกระตุ้นการทำงานของกระเพาะอาหาร ขณะที่เส้นประสาทจาก (celiac plexus) จะยับยั้งการทำงานของกระเพาะอาหาร
จุลกายวิภาคศาสตร์
โครงสร้างในระดับเนื้อเยื่อของกระเพาะอาหารโดยทั่วไปจะคล้ายกับส่วนอื่น ๆ ของทางเดินอาหาร แต่จะมีการปรับเปลี่ยนไปสำหรับการหลั่งกรดและเอนไซม์ ชั้นต่าง ๆ ของกระเพาะอาหารจากในสุดออกมานอกสุด ได้แก่
- ชั้นเยื่อเมือก (mucosa) จะประกอบด้วยชั้นของเซลล์เยื่อบุผิวที่เรียงตัวกันเป็น และยังมีชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและชั้นกล้ามเนื้อบาง ๆ อีกด้วย
- ชั้นใต้เยื่อเมือก (submucosa) อยู่ถัดออกมา ซึ่งจะประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหลัก และยังมีกลุ่มของ (Meissner's plexus) ซึ่งทำหน้าที่รับรู้แรงกดและแรงตึงภายในกระเพาะอาหาร
- ชั้นกล้ามเนื้อ (muscularis externa) สำหรับในกระเพาะอาหารจะมีชั้นกล้ามเนื้อเรียบถึงสามชั้น ซึ่งได้แก่ ชั้นใน (inner) ที่วางตัวในแนวเฉียง ชั้นกลาง (middle) ที่วางตัวเป็นวงรอบกระเพาะอาหาร และชั้นนอก (outer) ซึ่งวางตัวในแนวตามความยาวของกระเพาะอาหาร กล้ามเนื้อเหล่านี้จะช่วยในการเคลื่อนไหวและการบีบรัดของกระเพาะอาหารระหว่างการย่อย นอกจากนี้ ระหว่างกล้ามเนื้อชั้นกลางและชั้นนอก จะพบ (Auerbach's หรือ Myenteric plexus) ซึ่งเป็นแขนงประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อภายในกระเพาะอาหาร
- ชั้นเยื่อหุ้มนอกสุด (serosa) เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่หุ้มกระเพาะอาหาร และติดต่อกับ
โรคที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหารสามารถเกิดการติดเชื้อได้ ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะกระเพาะอาหารอักเสบ (gastritis) (gastric ulcer) รวมทั้ง (stomach cancer) ซึ่งการติดเชื้อในกระเพาะอาหารมักเกิดจากแบคทีเรีย (Helicobacter pylori) นอกจากนี้ การหลั่งกรดที่มากเกินไปในกระเพาะอาหารก็ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารเช่นกัน แผลในกระเพาะอาหารที่เกิดขึ้นเรื้อรังอาจนำไปสู่ภาวะกระเพาะทะลุได้อีกด้วย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir kraephaaxahar epnxwywakhxngthangedinxaharthiekiywkhxngkbkrabwnkaryxyxaharthiphanphayinchxngpakmaaelw kraephaaxaharyngepnxwywathimisphaphaewdlxmepnkrd odymkcamikhaphiexchxyuthipraman 1 4 odykhunkbxaharthirbprathanaelapccyxun nxkcakniinkraephaaxaharyngmikarsrangexnismephuxchwyinkaryxyxaharxikdwy insphththangkaraephthycaeriykokhrngsrangthiekiywkbkraephaaxaharodykhuntndwykhawa gastro aela gastric sungepnkhainphasalatinthihmaythungkraephaaxaharkraephaaxahar Stomach chnklamenuxswnnxkkhxngkraephaaxaharokhrngsrangphayinkraephaaxaharraylaexiydprasath naehluxngtwrabuphasalatinVentriculusphasakrikGasterMeSHD013270TA98A05 5 01 001TA22901FMA7148 aekikhbnwikisneths hnathikarthanganhnathihlkkhxngkraephaaxaharkhuxkaryxyslaysarxaharomelkulihyihelklngodyxasykarthangankhxngkrdeklux hydrochloric acid ephuxihngaytxkardudsumthilaiselk nxkcaknikraephaaxaharyngmihnathiphlitexnismthiichinkaryxyoprtin khuxexnismephpsin odyinchwngaerk exnismnicathukphlitxxkmainrupkhxngephpsionecn pepsinogen thiyngimsamarththanganidinkaryxy aetcathukepliynepnephpsinemuxxyuinsphawathiepnkrdphayinkraephaaxahar nxkcakniaelw kraephaaxaharyngthahnathiinkardudsumna ixxxntang rwmthngaexlkxhxl aexsiphrin aelakaefxinxikdwy xyangirktam hnathikhxngkraephaaxaharthicaepntxkardarngchiwitkhuxkarphlitsarthieriykwa intrinsic factor