ไรชส์ทาค (เยอรมัน: Reichstag) คือรัฐสภาของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือและของเยอรมนี จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1945 ในปัจจุบันรัฐสภาของเยอรมนีเรียกว่า "บุนเดิสทาค" (รัฐสภาแห่งสหพันธ์) แต่ตึกที่เป็นที่ประชุมรัฐสภายังคงเรียกว่า "ไรชส์ทาค"
คำว่า "Reichstag" เป็นคำประสมจากคำว่า "Reich" (ไรช์) ที่แปลว่า "แผ่นดินเยอรมัน" และ "Tag" (ทาค) ที่แปลว่า "ที่ประชุม" ในปัจจุบันสภาปกครองระดับต่าง ๆ ก็ยังใช้คำว่า "-tag" ต่อท้ายเช่น "Bundestag" ที่หมายถึงรัฐสภาของรัฐบาลกลาง หรือ "Landtag" ที่หมายถึงสภาระดับท้องถิ่น
ไรชส์ทาคในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ระหว่างสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ดำรงอยู่จนถึง ค.ศ. 1806 ไรชส์ทาคไม่ใช่รัฐสภาเช่นที่ปฏิบัติกันในปัจจุบัน แต่เป็นการชุมนุมของราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ขึ้นตรงต่อจักรพรรดิ บทบาทและหน้าที่ของไรชส์ทาคก็เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของจักรวรรดิ ที่รัฐและดินแดนต่าง ๆ ในจักรวรรดิมีอำนาจมากขึ้นทุกขณะ ในระยะแรกการประชุมของไรชส์ทาคก็ไม่มีการกำหนดสถานที่หรือเวลากันอย่างเป็นที่แน่นอน ที่เริ่มด้วยการประชุมของดยุกของดินแดนของกลุ่มชนเจอร์แมนิกกลุ่มต่าง ๆ ที่รวมตัวกันเป็นราชอาณาจักรแฟรงก์เมื่อมีการตัดสินใจอันสำคัญที่จะต้องการความเห็นของผู้เข้าร่วมประชุม และอาจจะมีพื้นฐานมาจากกฎบัตรเจอร์มานิคเดิมที่สมาชิกแต่ละคนต้องพึ่งการสนับสนุนของผู้นำของกลุ่ม เช่นไรชส์ทาคแห่งอาเคินในรัชสมัยของชาร์เลอมาญก็ได้วางกฎหมายสำหรับและชนกลุ่มอื่น ๆ ไรชส์ทาคของปี ค.ศ. 919 ในเลือกกษัตริย์องค์แรกของชาวเยอรมันผู้เป็นแซกซัน-- ที่เป็นการแก้ความขัดแย้งระหว่างแฟรงค์และแซกซันที่มีมานาน และเป็นการวางรากฐานของการก่อตั้งจักรวรรดิเยอรมันต่อมา ในปี ค.ศ. 1158 (Diet of Roncaglia) อนุมัติกฎหมายสี่ฉบับที่ไม่ได้บันทึกเป็นตัวอักษรอย่างเป็นทางการ แต่มีผลในการเปลี่ยนแปลงอันสำคัญของของจักรวรรดิ และเป็นจุดเริ่มของการลดอำนาจของศูนย์กลาง ไปเป็นอำนาจที่อยู่ในมือของดยุกท้องถิ่น ในปี ค.ศ. 1356 ที่ออกโดยจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็เป็นการวางรากฐานอย่างเป็นทางการของปรัชญา "การปครองโดยท้องถิ่น" (เยอรมัน: Landesherrschaft) โดยดยุกในดินแดนในปกครอง และจำกัดจำนวนเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเป็นเจ็ดคนที่รวมทั้ง, , , และ อาร์ชบิชอปแห่งเทรียร์ และ จากนั้นเป็นต้นมาสมเด็จพระสันตะปาปาก็ไม่มีส่วนในกระบวนการการเลือกตั้งจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ไรชส์ทาคมิได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสถาบันอย่างเป็นทางการมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก่อนหน้านั้นดยุกและเจ้าชายก็จะมาประชุมกันในราชสำนักของพระจักรพรรดิอย่างไม่เป็นทางการในบางโอกาสที่ไม่สม่ำเสมอ ที่มักจะเรียกว่า "Hoftage" (การประชุมในราชสำนัก) เมื่อมาถึงต้นปี ค.ศ. 1489 การประชุมเช่นที่ว่าจึงได้มาเรียกกันว่า "Reichstag" (การประชุมราชสภา) และแบ่งออกไปอย่างเป็นทางการออกเป็นสภา (collegia) ในระยะแรกราชสภาก็แบ่งเป็นสองสภา สภาแรกคือสภา "เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก" และอีกสภาหนึ่งประกอบด้วยดยุกและเจ้าชายอื่น ๆ ต่อมาราชนครรัฐอิสระต่าง ๆ ที่ได้รับอิมพีเรียลอิมมีเดียซีก็สามารถรวมตัวกันเป็นสภาที่สาม
ในสมัยประวัติศาตร์ของไรชส์ทาคก็ได้มีการพยายามที่จะปฏิรูปหลายครั้งในการพยายามทำให้มีความแข็งแกร่งขึ้น เช่นในปี ค.ศ. 1495 แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าใดนัก และตามความเป็นจริงแล้วก็ยิ่งทำให้ไรชส์ทาคอ่อนแอลงเร็วขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1648 เมื่อสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียบังคับให้พระมหาจักรพรรดิยอมรับการอนุมัติทุกอย่างจากไรชส์ทาค ซึ่งก็เท่ากับเป็นการลิดรอนอำนาจที่เหลือของจักรพรรดิ ตั้งแต่บัดนั้นจนถึงปี ค.ศ. 1806 จักรวรรดิก็เป็นเพียงกลุ่มรัฐที่ต่างก็มีอำนาจในการปกครองตนเอง
การประชุมราชสภาครั้งสำคัญที่สุดก็เห็นจะเป็นการประชุมราชสภาที่ในปี ค.ศ. 1495 ที่เป็นการ (Imperial Reform), การประชุมในปี ค.ศ. 1521 ที่มาร์ติน ลูเทอร์ ถูกแบนตาม), การประชุมในปี ค.ศ. 1529 ที่ชไปเออร์ และอีกหลายครั้งที่เนิร์นแบร์ก
จนเมื่อมีการเสนอการประชุมถาวรของไรชส์ทาค (เยอรมัน: Immerwährender Reichstag) ในปี ค.ศ. 1663 เท่านั้นที่ไรชส์ทาคเริ่มมีการประชุมอย่างเป็นทางการในที่ประชุมที่เป็นการถาวรที่เรเกนส์บูร์ก
ไรชส์ทาคของเยอรมนี
หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1806 คำว่า "Reichstag" ก็นำมาใช้สำหรับรัฐสภาของปี ค.ศ. 1849 ที่มีการร่างธรรมนูญฟรังเฟิร์ตที่มิได้นำมาบังคับใช้ และต่อมาสำหรับรัฐสภาของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือระหว่าง ค.ศ. 1867 ถึง ค.ศ. 1871 และ ในที่สุดก็รัฐสภาของจักรวรรดิเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1871 ในสองกรณีหลังสมาชิกของไรชส์ทาคเป็นผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจากชายผู้ที่มีอายุเกิน 25 ปี ซึ่งทำให้เป็นไรชส์ทาคที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดในยุโรปขณะนั้น
ในปี ค.ศ. 1919 ไรชส์ทาคของสาธารณรัฐไวมาร์มีนายกรัฐมนตรีผู้ได้รับเลือกโดยตรงจากประชาชนเป็นประมุข แต่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1930 รัฐสภาก็ใช้อำนาจทางอ้อมที่มอบให้แก่ประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีภายใต้มาตรา 48 ของรัฐธรรมนูญว่าด้วยการมอบอำนาจฉุกเฉิน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้รับตำแหน่งเป็น "นายกรัฐมนตรี" (Reichskanzler) เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 หลังจากนั้นรัฐสภาก็สิ้นอำนาจ รัฐสภาของอาณาจักรที่สามประชุมกันเป็นครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1942
