วงกลมแอนตาร์กติก คือส่วนที่อยู่ไปทางขั้วโลกใต้มากที่สุดของ 5 วงกลมหลักของวงกลมละติจูดในแผนที่โลก พื้นที่ในบริเวณวงกลมขั้วโลกใต้นี้เป็นที่รู้จักในชื่อแอนตาร์กติก ด้านใต้ของวงกลมแอนตาร์กติกนี้ จะมีเหตุการที่ดวงอาทิตย์อยู่เหนือขอบฟ้า 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทำให้มองเห็นดวงอาทิตย์ในเวลากลางคืน และอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งที่ดวงอาทิตย์จะไม่โผล่พ้นขอบฟ้าเป็นเวลาต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้ไม่เห็นดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นกับบริเวณขั้วโลกเหนือ ที่วงกลมอาร์กติกด้วย
ตำแหน่งของวงกลมแอนตาร์กติกยังไม่ใช่พิกัดคงที่ จนถึง 9 ธันวาคม 2559 พิกัดอยู่ที่ตำแหน่ง 66°33′46.5″ ด้านใต้ของเส้นศูนย์สูตร ทั้งนี้ละติจูดขึ้นอยู่กับการเอียงของโลก ซึ่งมีค่าไม่คงที่ ผันแปรประมาณ 2 องศา ในรอบ 40,000 ปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากแรงกระทำของการโคจรของดวงจันทร์ ทำให้วงกลมแอนตาร์กติกเลื่อนลงใต้ไปเรื่อย ๆ ด้วยความเร็วประมาณปีละ 15 เมตร
อ้างอิง
- "Obliquity of the Ecliptic (Eps Mean)". Neoprogrammics.com. สืบค้นเมื่อ 2014-05-13.
- Berger, A.L. (1976). "Obliquity and Precession for the Last 5000000 Years". . 51: 127–135. Bibcode:1976A&A....51..127B.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wngklmaexntarktik khuxswnthixyuipthangkhwolkitmakthisudkhxng 5 wngklmhlkkhxngwngklmlaticudinaephnthiolk phunthiinbriewnwngklmkhwolkitniepnthiruckinchuxaexntarktik danitkhxngwngklmaexntarktikni camiehtukarthidwngxathityxyuehnuxkhxbfa 24 chwomngtxenuxng xyangnxypila 1 khrng thaihmxngehndwngxathityinewlaklangkhun aelaxyangnxypila 1 khrngthidwngxathitycaimophlphnkhxbfaepnewlatxenuxngtlxd 24 chwomng thaihimehndwngxathityinewlaklangwn sungehtukarnniekidkhunkbbriewnkhwolkehnux thiwngklmxarktikdwyaephnthiwngklmaexntarktik taaehnngkhxngwngklmaexntarktikyngimichphikdkhngthi cnthung 9 thnwakhm 2559 phikdxyuthitaaehnng 66 33 46 5 danitkhxngesnsunysutr thngnilaticudkhunxyukbkarexiyngkhxngolk sungmikhaimkhngthi phnaeprpraman 2 xngsa inrxb 40 000 pithiphanma epnphlmacakaerngkrathakhxngkarokhcrkhxngdwngcnthr thaihwngklmaexntarktikeluxnlngitiperuxy dwykhwamerwpramanpila 15 emtrxangxing Obliquity of the Ecliptic Eps Mean Neoprogrammics com subkhnemux 2014 05 13 Berger A L 1976 Obliquity and Precession for the Last 5000000 Years 51 127 135 Bibcode 1976A amp A 51 127B