ศิลปะเค (ญี่ปุ่น: 慶派) หรือ เคฮะ (Kei-ha) เป็นรูปแบบหนึ่งของ (art school/style) ในการสร้างพระพุทธรูปหรือประติมากรรมในศาสนาพุทธ ที่เริ่มมีขึ้นในต้นยุคคามากูระ (c. 1200) และมีฐานอยู่ที่เมืองนาระ ศิลปะนี้ถือเป็นศิลปะที่มีอิทธิพลมากต่อศิลปะในพระพุทธศาสนาของญี่ปุ่นในศตวรรษที่ 14 และยังคงความมีอิทธิพลนี้จนถึงศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์ศิลปะ ระบุว่างานยุคแรก ๆ ของศิลปะแบบเคนั้นเป็นจุดสูงสุดครั้งสุดท้ายในประวัติศาสตร์ประติมากรรมญี่ปุ่น
วัดโคฟุกุ
ศิลปะไคนั้นพัฒนาขึ้นมาโดยนำโดย (busshi; ประติมากรรูปเคารพในศาสนาพุทธ) นามว่า (Jōchō), ผู้สืบทอดของโจโชนามว่า (Kakujō) และบุตรชายของคาคูโจนามว่า (Raijō) อย่างไรก็ตาม ศิลปะแบบเคนั้นยังไม่ถือว่าเป็นศิลปะแบบเคจนกระทั่งหลังไรโจนั้นสืบทอดโดย (Kōkei) และ (Unkei) ในราวปี 1200 ตามด้วยบุตรหกคนและผู้สืบทอดทั้งปวง
เมืองเช่นนาระ กับเคียวโตะนั้นถูกทำลายลงหลังสงครามเก็มเป (Genpei War) ระหว่างปี 1180-1185 ศิลปะแบบเคได้รับโอกาสในการซ่อมแซมและทำนุบำรุงวัดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของนาระ วัดโทได และวัดโคฟุกุ พร้อมทั้งสร้างพระพุทธรูปองค์ใหม่ขึ้นทดแทนองค์เดิม ด้วยลักษณะที่มั่นคงและเป็นขนมของศิลปะตระกูลเคทำให้รูปแบบนี้ได้รับความนิยมจากรัฐบาลโชกุนคามากูระ นอกจากนี้ด้วยสกุลช่างเคนั้นไม่มีความสัมพันธ์กับราชสำนักดังเช่นที่ (In school) กับ (En school) มี จึงยิ่งช่วยเสริมให้รัฐโชกุนคามางูระอุปถัมภ์และสร้างให้ศิลปะแบบเคนี้มีอิทธิพลอย่างสูง
การบูรณะวัดโทไดนั้นใช้เวลายาวนานหลายชั่วอายุคน ประมาณปี 1180 จนถึง 1212 และได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบราชวงศ์ถังกับราชวงศ์ซ่งของจีนมาประกอบ ทำให้เกิดองค์ประกอบใหม่ขึ้นในรูปแบบในขณะที่ยังคงขนบไว้ ได้เกิดรูปแบบประติมาน (iconographic) มนุษย์แบบใหม่ขึ้นที่มีความเรียบง่ายมากขึ้นและสมจริงมากขึ้น รวมทั้งใช้สีที่จัดจ้านน้อยลง (more subdue) เป็นครั้งแรกที่มีการนำคริสตัลที่มีศูนย์กลางสีเข้มมาประดับเป็นดวงตาของรูปปั้น ถึงแม้ว่าศิลปะแบบเคจะเป็นการฟื้นฟูองค์ประกอบจากประติมากรรมจากยุคนาระ แต่โจน สตานเลย์ เบเกอร์ (Joan Stanley Baker) อธิบายว่าศิลปะแบบเคนั้นมีความเหนือจริง (idealised) น้อยกว่า, มีความเป็นปุถุชน (generic) และไร้อารมณ์ (impersonal) กว่างานยุคนาระ ประติมากรสกุลเคนั้นมุ่งเน้นที่การสร้างอัตลักษณ์เฉพาะขององค์ประธานในประติมากรรมที่สร้างและลักษณะทางกายภาพ (physical details) มากกว่า
ประติมากรรม พระไวโรจนพุทธะ จากยุคปลายศตวรรษที่ 12 สร้างโดยอุงเค (Unkei) ได้ทำการประมูลขายที่คริสตีส์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2008 ปิดราคาประมูลอยู่ที่ US$14.37 ล้าน สร้างสถิติใหม่ของราคางานศิลปะญี่ปุ่นที่สูงที่สุดในการประมูล รวมทั้งเป็นงานศิลปะที่ราคาประมูลสูงที่สุดเท่าที่เคยมีขายในนิวยอร์กซิตีด้วย
ศิลปินคนสำคัญ
- (Kōkei)
- (Unkei)
- ไคเก (Kaikei)
- (Tankei)
อ้างอิง
- Paine, Robert Treat and . The Art and Architecture of Japan. New Haven: Yale University Press, 1981 (third ed.). pp 110–115.