อ้างอิง
- Encyclopedia Britannica: Charles IV[1]
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
irchsthakh eyxrmn Reichstag khuxrthsphakhxngckrwrrdiormnxnskdisiththi aelatxmakhxngsmaphnthrtheyxrmnehnuxaelakhxngeyxrmni cnkrathngthung kh s 1945 inpccubnrthsphakhxngeyxrmnieriykwa bunedisthakh rthsphaaehngshphnth aettukthiepnthiprachumrthsphayngkhngeriykwa irchsthakh irchsthakhinpi kh s 1889 khawa Reichstag epnkhaprasmcakkhawa Reich irch thiaeplwa aephndineyxrmn aela Tag thakh thiaeplwa thiprachum inpccubnsphapkkhrxngradbtang kyngichkhawa tag txthayechn Bundestag thihmaythungrthsphakhxngrthbalklang hrux Landtag thihmaythungspharadbthxngthinirchsthakhinsmyckrwrrdiormnxnskdisiththirahwangsmyckrwrrdiormnxnskdisiththithidarngxyucnthung kh s 1806 irchsthakhimichrthsphaechnthiptibtikninpccubn aetepnkarchumnumkhxngrachrthkhxngckrwrrdiormnxnskdisiththithikhuntrngtxckrphrrdi bthbathaelahnathikhxngirchsthakhkepliynaeplngiptamkarepliynaeplngkhxngckrwrrdi thirthaeladinaedntang inckrwrrdimixanacmakkhunthukkhna inrayaaerkkarprachumkhxngirchsthakhkimmikarkahndsthanthihruxewlaknxyangepnthiaennxn thierimdwykarprachumkhxngdyukkhxngdinaednkhxngklumchnecxraemnikklumtang thirwmtwknepnrachxanackraefrngkemuxmikartdsinicxnsakhythicatxngkarkhwamehnkhxngphuekharwmprachum aelaxaccamiphunthanmacakkdbtrecxrmanikhedimthismachikaetlakhntxngphungkarsnbsnunkhxngphunakhxngklum echnirchsthakhaehngxaekhininrchsmykhxngcharelxmaykidwangkdhmaysahrbaelachnklumxun irchsthakhkhxngpi kh s 919 ineluxkkstriyxngkhaerkkhxngchaweyxrmnphuepnaesksn thiepnkaraekkhwamkhdaeyngrahwangaefrngkhaelaaesksnthimimanan aelaepnkarwangrakthankhxngkarkxtngckrwrrdieyxrmntxma inpi kh s 1158 Diet of Roncaglia xnumtikdhmaysichbbthiimidbnthukepntwxksrxyangepnthangkar aetmiphlinkarepliynaeplngxnsakhykhxngkhxngckrwrrdi aelaepncuderimkhxngkarldxanackhxngsunyklang ipepnxanacthixyuinmuxkhxngdyukthxngthin inpi kh s 1356 thixxkodyckrphrrdikharlthi 4 aehngckrwrrdiormnxnskdisiththikepnkarwangrakthanxyangepnthangkarkhxngprchya karpkhrxngodythxngthin eyxrmn Landesherrschaft odydyukindinaedninpkkhrxng aelacakdcanwnecankhrrthphukhdeluxkepnecdkhnthirwmthng aela xarchbichxpaehngethriyr aela caknnepntnmasmedcphrasntapapakimmiswninkrabwnkarkareluxktngckrphrrdiormnxnskdisiththi irchsthakhmiidkxtngkhunepnsthabnxyangepnthangkarmacnkrathngplaykhriststwrrsthi 15 kxnhnanndyukaelaecachaykcamaprachumkninrachsankkhxngphrackrphrrdixyangimepnthangkarinbangoxkasthiimsmaesmx thimkcaeriykwa Hoftage karprachuminrachsank emuxmathungtnpi kh s 1489 karprachumechnthiwacungidmaeriykknwa Reichstag karprachumrachspha aelaaebngxxkipxyangepnthangkarxxkepnspha collegia inrayaaerkrachsphakaebngepnsxngspha sphaaerkkhuxspha ecankhrrthphukhdeluxk aelaxiksphahnungprakxbdwydyukaelaecachayxun txmarachnkhrrthxisratang thiidrbximphieriylximmiediysiksamarthrwmtwknepnsphathisam insmyprawtisatrkhxngirchsthakhkidmikarphyayamthicaptiruphlaykhrnginkarphyayamthaihmikhwamaekhngaekrngkhun echninpi kh s 1495 aetkimprasbphlsaercethaidnk aelatamkhwamepncringaelwkyingthaihirchsthakhxxnaexlngerwkhun odyechphaaemuxmathungpi kh s 1648 emuxsnthisyyasntiphaphewstfaeliybngkhbihphramhackrphrrdiyxmrbkarxnumtithukxyangcakirchsthakh sungkethakbepnkarlidrxnxanacthiehluxkhxngckrphrrdi tngaetbdnncnthungpi kh s 1806 ckrwrrdikepnephiyngklumrththitangkmixanacinkarpkkhrxngtnexng karprachumrachsphakhrngsakhythisudkehncaepnkarprachumrachsphathiinpi kh s 1495 thiepnkar Imperial Reform karprachuminpi kh s 1521 thimartin luethxr thukaebntam karprachuminpi kh s 1529 thichipexxr aelaxikhlaykhrngthienirnaebrk cnemuxmikaresnxkarprachumthawrkhxngirchsthakh eyxrmn Immerwahrender Reichstag inpi kh s 1663 ethannthiirchsthakherimmikarprachumxyangepnthangkarinthiprachumthiepnkarthawrthiereknsburkirchsthakhkhxngeyxrmnixdxlf hitelxrinrthsphaemuxklawprasyocmtiaefrngklin di orsewltemuxwnthi 11 thnwakhm kh s 1941 hlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdiormnxnskdisiththiinpi kh s 1806 khawa Reichstag knamaichsahrbrthsphakhxngpi kh s 1849 thimikarrangthrrmnuyfrngefirtthimiidnamabngkhbich aelatxmasahrbrthsphakhxngsmaphnthrtheyxrmnehnuxrahwang kh s 1867 thung kh s 1871 aela inthisudkrthsphakhxngckrwrrdieyxrmn inpi kh s 1871 insxngkrnihlngsmachikkhxngirchsthakhepnphuthiidrbkareluxktngcakchayphuthimixayuekin 25 pi sungthaihepnirchsthakhthiepnprachathipitymakthisudinyuorpkhnann inpi kh s 1919 irchsthakhkhxngsatharnrthiwmarminaykrthmntriphuidrbeluxkodytrngcakprachachnepnpramukh aettngaetpi kh s 1930 rthsphakichxanacthangxxmthimxbihaekprathanathibdiaehngeyxrmniphayitmatra 48 khxngrththrrmnuywadwykarmxbxanacchukechin hlngcakxdxlf hitelxridrbtaaehnngepn naykrthmntri Reichskanzler emuxwnthi 30 mkrakhm kh s 1933 hlngcaknnrthsphaksinxanac rthsphakhxngxanackrthisamprachumknepnkhrngsudthayemuxwnthi 26 emsayn kh s 1942xangxingEncyclopedia Britannica Charles IV 1 duephimprawtisastreyxrmni ckrwrrdiormnxnskdisiththi