sungepnsarthicaepninkardudsumkaywiphakhsastrkraephaaxaharwangtwxyuthangdansaykhxngchxngthxng odyxyurahwanghlxdxaharaelalaiselktxntn aelamibangswnthismphskbkabnglm aelamitbxxnwangxyuitkraephaaxahardwy thi greater curvature khxngkraephaaxaharyngmi greater omentum hxylngmakhlumxwywaxun inchxngthxngxikdwy thibriewntidtxkbhlxdxaharaelalaiselktxntn camithikhwbkhumkarekhaxxkkhxngsarphayinkraephaaxahar sungidaek esophageal hrux cardiac sphincter sungaebngrahwanghlxdxaharkbkraephaaxahar aela pyloric sphincter sungaebngrahwangkraephaaxaharkblaiselktxntn swnkhxngkraephaaxahar kraephaaxaharcathukaebngxxkepnsiswn sungcamiokhrngsranginradbenuxeyuxthiaetktangkn idaek swnbnsud pakkraephaa hruxswnkhadiaexkh cardiac epnswnthitidtxkbhlxdxahar swnbn kraphungkraephaaxahar hruxswnfnds fundus swnklang body swnthay hruxswniphlxrs pylorus mi kraephaaswnplay antrum pylorus aela hurudkraephaaswnplay pyloric sphincter catidtxkblaiselktxntnrabbihlewiyneluxd aelarabbprasath hlxdeluxdaedngthimaeliyngkraephaaxaharthnghmdcamacakhlxdeluxdaedngihysiliaexkh celiac trunk sungidaek hlxdeluxdaedngkraephaaxaharsay left gastric artery hlxdeluxdaedngkraephaaxaharkhwa right gastric artery hlxdeluxdaedngaeksotrxiphiophlxiksay left gastroepiploic artery hlxdeluxdaedngaeksotrxiphiophlxikkhwa right gastroepiploic artery swnrabbhlxdeluxddathinaeluxdxxkcakkraephaaxahar idaek splenic vein aela superior mesenteric vein sungthngsxngcanaeluxdekhasutbthanghlxdeluxddaphxrthl rabbprasaththimakhwbkhumkarthangankhxngkraephaaxahar idaek vagus nerve sungkratunkarthangankhxngkraephaaxahar khnathiesnprasathcak celiac plexus caybyngkarthangankhxngkraephaaxahar culkaywiphakhsastr okhrngsranginradbenuxeyuxkhxngkraephaaxaharodythwipcakhlaykbswnxun khxngthangedinxahar aetcamikarprbepliynipsahrbkarhlngkrdaelaexnism chntang khxngkraephaaxaharcakinsudxxkmanxksud idaek chneyuxemuxk mucosa caprakxbdwychnkhxngeslleyuxbuphiwthieriyngtwknepn aelayngmichnkhxngenuxeyuxekiywphnaelachnklamenuxbang xikdwy chniteyuxemuxk submucosa xyuthdxxkma sungcaprakxbdwyenuxeyuxekiywphnepnhlk aelayngmiklumkhxng Meissner s plexus sungthahnathirbruaerngkdaelaaerngtungphayinkraephaaxahar chnklamenux muscularis externa sahrbinkraephaaxaharcamichnklamenuxeriybthungsamchn sungidaek chnin inner thiwangtwinaenwechiyng chnklang middle thiwangtwepnwngrxbkraephaaxahar aelachnnxk outer sungwangtwinaenwtamkhwamyawkhxngkraephaaxahar klamenuxehlanicachwyinkarekhluxnihwaelakarbibrdkhxngkraephaaxaharrahwangkaryxy nxkcakni rahwangklamenuxchnklangaelachnnxk caphb Auerbach s hrux Myenteric plexus sungepnaekhnngprasaththikhwbkhumkarthangankhxngklamenuxphayinkraephaaxahar chneyuxhumnxksud serosa epnchnkhxngenuxeyuxekiywphnthihumkraephaaxahar aelatidtxkborkhthiekiywkbkraephaaxaharkraephaaxaharsamarthekidkartidechuxid sungcathaihekidphawakraephaaxaharxkesb gastritis gastric ulcer rwmthng stomach cancer sungkartidechuxinkraephaaxaharmkekidcakaebkhthieriy Helicobacter pylori nxkcakni karhlngkrdthimakekinipinkraephaaxaharkthaihekidaephlinkraephaaxaharechnkn aephlinkraephaaxaharthiekidkhuneruxrngxacnaipsuphawakraephaathaluidxikdwy bthkhwamkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk