ลาวครั่ง คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชนดังกล่าวมีถิ่นฐานเดิมอยู่ในนครเวียงจันทน์ อาณาจักรล้านช้าง เข้ามาในสยามเมื่อครั้งที่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรี ได้ส่งให้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ กับเจ้าพระยาสุรสีห์ฯ ไปตีเวียงจันทน์เมื่อปี พุทธศักราช 2321 และกวาดต้อนเทครัวชาวลาวเวียงจันทร์ลงมายังสยาม ชาวลาวกลุ่มนี้ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในหัวเมืองชั้นในที่ เมืองนครชัยศรี และเมืองสุพรรณบุรี
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
---|---|
จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดกำแพงเพชร | |
ภาษา | |
ภาษาลาวครั่ง, ภาษาไทย | |
ศาสนา | |
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท |
ประวัติ
ลาวครั่ง คือชาวลาวเวียงจันทน์ที่ถูกกวาดต้อนเข้ามาในหัวเมืองชั้นในของสยาม เมื่อครั้งเกิดสงครามระหว่างสยามกับเวียงจันทน์ เมื่อปีพุทธศักราช 2321 โดยมีมูลเหตุจากพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรี ทรงขุ่นข้องหมองใจกับพระเจ้าสิริบุญสาร แห่งกรุงศรีสัตนาคนหุต (นครเวียงจันทน์) เนื่องจากพระเจ้าศิริบุญสารนำเครื่องบรรณาการไปมอบแก่พระเจ้าอังวะและขอให้ กองทัพพม่าไปช่วยตีพระยาวรราชภักดี (พระวอ) ที่เมืองจำปานคร (หนองบัวลำภู) ซึ่งเป็นกบฏต่อกรุงศรีสัตนาคนหุต (นครเวียงจันทน์) พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรีจึงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ ศึกฯ กับเจ้าพระยาสุรสีห์ฯ ยกกองทัพบกจำนวน ๒๐,๐๐๐ ออกจากรุงธนบุรี ขึ้นไปตั้งประชุมพลที่เมืองนครราชสีมา จากนั้นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ให้เจ้าพระยาสุรสีห์ฯ แยกทัพลงไปกรุงกัมพูชา เกณฑ์กองทัพ ๑๐,๐๐๐ และต่อเรือรบ เรือไล่ แล้วให้ขุดคลองอ้อมเขาหลี่ผี ยกทัพเรือขึ้นไปตามลำน้ำโขง ไปบรรจบกองทัพบก ณ นครล้านช้างเวียงจันทน์กองทัพธนบุรีล้อมนครเวียงจันทน์ไว้ 4 เดือนถึงสามารถตีเมืองได้ เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงทราบ ก็ทรงพระโสมนัสให้มีตราหากองทัพกลับยังพระมหานคร สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก จึงตั้งพระยาสุโภ ขุนนางเมืองล้านช้างให้อยู่รั้งเมือง แล้วนำครอบครัวเชลยชาวเมืองเวียงจันทน์หลายหมื่นครัวเรือน ขุนนางท้าวเพลี้ยทั้งปวง และราชบุตรพระเจ้าสิริบุญสารทั้งสามองค์คือ เจ้านันทเสน เจ้าอินทวงศ์ และเจ้าอนุวงศ์ กับทรัพย์สิ่งของเครื่องศาสตราวุธ ช้าง ม้า เป็นอันมาก และเชิญพระแก้วมรกต กับพระบาง เลิกทัพกลับยังกรุงธนบุรีโดยพระราชกำหนด ชาวลาวเวียงจันทน์กลุ่มหนึ่งซึ่งมีสำเนียงแบบหลวงพระบางได้ถูกส่งให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่ในเขตหัวเมืองชั้นในที่ เมืองนครชัยศรี และเมืองสุพรรณบุรี ต่อมาในปัจจุบันถูกเรียกว่า ลาวครั่ง จากเอกสารของนักวิจัยที่ทำการค้นคว้าและศึกษาอาจจะสรุปความหมายของคำว่า "ลาวครั่ง" ได้ 2 ประเด็น คือ
ประเด็นที่ 1 สันนิษฐานว่าสาเหตุที่เรียกชาวลาวเวียงจันทน์กลุ่มนี้ว่า ลาวครั่ง มาจากชื่อของครั่งที่ชาวลาวเวียงจันทน์กลุ่มนี้นิยมนำมาใช้ย้อมสีผ้าให้โทนสีแดง เพื่อใช้ในการทอเป็นเครื่องนุ่งห่ม เช่น ผ้าซิ่น