- Baker, Joan Stanley. Japanese Art. London: Thames and Hudson, 1984. p109.
- "Keiha 慶派." Japanese Architecture and Art Users System (JAANUS). 2001. Accessed 17 November 2008.
- Munsterberg, Huge. The Arts of Japan: An Illustrated History. Tokyo: Charles E. Tuttle Company, 1957. p98.
- "Wooden Buddha sculpture sold for $14.3 million." Reuters. 18 March 2008. Accessed 18 November 2008.
- "A Highly Important Wood Sculpture of Dainichi Nyorai (Mahavairocana)." Christie's. Accessed 18 November 2008.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
silpaekh yipun 慶派 hrux ekhha Kei ha epnrupaebbhnungkhxng art school style inkarsrangphraphuththruphruxpratimakrrminsasnaphuthth thierimmikhunintnyukhkhamakura c 1200 aelamithanxyuthiemuxngnara silpanithuxepnsilpathimixiththiphlmaktxsilpainphraphuththsasnakhxngyipuninstwrrsthi 14 aelayngkhngkhwammixiththiphlnicnthungstwrrsthi 19 nkprawtisastrsilpa rabuwanganyukhaerk khxngsilpaaebbekhnnepncudsungsudkhrngsudthayinprawtisastrpratimakrrmyipunphrasngkhrachhkphraxngkhaehng ekiywnga Gyōga ody 1189 wdokhfuku silpaikhnnphthnakhunmaodynaody busshi pratimakrrupekharphinsasnaphuthth namwa Jōchō phusubthxdkhxngocochnamwa Kakujō aelabutrchaykhxngkhakhuocnamwa Raijō xyangirktam silpaaebbekhnnyngimthuxwaepnsilpaaebbekhcnkrathnghlngirocnnsubthxdody Kōkei aela Unkei inrawpi 1200 tamdwybutrhkkhnaelaphusubthxdthngpwng emuxngechnnara kbekhiywotannthukthalaylnghlngsngkhramekmep Genpei War rahwangpi 1180 1185 silpaaebbekhidrboxkasinkarsxmaesmaelathanubarungwdthiyingihythisudkhxngnara wdothid aelawdokhfuku phrxmthngsrangphraphuththrupxngkhihmkhunthdaethnxngkhedim dwylksnathimnkhngaelaepnkhnmkhxngsilpatrakulekhthaihrupaebbniidrbkhwamniymcakrthbalochkunkhamakura nxkcaknidwyskulchangekhnnimmikhwamsmphnthkbrachsankdngechnthi In school kb En school mi cungyingchwyesrimihrthochkunkhamanguraxupthmphaelasrangihsilpaaebbekhnimixiththiphlxyangsung karburnawdothidnnichewlayawnanhlaychwxayukhn pramanpi 1180 cnthung 1212 aelaidrbxiththiphlcaksilpaaebbrachwngsthngkbrachwngssngkhxngcinmaprakxb thaihekidxngkhprakxbihmkhuninrupaebbinkhnathiyngkhngkhnbiw idekidrupaebbpratiman iconographic mnusyaebbihmkhunthimikhwameriybngaymakkhunaelasmcringmakkhun rwmthngichsithicdcannxylng more subdue epnkhrngaerkthimikarnakhristlthimisunyklangsiekhmmapradbepndwngtakhxngruppn thungaemwasilpaaebbekhcaepnkarfunfuxngkhprakxbcakpratimakrrmcakyukhnara aetocn stanely ebekxr Joan Stanley Baker xthibaywasilpaaebbekhnnmikhwamehnuxcring idealised nxykwa mikhwamepnputhuchn generic aelairxarmn impersonal kwanganyukhnara pratimakrskulekhnnmungennthikarsrangxtlksnechphaakhxngxngkhprathaninpratimakrrmthisrangaelalksnathangkayphaph physical details makkwa pratimakrrm phraiworcnphuththa cakyukhplaystwrrsthi 12 srangodyxungekh Unkei idthakarpramulkhaythikhristis emuxwnthi 18 minakhm 2008 pidrakhapramulxyuthi US 14 37 lan srangsthitiihmkhxngrakhangansilpayipunthisungthisudinkarpramul rwmthngepnngansilpathirakhapramulsungthisudethathiekhymikhayinniwyxrksitidwysilpinkhnsakhy Kōkei Unkei ikhek Kaikei Tankei xangxingPaine Robert Treat and The Art and Architecture of Japan New Haven Yale University Press 1981 third ed pp 110 115 Baker Joan Stanley Japanese Art London Thames and Hudson 1984 p109 Keiha 慶派 Japanese Architecture and Art Users System JAANUS 2001 Accessed 17 November 2008 Munsterberg Huge The Arts of Japan An Illustrated History Tokyo Charles E Tuttle Company 1957 p98 Wooden Buddha sculpture sold for 14 3 million Reuters 18 March 2008 Accessed 18 November 2008 A Highly Important Wood Sculpture of Dainichi Nyorai Mahavairocana Christie s Accessed 18 November 2008