สถานีรถไฟอรัญประเทศ ตั้งอยู่ที่ ตำบลอรัญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายตะวันออก
อรัญประเทศ Aranyaprathet | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สถานีระดับที่ 1 | |||||||||||||||||
ด้านหน้าสถานี | |||||||||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||||||||
ที่ตั้ง | ตำบลอรัญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย | ||||||||||||||||
พิกัด | 13°41′33″N 102°30′19″E / 13.6926°N 102.5052°E | ||||||||||||||||
ผู้ให้บริการ | การรถไฟแห่งประเทศไทย | ||||||||||||||||
สาย | |||||||||||||||||
ระยะทาง | 254.5 km (158.1 mi) จากกรุงเทพ | ||||||||||||||||
ชานชาลา | 1 | ||||||||||||||||
ราง | 4 | ||||||||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ระดับพื้นดิน | ||||||||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||||||||
รหัสสถานี | 3100 (อร.) | ||||||||||||||||
ประวัติ | |||||||||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 | ||||||||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
|
ประวัติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร รักษาการตำแหน่งเจ้ากรมรถไฟสายเหนือ ในปี พ.ศ. 2460 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมรถไฟสายเหนือกับสายใต้เข้าเป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า "กรมรถไฟหลวง" และให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง และทรงบุกเบิกพัฒนากิจการต่างๆ ของกรมรถไฟหลวง ขยายเส้นทางเดินรถไฟสายเหนือและสายใต้เข้าด้วยกัน สายตะวันออกเฉียงเหนือทรงสร้างทางรถไฟจากนครราชสีมาถึงอุบลราชธานี สายตะวันออกจากฉะเชิงเทรา (แปดริ้ว) ถึงอรัญประเทศ ทรงนำรถจักรดีเซลเข้ามาใช้เป็นประเทศแรกในทวีปเอเชีย
ในระหว่างที่การก่อสร้างทางสายเหนือและสายใต้ใกล้จะเสร็จ ก็ได้เริ่มทำการก่อสร้างทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือและสายตะวันออกต่อไปอีก คือ จากนครราชสีมาถึงสถานีอุบลราชธานี และสถานีขอนแก่น และจากสถานีหัวลำโพง ถึงสถานีอรัญประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนแปลงทางรถไฟเป็นทางกว้าง 1 เมตร ตามอย่างมาตรฐานที่นิยมในภูมิภาคของประเทศแถบนี้ แล้วสร้างทางรถไฟต่อจากฉะเชิงเทรา (แปดริ้ว) ไปเชื่อมกับทางรถไฟกัมพูชาที่ด่านคลองลึก อำเภออรัญประเทศ โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยทหารช่าง ในการวางราง มีร้อยเอกหลวงรณรงค์สงคราม ยศในขณะนั้นต่อมาคือ (พันเอก พระยาทรงสุรเดช) หนึ่งในคณะราษฎรเป็นผู้บังคับการทหารช่างรถไฟ กองพันที่ 2 กรมทหารบกที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2461 ก่อสร้างทางรถไฟสายตะวันออกจากแปดริ้วถึงสถานีรถไฟปราจีนบุรี ต่อจากนั้นกรมรถไฟหลวงได้ดำเนินการก่อสร้างเอง และได้เปิดการเดินรถ จากแปดริ้วถึงกบินทร์บุรี ระยะทาง 100 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2467 และเริ่มเปิดการเดินรถจากกบินทร์บุรีถึงสถานีอรัญประเทศ ระยะทาง 94 กิโลเมตร ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การบริหารกิจการรถไฟเกี่ยวกับด้านเดินรถและด้านพาณิชย์ได้ก้าวหน้ามาตามลำดับโดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2496 การรถไฟได้รับการติดต่อจากการรถไฟกัมพูชา และจากการรถไฟมลายา ขอให้เปิดการประชุมเพื่อเจรจาหารือทำความตกลงกันเกี่ยวกับการเดินขบวนรถเชื่อมต่อกัน ผลของการประชุม คือ คณะผู้แทนรถไฟกัมพูชาได้เจรจาเรื่อง การเชื่อมทางรถไฟกัมพูชากับรถไฟไทยในทางรถไฟสายตะวันออก (สายอรัญประเทศ) และได้เปิดการเดินรถไฟติดต่อระหว่างประเทศ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2498 ต่อมาได้หยุดการเดินรถไฟไประยะหนึ่ง ตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2504 แล้วเปิดการเดินรถใหม่อีกครั้งเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 แต่ก็ได้ยุติการเดินรถอีก เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517
ตารางเดินรถสถานีรถไฟอรัญประเทศ
ข้อมูลเมื่อ 1 กรกฎาคม 2562 [update]
เที่ยวขึ้น
ขบวนรถ | ต้นทาง | อรัญประเทศ | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ธ275 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 05.55 | 11.10 | ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | 11.17 | ||
ธ279 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 13.05 | 17.20 | ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | 17.27 | ||
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
เที่ยวล่อง
ขบวนรถ | ต้นทาง | อรัญประเทศ | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ธ280 | ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | 06.58 | 07.05 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 12.05 | ||
ธ276 | ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | 13.53 | 14.00 | กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 19.40 | ||
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
ระเบียงภาพ
- ป้ายสถานี
- ป้ายบอกสถานีถัดไปและสถานีก่อนหน้า
- ถังน้ำบริเวณสถานี
- รถไฟจอดที่สถานี มุ่งหน้าสู่กรุงเทพมหานคร
- หัวรถจักรเอแอลดี
- ภายในตัวอาคารสถานี
อ้างอิง
- 岡本和之 (1993). タイ鉄道旅行. めこん. .
- 杉本聖一 (2000). 魅惑のタイ鉄道. 玉川新聞社. .
- 柿崎一郎 (2010). 王国の鉄路 タイ鉄道の歴史. 京都大学学術出版会. .
- 渡邉乙弘 (2013). タイ国鉄4000キロの旅. 文芸社. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthanirthifxrypraeths tngxyuthi tablxrypraeths xaephxxrypraeths cnghwdsraaekw epnsthanirthifchn 1 khxngthangrthifsaytawnxxkxrypraeths Aranyaprathetsthaniradbthi 1danhnasthanikhxmulthwipthitngtablxrypraeths xaephxxrypraeths cnghwdsraaekw praethsithyphikd13 41 33 N 102 30 19 E 13 6926 N 102 5052 E 13 6926 102 5052phuihbrikarkarrthifaehngpraethsithysay saytawnxxkrayathang254 5 km 158 1 mi cakkrungethphchanchala1rang4okhrngsrangpraephthokhrngsrangradbphundinkhxmulxunrhssthani3100 xr prawtierimepidihbrikar8 phvscikayn ph s 2469 97 pikxn 2469 11 08 karechuxmtxsthanikxnhna karrthifaehngpraethsithy sthanitxipmunghna krungethph hwlaophng saytawnxxk danphrmaednbankhlxnglukmunghna pxyeptxrypraethsAranyaprathetkiolemtrthi 254 50wthnankhr Watthana Nakhon 20 64 km danphrmaednbankhlxngluk Ban Klong Luk Border 5 73 km duephim raychuxsthanirthif saytawnxxkprawtiphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw thrngphrakrunaoprdekla ih phraxngkhecaburchtrichyakr rksakartaaehnngecakrmrthifsayehnux inpi ph s 2460 thrngphrakrunaoprdekla ihrwmkrmrthifsayehnuxkbsayitekhaepnkrmediywkn eriykwa krmrthifhlwng aelaihphraecanxngyaethx phraxngkhecaburchtrichyakr krmkhunkaaephngephchrxkhroythin darngtaaehnngphubychakarkrmrthifhlwng aelathrngbukebikphthnakickartang khxngkrmrthifhlwng khyayesnthangedinrthifsayehnuxaelasayitekhadwykn saytawnxxkechiyngehnuxthrngsrangthangrthifcaknkhrrachsimathungxublrachthani saytawnxxkcakchaechingethra aepdriw thungxrypraeths