ประเด็นที่ 2 สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "ลาวภูครัง" ที่เข้าในสยามเมื่อปี พุทธศักราช 2358 ซึ่งเจ้าเมืองเวียงจันทน์ได้ส่งครัวลาวเมืองภูครังมายังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดฯ ให้ครัวลาวเมืองภูครังตั้งถิ่นฐานแถบเมืองนครชัยศรีพร้อมกับครัวลาวเมืองพุกรางที่ส่งเข้ามาพร้อมกัน และได้รับพระกรุณาธิคุณพระราชทานอุปกรณ์สำหรับปลูกสร้างบ้านเรือน เช่น ไม้ จากมุงหลังคา และผู้คนไปช่วยปลูกสร้างบ้านเรือนด้วย ด้วยเหตุที่กองทัพไทยเข้าไปตั้งมั่นชั่วคราวเมื่อครั้งทำสงครามกับเวียดนามและเขมร เมืองภูครังจึงน่าจะมีประชากรมากพอสมควรและมีความสำคัญในแง่ประโยชน์ต่อฝ่ายตรงข้าม ดังนั้นชาวลาวเมืองภูครังจึงถูกกวาดต้อนลงมาหลายครั้ง โดยส่งลงมาพักไว้ที่เมืองพิษณุโลก เพื่อส่งต่อมายังกรุงเทพฯ ปรากฏว่าพวกนี้ได้หนีกลับไปยังเมืองเวียงจันทน์อีก เจ้าเมืองเวียงจันทน์จึงคุมตัวไปยังกรุงเทพฯ ส่วนหนึ่ง เหลือผู้ที่เจ็บป่วยอีกเกือบ 700 คน จึงโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์เมืองภูเขียว, เมืองขอนแก่น, เมืองชนบท ช่วยกับเมืองเวียงจันทน์ คุมคนและช้างขึ้นไปรับชาวลาวครังส่งมายังกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2360 และส่งไปอยู่กับพวกเดิมที่เมืองนครชัยศรี ซึ่งต่อมาจึงมีการสันนิษฐานว่าลาวกลุ่มนี้อาจคือกลุ่มเดียวกับลาวครั่งปัจจุบัน แต่ยังไม่เป็นที่แน่ชัดเกี่ยวกับข้อสันนิษฐานนี้ และไม่เป็นที่ยอมรับ
อัตลักษณ์
เอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาวลาวครั่งที่สามารถแบ่งแยกได้ทันทีที่พบคือภาษาพูดซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสูง แบบสำเนียงหลวงพระบาง ชาวลาวครั่งโดยรวมมีรูปร่างสันทัดหน้ารูปไข่จมูกมีสันผิวขาวเหลืองทั้งชายและหญิง ปัจจุบันชาวลาวครั่งมักเรียกตัวเองตามสำเนียงภาษาท้องถิ่นว่า “ลาวขี้คั่ง”หรือ“ลาวคั่ง”
ลักษณะทางสังคม
ชาวลาวครั่งมีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมและประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษมากมาย ซึ่งยังคงอยู่จนถึงปัจจุบันนี้ เช่น ประเพณียกธง ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่อดีตโดยจะจัดขึ้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ในเดือนเมษายนของทุกปี ลักษณะทางสังคมชาวลาวครั่งมักจะมีความผูกพันทางเครือญาติสูง นิยมตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มใหญ่ มีฐานะมั่นคง มีวิถีการดำรงชีวิตแบบพึ่งพาธรรมชาติ โดยการทำเกษตรกรรม เช่น การทำนา
การแต่งกาย
ชาวลาวครั่งปัจจุบันในชีวิตประจำวันจะแต่งกายตามปกติ ยกเว้นในการจัดงานประเพณีหรืองานมงคลที่มีการรวมกลุ่ม ซึ่งต้องแสดงออกถึงความสามัคคีของหมู่คณะหรือมีการต้อนรับแขกคนสำคัญของท้องถิ่น ผู้ชายมักจะแต่งกายชุดสุภาพมีผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนผู้หญิงจะแต่งกายด้วยชุดผ้าทอพื้นเมืองนุ่งผ้าซิ่นไหมทอด้วยเทคนิดมัดหมี่หรือทอด้วยเทคนิคขิดจกมีตีนซิ่นต่อ โดยลักษณะองค์ประกอบของผ้าซิ่นลาวครั่งจะประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือส่วนหัวซิ่น ตัวซิ่น และตีนซิ่น วัตถุดิบที่ใช้คือไหมและฝ้าย ซึ่งในอดีตมักนิยมนำมาย้อมโทนสีแดงจากสีธรรมชาติ เช่น การย้อมครั่ง
อ้างอิง
- ประวัติความเป็นมาของคนไทยเชื้อสายลาวครั่ง
- Joshua Project
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อลาว
- จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3, หอสมุดแห่งชาติ, สมุดไทยดำ เว้นดินสอสีขาว, เลขที่ 18} ร่างตราเจ้าพระยาจักรีตอบเมืองสุพรรณ, จ.ศ. 1222
