บทความนี้ไม่มีจาก |
ภาษาฮีบรูอัชเกนัซ (ฮีบรู: הגייה אשכנזית, อักษรโรมัน: Hagiyya Ashkenazit; ยิดดิช: אַשכּנזישע הבֿרה, อักษรโรมัน: Ashkenazishe Havara; อังกฤษ: Ashkenazi Hebrew) เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิล และภาษาฮีบรูมิซนะห์ที่นิยมใช้ในหมู่ชาวยิวอัชเกนัซ ระบบการออกเสียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาใกล้เคียงที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เช่น ภาษายิดดิช และภาษากลุ่มสลาฟหลายภาษา ทุกวันนี้เหลือรอดในฐานะภาษาทางศาสนาควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูสมัยใหม่ในอิสราเอล
ลักษณะ
จากการใช้ควบคู่กับภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ภาษาฮีบรูอัชเกนัซมีลักษณะทางสัทวิทยาที่แตกต่างไปอย่างชัดเจนต่อไปนี้
- א และ ע ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซไม่มีการออกเสียงในขณะที่ออกเสียงเป็น /อ/ ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น Yisroeil (ชาวยิวลิทัวเนีย) หรือ Yisruayl (ชาวยิวโปแลนด์-กาลิเซีย) กับ Yisra'el (ฮีบรูสมัยใหม่) กรณีพิเศษเป็นของชาวยิวดัตช์ที่ออกเสียง ע เป็น ŋ ซึ่งอาจจะเป็นอิทธิพลมาจากชาวยิวสเปนและชาวยิวโปรตุเกส
- ת ออกเสียงเป็น /s/ ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซ เว้นแต่มีจุดภายในจึงออกเสียงเป็น /t/ ในขณะที่ภาษาฮีบรูสมัยใหม่ออกเสียงเป็น /t/ เสมอ
- สระ ṣērê (/e/) ออกเสียงเป็น [ej] หรือ [aj] ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซ ในขณะที่ออกเสียงเป็น /e/ ในภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี ส่วนภาษาฮีบรูสมัยใหม่ออกเสียงทั้งสองแบบ
- สระ qāmeṣ gāḏôl (/a/) ออกเสียงเป็น /o/ บางครั้งเป็น /u/ ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซ แต่เป็น /a/ ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่
- สระ ḥôlam (/o/) การออกเสียงขึ้นกับสำเนียงย่อย บางครั้งเป็น [au] [ou] [oi] หรือ [ei] ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซ แต่เป็น /o/ ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่
- เสียง qubbutz หรือ shuruq ที่ไม่เน้นกลายเป็น /i/ ในภาษาฮีบรูอัชเกนัซ แต่รูปอื่นเป็น /u/
- ในบางกรณีมีความสับสนระหว่างเสียงท้าย tzere (e) และ hiriq (i)
- ในช่วงศตวรรษต้นๆ การเน้นหนักในภาษาฮีบรูอัชเกนัซอยู่ที่ตำแหน่งก่อนหลังสุดแทนที่ตำแหน่งสุดท้ายซึ่งพบในสำเนียงอื่นๆในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 – 23 แรบไบจากอัชเกนัซ เช่น Jacob Emden และ Vilna Gaon ได้เปลี่ยนมาเน้นหนักที่พยางค์สุดท้ายดังที่ปรากฏในการพิมพ์ไบเบิล และประสบความสำเร็จในการใช้อ่านโตราห์ แต่รูปแบบการเน้นหนักแบบเก่ายังพบในการออกเสียงคำภาษาฮีบรูที่อยู่ในภาษายิดดิชและบทกวียุคแรกๆ
ความแปรผัน
มีความแตกต่างระหว่างสำเนียงของชาวยิวในลิทัวเนีย โปแลนด์ และเยอรมัน เช่น ḥôlam ออกเสียงเป็น [au] ออกเสียงเป็น [oi] ส่วนออกเสียงเป็น [ei] ส่วนชาวยิวในอังกฤษออกเสียงแบบเยอรมัน และมีชาวยิวอัชเกนัซจำนวนหนึ่งที่ใช้การออกเสียงแบบอิสราเอล-เซฟาร์ดี
อิทธิพลต่อภาษาฮีบรูสมัยใหม่
แม้ว่าภาษาฮีบรูสมัยใหม่จะมีพื้นฐานมาจากภาษาฮีบรูมิซนะห์ และการออกเสียงแบบเซฟาร์ดี แต่ในอิสราเอลมีบางส่วนได้รับอิทธิพลจากสำเนียงอัชเกนัซ เช่น
- เปลี่ยนเสียง /r/ ไปเป็น Guttural R
- ออกเสียง tzere เป็น [eɪ] ในบางแห่ง
- ชื่ออักษรบางตัว เช่น yud และ kuf แทนที่ yod และ qof
- ในการพูดโดยทั่วไปใช้ใช้การเน้นหนักที่คำก่อนสุดท้ายสำหรับชื่อเฉพาะ
คู่ขนาน
ความแตกต่างระหว่างภาษาฮีบรูอัชเกนัซกับภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีมีความคล้ายคลึงกับความแตกต่างของภาษาซีรีแอกตะวันออกและตะวันตก
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
- Ilan Eldar, Masoret ha-qeri'ah ha-kedem-Ashkenazit (The Hebrew Language Tradition in Medieval Ashkenaz), Edah ve-Lashon series vols. 4 and 5, Jerusalem (Hebrew)
- , Die gegenwärtige Aussprache des Hebräischen bei Juden und Samaritanern, in: Monatsschrift für Geschichte und Wissenschaft des Judentums 57 (N.F.: 21), 1913, p. 527–645 and 698–721.
- Dovid Katz, The Phonology of Ashkenazic, in: Lewis Glinert (ed.), Hebrew in Ashkenaz. A Language in Exile, Oxford-New York 1993, p. 46–87. ISBN .
- S. Morag, Pronunciations of Hebrew, Encyclopaedia Judaica XIII, p. 1120–1145.
- Sáenz-Badillos, Angel (1996). A History of the Hebrew Language. trans. John Elwolde. Cambridge, England: Cambridge University Press. ISBN .
- Werner Weinberg, Lexikon zum religiösen Wortschatz und Brauchtum der deutschen Juden, ed. by Walter Röll, Stuttgart–Bad Cannstatt 1994. ISBN .
- Zimmels, Ashkenazim and Sephardim: their Relations, Differences, and Problems As Reflected in the Rabbinical Responsa : London 1958 (since reprinted). ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasahibruxchekns hibru הגייה אשכנזית xksrormn Hagiyya Ashkenazit yiddich א שכ נזישע הב רה xksrormn Ashkenazishe Havara xngkvs Ashkenazi Hebrew epnrabbkarxxkesiyngkhxngphasahibruibebil aelaphasahibrumisnahthiniymichinhmuchawyiwxchekns rabbkarxxkesiyngniidrbxiththiphlcakphasaiklekhiyngthimikartidtxsuxsarrahwangkn echn phasayiddich aelaphasaklumslafhlayphasa thukwnniehluxrxdinthanaphasathangsasnakhwbkhuipkbphasahibrusmyihminxisraexllksnacakkarichkhwbkhukbphasahibrusmyihm phasahibruxcheknsmilksnathangsthwithyathiaetktangipxyangchdecntxipni א aela ע inphasahibruxcheknsimmikarxxkesiynginkhnathixxkesiyngepn x inphasahibrusmyihm twxyangechn Yisroeil chawyiwlithweniy hrux Yisruayl chawyiwopaelnd kaliesiy kb Yisra el hibrusmyihm krniphiessepnkhxngchawyiwdtchthixxkesiyng ע epn ŋ sungxaccaepnxiththiphlmacakchawyiwsepnaelachawyiwoprtueks ת xxkesiyngepn s inphasahibruxchekns ewnaetmicudphayincungxxkesiyngepn t inkhnathiphasahibrusmyihmxxkesiyngepn t esmx sra ṣere e xxkesiyngepn ej hrux aj inphasahibruxchekns inkhnathixxkesiyngepn e inphasahibruesfardi swnphasahibrusmyihmxxkesiyngthngsxngaebb sra qameṣ gaḏol a xxkesiyngepn o bangkhrngepn u inphasahibruxchekns aetepn a inphasahibrusmyihm sra ḥolam o karxxkesiyngkhunkbsaeniyngyxy bangkhrngepn au ou oi hrux ei inphasahibruxchekns aetepn o inphasahibrusmyihm esiyng qubbutz hrux shuruq thiimennklayepn i inphasahibruxchekns aetrupxunepn u inbangkrnimikhwamsbsnrahwangesiyngthay tzere e aela hiriq i inchwngstwrrstn karennhnkinphasahibruxcheknsxyuthitaaehnngkxnhlngsudaethnthitaaehnngsudthaysungphbinsaeniyngxuninchwngphuththstwrrsthi 22 23 aerbibcakxchekns echn Jacob Emden aela Vilna Gaon idepliynmaennhnkthiphyangkhsudthaydngthipraktinkarphimphibebil aelaprasbkhwamsaercinkarichxanotrah aetrupaebbkarennhnkaebbekayngphbinkarxxkesiyngkhaphasahibruthixyuinphasayiddichaelabthkwiyukhaerkkhwamaeprphnmikhwamaetktangrahwangsaeniyngkhxngchawyiwinlithweniy opaelnd aelaeyxrmn echn ḥolam xxkesiyngepn au xxkesiyngepn oi swnxxkesiyngepn ei swnchawyiwinxngkvsxxkesiyngaebbeyxrmn aelamichawyiwxcheknscanwnhnungthiichkarxxkesiyngaebbxisraexl esfardixiththiphltxphasahibrusmyihmaemwaphasahibrusmyihmcamiphunthanmacakphasahibrumisnah aelakarxxkesiyngaebbesfardi aetinxisraexlmibangswnidrbxiththiphlcaksaeniyngxchekns echn epliynesiyng r ipepn Guttural R xxkesiyng tzere epn eɪ inbangaehng chuxxksrbangtw echn yud aela kuf aethnthi yod aela qof inkarphudodythwipichichkarennhnkthikhakxnsudthaysahrbchuxechphaakhukhnankhwamaetktangrahwangphasahibruxcheknskbphasahibruesfardimikhwamkhlaykhlungkbkhwamaetktangkhxngphasasiriaexktawnxxkaelatawntkxangxingduephimIlan Eldar Masoret ha qeri ah ha kedem Ashkenazit The Hebrew Language Tradition in Medieval Ashkenaz Edah ve Lashon series vols 4 and 5 Jerusalem Hebrew Die gegenwartige Aussprache des Hebraischen bei Juden und Samaritanern in Monatsschrift fur Geschichte und Wissenschaft des Judentums 57 N F 21 1913 p 527 645 and 698 721 Dovid Katz The Phonology of Ashkenazic in Lewis Glinert ed Hebrew in Ashkenaz A Language in Exile Oxford New York 1993 p 46 87 ISBN 0 19 506222 1 S Morag Pronunciations of Hebrew Encyclopaedia Judaica XIII p 1120 1145 Saenz Badillos Angel 1996 A History of the Hebrew Language trans John Elwolde Cambridge England Cambridge University Press ISBN 0 521 55634 1 Werner Weinberg Lexikon zum religiosen Wortschatz und Brauchtum der deutschen Juden ed by Walter Roll Stuttgart Bad Cannstatt 1994 ISBN 3 7728 1621 5 Zimmels Ashkenazim and Sephardim their Relations Differences and Problems As Reflected in the Rabbinical Responsa London 1958 since reprinted ISBN 0 88125 491 6