thrngnarthckrdieslekhamaichepnpraethsaerkinthwipexechiy inrahwangthikarkxsrangthangsayehnuxaelasayitiklcaesrc kiderimthakarkxsrangthangrthifsaytawnxxkechiyngehnuxaelasaytawnxxktxipxik khux caknkhrrachsimathungsthanixublrachthani aelasthanikhxnaekn aelacaksthanihwlaophng thungsthanixrypraeths phrabathsmedcphramngkuteklaecaxyuhw idoprdekla ihepliynaeplngthangrthifepnthangkwang 1 emtr tamxyangmatrthanthiniyminphumiphakhkhxngpraethsaethbni aelwsrangthangrthiftxcakchaechingethra aepdriw ipechuxmkbthangrthifkmphuchathidankhlxngluk xaephxxrypraeths odyidrbkhwamrwmmuxcakhnwythharchang inkarwangrang mirxyexkhlwngrnrngkhsngkhram ysinkhnanntxmakhux phnexk phrayathrngsuredch hnunginkhnarasdrepnphubngkhbkarthharchangrthif kxngphnthi 2 krmthharbkthi 3 emux ph s 2461 kxsrangthangrthifsaytawnxxkcakaepdriwthungsthanirthifpracinburi txcaknnkrmrthifhlwngiddaeninkarkxsrangexng aelaidepidkaredinrth cakaepdriwthungkbinthrburi rayathang 100 kiolemtr emuxwnthi 1 mkrakhm ph s 2467 aelaerimepidkaredinrthcakkbinthrburithungsthanixrypraeths rayathang 94 kiolemtr inwnthi 8 phvscikayn ph s 2469 inrchsmyphrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw karbriharkickarrthifekiywkbdanedinrthaeladanphanichyidkawhnamatamladbodyechphaainpi ph s 2496 karrthifidrbkartidtxcakkarrthifkmphucha aelacakkarrthifmlaya khxihepidkarprachumephuxecrcaharuxthakhwamtklngknekiywkbkaredinkhbwnrthechuxmtxkn phlkhxngkarprachum khux khnaphuaethnrthifkmphuchaidecrcaeruxng karechuxmthangrthifkmphuchakbrthifithyinthangrthifsaytawnxxk sayxrypraeths aelaidepidkaredinrthiftidtxrahwangpraeths inwnthi 22 emsayn ph s 2498 txmaidhyudkaredinrthifiprayahnung tngaetwnthi 27 tulakhm ph s 2504 aelwepidkaredinrthihmxikkhrngemuxwnthi 2 phvscikayn ph s 2513 aetkidyutikaredinrthxik emuxwnthi 1 krkdakhm ph s 2517tarangedinrthsthanirthifxrypraethskhxmulemux 1 krkdakhm 2562 2562 07 01 update ethiywkhun khbwnrth tnthang xrypraeths playthang hmayehtuchuxsthani ewlaxxk chuxsthani ewlathungth275 krungethph hwlaophng 05 55 11 10 danphrmaednbankhlxngluk 11 17th279 krungethph hwlaophng 13 05 17 20 danphrmaednbankhlxngluk 17 27hmayehtukhbwnrth sayehnux saytawnxxkechiyngehnux sayit saytawnxxk sayaemklxng dph rthdwnphiess d rthdwn r rtherw th rththrrmda ch rthchanemuxng phch rthphiesschanemuxng th rththxngthin n rthnaethiyw s rthsinkhaethiywlxng khbwnrth tnthang xrypraeths playthang hmayehtuchuxsthani ewlaxxk chuxsthani ewlathungth280 danphrmaednbankhlxngluk 06 58 07 05 krungethph hwlaophng 12 05th276 danphrmaednbankhlxngluk 13 53 14 00 krungethph hwlaophng 19 40hmayehtukhbwnrth sayehnux saytawnxxkechiyngehnux sayit saytawnxxk sayaemklxng dph rthdwnphiess d rthdwn r rtherw th rththrrmda ch rthchanemuxng phch rthphiesschanemuxng th rththxngthin n rthnaethiyw s rthsinkharaebiyngphaphpaysthani paybxksthanithdipaelasthanikxnhna thngnabriewnsthani rthifcxdthisthani munghnasukrungethphmhankhr hwrthckrexaexldi phayintwxakharsthanixangxing岡本和之 1993 タイ鉄道旅行 めこん ISBN 4 8396 0080 5 杉本聖一 2000 魅惑のタイ鉄道 玉川新聞社 ISBN 4 924882 29 1 柿崎一郎 2010 王国の鉄路 タイ鉄道の歴史 京都大学学術出版会 ISBN 978 4 87698 848 8 渡邉乙弘 2013 タイ国鉄4000キロの旅 文芸社 ISBN 978 4 286 13041 5