- บังอร ปิยะพันธุ์. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541, หน้า 50.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อครัง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lawkhrng khuxklumchatiphnthuthiichphasaintrakulphasaith kaid klumchndngklawmithinthanedimxyuinnkhrewiyngcnthn xanackrlanchang ekhamainsyamemuxkhrngthi smedcphraecataksinmharach aehngkrungthnburi idsngih smedcecaphrayamhakstriysuk kbecaphrayasursih iptiewiyngcnthnemuxpi phuththskrach 2321 aelakwadtxnethkhrwchawlawewiyngcnthrlngmayngsyam chawlawklumniidekhamatngthinthanxyuinhwemuxngchninthi emuxngnkhrchysri aelaemuxngsuphrrnburilawkhrngphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhycnghwdnkhrpthm cnghwdsuphrrnburi cnghwdchynath cnghwdxuthythani cnghwdnkhrswrrkh cnghwdkaaephngephchrphasaphasalawkhrng phasaithysasnaphraphuththsasnanikayethrwathprawtilawkhrng khuxchawlawewiyngcnthnthithukkwadtxnekhamainhwemuxngchninkhxngsyam emuxkhrngekidsngkhramrahwangsyamkbewiyngcnthn emuxpiphuththskrach 2321 odymimulehtucakphraecataksinmharach aehngkrungthnburi thrngkhunkhxnghmxngickbphraecasiribuysar aehngkrungsristnakhnhut nkhrewiyngcnthn enuxngcakphraecasiribuysarnaekhruxngbrrnakaripmxbaekphraecaxngwaaelakhxih kxngthphphmaipchwytiphrayawrrachphkdi phrawx thiemuxngcapankhr hnxngbwlaphu sungepnkbttxkrungsristnakhnhut nkhrewiyngcnthn phraecataksinmharachaehngkrungthnburicungoprdihsmedcecaphrayamhakstriy suk kbecaphrayasursih ykkxngthphbkcanwn 20 000 xxkcakrungthnburi khuniptngprachumphlthiemuxngnkhrrachsima caknnsmedcecaphrayamhakstriysuk ihecaphrayasursih aeykthphlngipkrungkmphucha eknthkxngthph 10 000 aelatxeruxrb eruxil aelwihkhudkhlxngxxmekhahliphi ykthpheruxkhuniptamlanaokhng ipbrrcbkxngthphbk n nkhrlanchangewiyngcnthnkxngthphthnburilxmnkhrewiyngcnthniw 4 eduxnthungsamarthtiemuxngid emuxsmedcphraecakrungthnburithrngthrab kthrngphraosmnsihmitrahakxngthphklbyngphramhankhr smedcecaphrayamhakstriysuk cungtngphrayasuoph khunnangemuxnglanchangihxyurngemuxng aelwnakhrxbkhrwechlychawemuxngewiyngcnthnhlayhmunkhrweruxn khunnangthawephliythngpwng aelarachbutrphraecasiribuysarthngsamxngkhkhux ecannthesn ecaxinthwngs aelaecaxnuwngs kbthrphysingkhxngekhruxngsastrawuth chang ma epnxnmak aelaechiyphraaekwmrkt kbphrabang elikthphklbyngkrungthnburiodyphrarachkahnd chawlawewiyngcnthnklumhnungsungmisaeniyngaebbhlwngphrabangidthuksngihekhamatngthinthanihminekhthwemuxngchninthi emuxngnkhrchysri aelaemuxngsuphrrnburi txmainpccubnthukeriykwa lawkhrng cakexksarkhxngnkwicythithakarkhnkhwaaelasuksaxaccasrupkhwamhmaykhxngkhawa lawkhrng id 2 praedn khux praednthi 1 snnisthanwasaehtuthieriykchawlawewiyngcnthnklumniwa lawkhrng macakchuxkhxngkhrngthichawlawewiyngcnthnklumniniymnamaichyxmsiphaihothnsiaedng ephuxichinkarthxepnekhruxngnunghm echn phasin praednthi 2 snnisthanwamacakkhawa lawphukhrng thiekhainsyamemuxpi phuththskrach 