วิปัสสนา หมายถึง เห็นการเกิดการดับหรือความเห็นแจ้งในสังขารทั้งหลายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน
สมถะและวิปัสสนาถือเป็นธรรมที่ควรเจริญ (ตามทสุตตรสูตร) และเป็นธรรมฝ่ายวิชชา (ตามพาลวรรค)
วิปัสสนาภูมิ
วิปัสสนาภูมิ คือ ธรรมทั้งหลายอันแยกประเภทเป็น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ สัจจะ และปฏิจจสมุปบาท
วิปัสสนาภูมิ หมายถึง ธรรมอันเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา
วิปัสสนาญาณ
วิปัสสนากรรมฐาน
วิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การปฏิบัติกรรมฐานตามแนวทางในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ การเจริญสติอันเป็นไปใน กาย เวทนา จิต และธรรม
อ้างอิง
- พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), วิปัสสนา, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
- ทสุตตรสูตร, พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๓ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
- พาลวรรค, พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wipssna hmaythung ehnkarekidkardbhruxkhwamehnaecnginsngkharthnghlaywaimethiyng epnthukkh aelaimichtwtn smthaaelawipssnathuxepnthrrmthikhwrecriy tamthsuttrsutr aelaepnthrrmfaywichcha tamphalwrrkh wipssnaphumiwipssnaphumi khux thrrmthnghlayxnaeykpraephthepn khnth xaytna thatu xinthriy scca aelapticcsmupbath wipssnaphumi hmaythung thrrmxnepnxarmnkhxngwipssnawipssnayanwipssnakrrmthanwipssnakrrmthan hmaythung karptibtikrrmthantamaenwthanginmhastiptthansutr khux karecriystixnepnipin kay ewthna cit aelathrrmxangxingphraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot wipssna phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm thsuttrsutr phraitrpidkelmthi 11 phrasuttntpidkelmthi 3 chbbmhacula thikhnikay patikwrrkh phalwrrkh phraitrpidkelmthi 20 phrasuttntpidkelmthi 12 chbbmhacula xngkhuttrnikay thuknibat