2358 sungecaemuxngewiyngcnthnidsngkhrwlawemuxngphukhrngmayngkrungethph phrabathsmedcphraphuththelishlanphaly oprd ihkhrwlawemuxngphukhrngtngthinthanaethbemuxngnkhrchysriphrxmkbkhrwlawemuxngphukrangthisngekhamaphrxmkn aelaidrbphrakrunathikhunphrarachthanxupkrnsahrbpluksrangbaneruxn echn im cakmunghlngkha aelaphukhnipchwypluksrangbaneruxndwy dwyehtuthikxngthphithyekhaiptngmnchwkhrawemuxkhrngthasngkhramkbewiydnamaelaekhmr emuxngphukhrngcungnacamiprachakrmakphxsmkhwraelamikhwamsakhyinaengpraoychntxfaytrngkham dngnnchawlawemuxngphukhrngcungthukkwadtxnlngmahlaykhrng odysnglngmaphkiwthiemuxngphisnuolk ephuxsngtxmayngkrungethph praktwaphwkniidhniklbipyngemuxngewiyngcnthnxik ecaemuxngewiyngcnthncungkhumtwipyngkrungethph swnhnung ehluxphuthiecbpwyxikekuxb 700 khn cungoprdekla iheknthemuxngphuekhiyw emuxngkhxnaekn emuxngchnbth chwykbemuxngewiyngcnthn khumkhnaelachangkhuniprbchawlawkhrngsngmayngkrungethph inpi ph s 2360 aelasngipxyukbphwkedimthiemuxngnkhrchysri sungtxmacungmikarsnnisthanwalawklumnixackhuxklumediywkblawkhrngpccubn aetyngimepnthiaenchdekiywkbkhxsnnisthanni aelaimepnthiyxmrbxtlksnexklksnechphaatwkhxngchawlawkhrngthisamarthaebngaeykidthnthithiphbkhuxphasaphudsungmiexklksnechphaatwthimiesiyngwrrnyuktepnesiyngsung aebbsaeniynghlwngphrabang chawlawkhrngodyrwmmiruprangsnthdhnarupikhcmukmisnphiwkhawehluxngthngchayaelahying pccubnchawlawkhrngmkeriyktwexngtamsaeniyngphasathxngthinwa lawkhikhng hrux lawkhng lksnathangsngkhm chawlawkhrngmiwthnthrrmkhnbthrrmeniymaelapraephnithisubthxdknmatngaetbrrphburusmakmay sungyngkhngxyucnthungpccubnni echn praephniykthng thiyudthuxptibtisubtxknmatngaetxditodycacdkhunchwngethskalsngkrantineduxnemsaynkhxngthukpi lksnathangsngkhmchawlawkhrngmkcamikhwamphukphnthangekhruxyatisung niymtngbaneruxnepnklumihy mithanamnkhng miwithikardarngchiwitaebbphungphathrrmchati odykarthaekstrkrrm echn karthana karaetngkay chawlawkhrngpccubninchiwitpracawncaaetngkaytampkti ykewninkarcdnganpraephnihruxnganmngkhlthimikarrwmklum sungtxngaesdngxxkthungkhwamsamkhkhikhxnghmukhnahruxmikartxnrbaekhkkhnsakhykhxngthxngthin phuchaymkcaaetngkaychudsuphaphmiphakhawmakhadexw swnphuhyingcaaetngkaydwychudphathxphunemuxngnungphasinihmthxdwyethkhnidmdhmihruxthxdwyethkhnikhkhidckmitinsintx odylksnaxngkhprakxbkhxngphasinlawkhrngcaprakxbipdwy 3 swn khuxswnhwsin twsin aelatinsin wtthudibthiichkhuxihmaelafay sunginxditmkniymnamayxmothnsiaedngcaksithrrmchati echn karyxmkhrngxangxingprawtikhwamepnmakhxngkhnithyechuxsaylawkhrng Joshua Project xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux law cdhmayehturchkalthi 3 hxsmudaehngchati smudithyda ewndinsxsikhaw elkhthi 18 rangtraecaphrayackritxbemuxngsuphrrn c s 1222 bngxr piyaphnthu lawinkrungrtnoksinthr krungethph mhawithyalythrrmsastr 2541 hna 50 ISBN 974 86304 7 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux khrng bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk