บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ในทางธรณีวิทยานั้น รอยเลื่อน (อังกฤษ: fault) หรือ แนวรอยเลื่อน (อังกฤษ: fault line) เป็นรอยแตกระนาบ (planar fracture) ในหิน ที่หินด้านหนึ่งของรอยแตกนั้นเคลื่อนที่ไปบนหินอีกด้านหนึ่ง รอยเลื่อนขนาดใหญ่ในชั้นเปลือกโลกเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันหรือเฉือนกันและเขตรอยเลื่อนมีพลัง (active fault zone) เป็นตำแหน่งที่ไม่แน่นอนของการเกิดแผ่นดินไหวทั้งหลาย แผ่นดินไหวเกิดจากการปล่อยพลังงานออกมาระหว่างการเลื่อนไถลอย่างรวดเร็วไปตามรอยเลื่อน รอยเลื่อนหนึ่งๆตามแนวตะเข็บของการแปรสัณฐาน (tectonic) สองแผ่นเรียกว่ารอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่ (transform fault)
ด้วยปรกติแล้วรอยเลื่อนมักจะไม่เกิดขึ้นเป็นรอยเลื่อนเดี่ยวอย่างชัดเจน คำว่า “เขตรอยเลื่อน” (fault zone) จึงถูกนำมาใช้เมื่อกล่าวอ้างถึงเขตที่มีการเปลี่ยนลักษณะที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นร่วมกับระนาบรอยเลื่อน ด้านทั้งสองของรอยเลื่อนที่ไม่วางตัวอยู่ในแนวดิ่งเรียกว่า “ผนังเพดาน” (hanging wall) และ “ผนังพื้น” (foot wall) โดยนิยามนั้นหินเพดานอยู่ด้านบนของรอยเลื่อนขณะที่หินพื้นนั้นอยู่ด้านล่างของรอยเลื่อน นิยามศัพท์เหล่านี้มาจากการทำ กล่าวคือเมื่อชาวเหมืองทำงานบนมวลรูปทรงเป็นแผ่นเมื่อเขายืนบนหินพื้นของเขาและมีหินเพดานแขวนอยู่เหนือเขา
กลไก
การเกิดและพฤติกรรมของรอยเลื่อนทั้งในรอยเลื่อนขนาดเล็กโดดๆ และภายในเขตรอยเลื่อนขนาดใหญ่ที่อธิบายได้ว่าเป็นแผ่นเทคโทนิกนั้นถูกควบคุมโดยการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของหินในแต่ละด้านของระนาบรอยเลื่อน
เนื่องจากการเสียดสีและของหินทำให้หินไม่สามารถเลื่อนไถลไปซึ่งกันและกันได้โดยง่าย โดยที่จะมีความเค้น (stress) เกิดขึ้นในหินและเมื่อความเค้นเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่งที่เกินจุดสูงสุดของความเครียด (strain threshold) พลังงานศักย์ที่สะสมไว้จะถูกปล่อยออกมาเป็นความเครียดซึ่งจะถูกจำกัดลงบนระนาบตามที่การเคลื่อนที่สัมพัทธ์เกิดขึ้น ที่ทำให้เกิด “รอยเลื่อน” นั่นเอง
ความเครียดนั้นมีทั้งที่เกิดจากการสะสมตัวและที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันขึ้นอยู่กับ (rheology) ของหิน โดยชั้นเปลือกโลกด้านล่างที่ยืดหยุ่นและส่วนของแมนเทิลจะค่อยๆ สะสมการเปลี่ยนลักษณะทีละน้อยผ่านการเฉือน ขณะที่เปลือกโลกด้านบนที่มีคุณสมบัติเปราะจะเกิดเป็นรอยแตกหรือปล่อยความเค้นแบบฉับพลันที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปตามแนวรอยเลื่อน รอยเลื่อนหนึ่งๆ ในหินที่มีลักษณะยืดหยุ่นก็สามารถปล่อยความเครียดออกมาแบบฉับพลันได้เหมือนกันเมื่ออัตราความเครียดมีมากเกินพอ พลังงานที่ถูกปล่อยออกมาโดยการปล่อยความเครียดแบบฉับพลันนั้นเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหวซึ่งเป็นลักษณะทั่วไปอันหนึ่งที่เกิดตามแนวรอยต่อที่แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่สวนกัน (transform boundary)
รอยแตกจุลภาคและทฤษฎี AMR
รอยแตกจุลภาคหรือความไหวสะเทือนจุลภาคบางทีก็เข้าใจว่าเป็นลักษณะปรากฏที่เกิดขึ้นจากหินที่อยู่ภายใต้ความเค้น โดยเป็นการคลายตัวขนาดเล็กที่อาจมีพื้นที่เท่ากับจานอาหารใบหนึ่งหรือพื้นที่ขนาดเล็กด้วยการปลดปล่อยความเครียดภายใต้สภาพที่มีความเค้นสูง มันเพียงเกิดขึ้นเมื่อรอยแตกจุลภาคเพียงพอที่เชื่อมต่อกับพื้นที่เลื่อนไถลขนาดใหญ่อันหนึ่งที่เกิดจากเหตุการณ์ไหวสะเทือนหรือแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ตามทฤษฎีนี้นั้น หลังจากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ความเค้นส่วนใหญ่จะถูกปล่อยออกมาและความถี่ของการเกิดรอยแตกจุลภาคจะต่ำลงอย่างเป็นทวีคูณ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องอย่าง Accelerating Moment Release (AMR) ที่มีสมมุติฐานว่าอัตราความไหวสะเทือนมีการเร่งไปในลักษณะที่รู้สึกได้อย่างชัดเจนก่อนการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ และนี่อาจใช้เป็นเครื่องมือบ่งบอกในการทำนายการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้าตั้งแต่ในระดับวันไปจนถึงระดับปีได้
ทฤษฎีนี้กำลังมีการถูกนำไปใช้เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากเพื่อทำนายการแตกของหินในเหมืองแร่และรวมถึงการประยุกต์อีกมากที่กำลังได้รับความพยายามในส่วนของรอยเลื่อนภายในหินที่เปราะ พฤติกรรมคล้ายๆกันนี้ก็ถูกสังเกตได้ในการสั่นไหวก่อนการระเบิดของภูเขาไฟด้วย
ระยะเลื่อน ระยะเลื่อนแนวนอน และระยะเลื่อนแนวยืน
ระยะเลื่อน (slip) คือระยะการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของลักษณะทางธรณีวิทยาที่ปรากฏอยู่บนแต่ละด้านของระนาบรอยเลื่อนและเป็น เวกเตอร์ระยะเลื่อนอันหนึ่ง รูปแบบของระยะเลื่อนนั้นใช้ในการบอกประเภทของรอยเลื่อน ซึ่งมีความชัดเจนจากระยะเลื่อนแนวยืน (throw) ของรอยเลื่อนซึ่งเป็นการเหลื่อมกันในแนวดิ่ง ส่วนระยะเลื่อนแนวนอน (heave) จะวัดระยะเหลื่อมของรอยเลื่อนในแนวระดับ
เวกเตอร์ของระยะเลื่อนสามารถประเมินในทางคุณภาพได้โดยการศึกษา fault bend folding อย่างเช่นชั้นหินคดโค้งย้วยของชั้นหินบนแต่ละด้านของรอยเลื่อน ทิศทางและขนาดของระยะเลื่อนแนวนอนและระยะเลื่อนแนวยืนวัดได้โดยการหาจุดตัดธรรมดาๆ บนแต่ละด้านของรอยเลื่อน ในทางปฏิบัติแล้วเป็นไปได้ที่เราจะหาทิศทางระยะเลื่อนของรอยเลื่อนและประมาณค่าเวกเตอร์ของระยะเลื่อนแนวนอนกับระยะเลื่อนแนวยืนได้
ประเภทของรอยเลื่อน
รอยเลื่อนทั้งหลายสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มตามลักษณะของระยะเลื่อน (sense of slip) รอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ (หรือระยะเลื่อน) บนระนาบรอยเลื่อนอยู่ในแนวดิ่งจะเรียกว่า “” (dip-slip fault) แต่หากว่าระยะเลื่อนอยู่ในแนวระดับจะเรียกว่า “รอยเลื่อนตามแนวระดับ” (transcurrent หรือ strike-slip fault) ส่วนรอยเลื่อนที่มีระยะเลื่อนไปตามแนวเฉียงจะเรียกว่า “” (oblique-slip fault)
สำหรับความแตกต่างในการเรียกชื่อทั้งหมดนั้น ขึ้นอยู่กับมุมเอียงเทสุทธิและลักษณะของระยะเลื่อนของรอยเลื่อนซึ่งไม่ได้พิจารณาการวางตัวในปัจจุบันที่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากการโค้งงอหรือการเอียงระดับในระดับท้องถิ่นหรือในระดับภูมิภาคได้
รอยเลื่อนตามแนวมุมเท
รอยเลื่อนตามแนวมุมเท (อังกฤษ: dip-slip fault) สามารถจำแนกแยกย่อยได้เป็นชนิด “” (reverse fault) และ “” (normal fault) รอยเลื่อนปรกติเกิดขึ้นเมื่อเปลือกโลกถูกดึงออกจากกันซึ่งสามารถเรียกรอยเลื่อนชนิดนี้ว่า “” (extensional fault) โดยด้านผนังเพดานของรอยเลื่อนจะเคลื่อนที่ลงสัมพัทธ์กับด้านผนังพื้น มวลหินที่เคลื่อนที่ลงที่อยู่ระหว่างรอยเลื่อนปรกติสองรอยที่มีมุมเอียงเทเข้าหากันเรียกว่า “” (graben) ส่วนมวลหินทั้งสองที่เคลื่อนที่ขึ้นตามรอยเลื่อนปรกติติดกับกราเบนดังกล่าวเรียกว่า “” (horst) (low-angle normal fault) ที่มีนัยสำคัญทางเทคโทนิกในระดับภูมิภาคที่อาจเรียกว่า detachment fault
(reverse fault) จะกลับกันกับรอยเลื่อนปรกติกล่าวคือ ผนังเพดานจะเคลื่อนที่ขึ้นสัมพัทธ์กับผนังพื้น รอยเลื่อนย้อนบ่งชี้ถึงมีการหดตัวลงของเปลือกโลก มุมเทของรอยเลื่อนย้อนจะมีความชันสูงมากกว่า 45 องศา
(thrust fault) มีลักษณะการเคลื่อนที่เหมือนกันกับรอยเลื่อนย้อนแต่มีมุมเทของระนาบรอยเลื่อนจะน้อยกว่า 45 องศา รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำทำให้เกิดลักษณะของการพัฒนาไปในแนวลาดชัน (ramp) flats และ fault bend fold รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำก็ให้เกิดเป็นชั้นหินทบตัว (nappe) และมวลหินโดดรอยเลื่อน (klippe) ในแนวย้อนมุมต่ำ (thrust belt) ขนาดใหญ่
ระนาบรอยเลื่อนเป็นระนาบของพื้นผิวรอยแตกของรอยเลื่อน ส่วนที่ราบของรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำจะเรียกว่า “flats” และส่วนที่ลาดเอียงเรียกว่า “แนวลาดชัน” แบบฉบับของรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำจะเคลื่อนอยู่ภายในหมวดหมู่เกิดเป็น flats และก่ายขึ้นไปด้วยแนวลาดชัน
Fault-bend fold เกิดขึ้นโดยการเคลื่อนที่ของผนังเพดานบนผิวรอยเลื่อนที่ไม่ราบเรียบและเกิดร่วมสัมพันธ์กันกับทั้งรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำและรอยเลื่อนที่เกิดจากการยืดและดึง
รอยเลื่อนอาจกลับมามีพลังอีกครั้งในภายหลังได้ด้วยการเคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ดั้งเดิม (fault inversion) ดังนั้นรอยเลื่อนปรกติหนึ่งๆ อาจกลายเป็นรอยเลื่อนย้อนได้หรือในทางกลับกัน
รอยเลื่อนตามแนวระดับ
พื้นผิวของรอยเลื่อนตามแนวระดับ (อังกฤษ: strike-slip fault) ปรกติแล้วจะวางตัวเกือบอยู่ในแนวดิ่งและผนังพื้นจะเคลื่อนที่ไปไม่ไปทางซ้ายก็ไปทางขวาหรือไปทางด้านข้างโดยที่มีการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเพียงเล็กน้อยมาก รอยเลื่อนตามแนวระดับ ที่มีการเคลื่อนที่ไปทางด้านซ้ายเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า รอยเลื่อน “” ขณะที่ที่มีการเคลื่อนที่ด้านข้างไปทางด้านขวาเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า รอยเลื่อน “”
ส่วนพิเศษของรอยเลื่อนตามแนวระดับคือ “รอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่” (transform fault) ซึ่งเป็นลักษณะที่เกิดจากเพลทเทคโทนิกที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนแผ่ออกไปจากแนวศูนย์กลางอย่างเช่น เทือกเขากลางสมุทร รอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่มักเรียกขานกันว่า “แนวแผ่นเปลือกโลกตามรอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่” (transform plate boundary)
รอยเลื่อนตามแนวเฉียง
รอยเลื่อนหนึ่งๆ ที่มีองค์ประกอบที่เป็นทั้งรอยเลื่อนปรกติและรอยเลื่อนตามแนวระดับจะเรียกว่า “รอยเลื่อนตามแนวเฉียง” (อังกฤษ: oblique-slip fault) รอยเลื่อนเกือบทั้งหมดจะมีองค์ประกอบทั้งการเลื่อนปรกติและการเลื่อนตามแนวระดับ ดังนั้นการจะนิยามให้รอยเลื่อนเป็นแบบตามแนวเฉียงนั้นต้องมีการเลื่อนทั้งตามแนวปรกติและตามแนวระดับที่มีขนาดที่วัดได้และมีนัยสำคัญ รอยเลื่อนตามแนวเฉียงบางรอยพบอยู่ในแนวเฉือนแบบ transtensional และในแนวเฉือนแบบ transpressional หรือในลักษณะอื่นที่ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงของการแผ่ขยายตัวออกหรือการหดสั้นลงในระหว่างการเสียรูปแต่ในช่วงแรกๆที่เกิดเป็นรอยเลื่อนนั้นยังคงมีพลังอยู่
มุมกลับ (hade) ถือเป็นมุมก้มโดยเป็นมุมระหว่างระนาบรอยเลื่อนกับระนาบแนวดิ่งที่มีแนวระดับขนานไปกับรอยเลื่อนนั้น
หินรอยเลื่อน
รอยเลื่อนทั้งหมดมีค่าความหนาอยู่ค่าหนึ่งที่วัดได้ที่ประกอบไปด้วยหินที่เสียรูปที่มีลักษณะเป็นไปตามระดับความลึกในเปลือกโลกที่รอยเลื่อนเหล่านั้นเกิดขึ้น ชนิดของหินเป็นผลมาจากรอยเลื่อนและการปรากฏและธรรมชาติของของไหลที่ก่อให้เกิดแร่ หินรอยเลื่อนถูกจำแนกจากเนื้อหินและกลไกลการเกิด รอยเลื่อนหนึ่งๆที่แผ่ผ่านลงไปในระดับต่างๆของธรณีภาคจะมีชนิดของหินรอยเลื่อนที่แตกต่างกันออกไปอย่างมากที่เกิดขึ้นตามพื้นผิวหน้าของมัน การเคลื่อนตัวในแนวปรกติอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดหินรอยเลื่อนในลักษณะที่แตกต่างกันไปตามระดับของชั้นเปลือกโลกด้วยมีการแปรผันในระดับของการพิมพ์ทับลงไป ผลกระทบนี้จะปรากฏชัดเจนเป็นการเฉพาะในกรณีของรอยเลื่อนแยกออก (detachment fault) และรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำขนาดใหญ่
ประเภทหลักๆของหินรอยเลื่อน:
- (cataclasite) – หินรอยเลื่อนชนิดหนึ่งที่เศษหินมีการเกาะติดกันแน่นโดยพบอย่างเบาบางหรือเกิดเป็นเศษหินป่นไม่เกาะกัน โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นเศษหินที่มีความเหลี่ยมคมอยู่ในเนื้อตะกอนละเอียดที่มีองค์ประกอบเหมือนกัน
- ไมโลไนต์ (Mylonite) – หินรอยเลื่อนชนิดหนึ่งที่เศษหินมีการเกาะติดกันแน่นด้วย planar fabric ที่พัฒนาขึ้นมาอย่างดีอันเป็นผลเนื่องมาจากมีการลดลงในขนาดของเม็ดตะกอนทางเทคโทนิกและโดยทั่วไปจะเป็น porphyroclast กลมมนและเศษหินที่มีองค์ประกอบของแร่ใน matrix ที่เหมือนกัน
- (Fault breccia) – เป็นคาตาคลาไซต์เนื้อปานกลางถึงเนื้อหยาบประกอบด้วยเศษหินที่มองเห็นได้มากกว่า 30%
- (Fault gouge) เป็นคาตาคลาไซต์เนื้อละเอียดถึงละเอียดมากที่อุดมไปด้วยเนื้อเคลย์ที่ป่นเป็นผงไม่เกาะกัน ซึ่งอาจมี planar fabric และประกอบไปด้วยเศษหินที่มองเห็นได้น้อยกว่า 30% อาจมีเศษหินอยู่ด้วย
- (Pseudotachylite) – มีลักษณะเป็นวัตถุเนื้อละเอียดมากดูเป็นเนื้อแก้วปรกติปรากฏเป็นเนื้อฟลินต์สีดำ เกิดเป็นสายบางๆ หรือเป็นเนื้อประสานในหินกรวดมนหรือหินกรวดเหลี่ยมซึ่งเข้าไปในรอยแตกของหินเหย้า
- (Clay smear) - เป็นผงรอยเลื่อนที่อุดมไปด้วยเคลย์เกิดขึ้นในการลำดับชั้นตะกอนที่มีชั้นตะกอนที่อุดมไปด้วยดินเคลย์ซึ่งถูกเฉือนและเสียรูปอย่างรุนแรงเกิดเป็นผงรอยเลื่อน
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- McKnight, Tom L.; Hess, Darrel (2000). "The Internal Processes: Types of Faults". Physical Geography: A Landscape Appreciation. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. pp. 416–7. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Davis, George H.; Reynolds, Stephen J. (1996). "Folds". Structural Geology of Rocks and Regions. New York, John Wiley & Sons. pp. 372–424. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Proposed classification of fault rocks
- Diagrams explaining thrust fault geometries 2010-01-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
เชื่อมต่อภายนอก
- Fault Motion Animations 2005-02-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- An aerial view of the San Andreas fault in the Carrizo Plain, Central California
- LANDSAT image of the San Andreas Fault in southern California 2008-04-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng inthangthrniwithyann rxyeluxn xngkvs fault hrux aenwrxyeluxn xngkvs fault line epnrxyaetkranab planar fracture inhin thihindanhnungkhxngrxyaetknnekhluxnthiipbnhinxikdanhnung rxyeluxnkhnadihyinchnepluxkolkepnphlmacakkarekhluxnthithiaetktangknhruxechuxnknaelaekhtrxyeluxnmiphlng active fault zone epntaaehnngthiimaennxnkhxngkarekidaephndinihwthnghlay aephndinihwekidcakkarplxyphlngnganxxkmarahwangkareluxnithlxyangrwderwiptamrxyeluxn rxyeluxnhnungtamaenwtaekhbkhxngkaraeprsnthan tectonic sxngaephneriykwarxyeluxnaeprsphaphkhnadihy transform fault rxyeluxyinhindindaniklkbemuxng aexdield khxngxxsetreliy dwyprktiaelwrxyeluxnmkcaimekidkhunepnrxyeluxnediywxyangchdecn khawa ekhtrxyeluxn fault zone cungthuknamaichemuxklawxangthungekhtthimikarepliynlksnathisbsxnthiekidkhunrwmkbranabrxyeluxn danthngsxngkhxngrxyeluxnthiimwangtwxyuinaenwdingeriykwa phnngephdan hanging wall aela phnngphun foot wall odyniyamnnhinephdanxyudanbnkhxngrxyeluxnkhnathihinphunnnxyudanlangkhxngrxyeluxn niyamsphthehlanimacakkartha klawkhuxemuxchawehmuxngthanganbnmwlrupthrngepnaephnemuxekhayunbnhinphunkhxngekhaaelamihinephdanaekhwnxyuehnuxekhaklikkartdknkhxngrxyeluxnidaebngthirabsung Allegheny aela ethuxkekha in ephnsileweniy shrthxemrika karekidaelaphvtikrrmkhxngrxyeluxnthnginrxyeluxnkhnadelkodd aelaphayinekhtrxyeluxnkhnadihythixthibayidwaepnaephnethkhothniknnthukkhwbkhumodykarekhluxnthismphththkhxnghininaetladankhxngranabrxyeluxn enuxngcakkaresiydsiaelakhxnghinthaihhinimsamartheluxnithlipsungknaelaknidodyngay odythicamikhwamekhn stress ekidkhuninhinaelaemuxkhwamekhnephimkhuncnthungradbhnungthiekincudsungsudkhxngkhwamekhriyd strain threshold phlngnganskythisasmiwcathukplxyxxkmaepnkhwamekhriydsungcathukcakdlngbnranabtamthikarekhluxnthismphththekidkhun thithaihekid rxyeluxn nnexng khwamekhriydnnmithngthiekidcakkarsasmtwaelathiekidkhunxyangchbphlnkhunxyukb rheology khxnghin odychnepluxkolkdanlangthiyudhyunaelaswnkhxngaemnethilcakhxy sasmkarepliynlksnathilanxyphankarechuxn khnathiepluxkolkdanbnthimikhunsmbtiepraacaekidepnrxyaetkhruxplxykhwamekhnaebbchbphlnthithaihekidkarekhluxnthiiptamaenwrxyeluxn rxyeluxnhnung inhinthimilksnayudhyunksamarthplxykhwamekhriydxxkmaaebbchbphlnidehmuxnknemuxxtrakhwamekhriydmimakekinphx phlngnganthithukplxyxxkmaodykarplxykhwamekhriydaebbchbphlnnnepnsaehtukhxngaephndinihwsungepnlksnathwipxnhnungthiekidtamaenwrxytxthiaephnepluxkolkekhluxnthiswnkn transform boundary rxyaetkculphakhaelathvsdi AMR rxyaetkculphakhhruxkhwamihwsaethuxnculphakhbangthikekhaicwaepnlksnapraktthiekidkhuncakhinthixyuphayitkhwamekhn odyepnkarkhlaytwkhnadelkthixacmiphunthiethakbcanxaharibhnunghruxphunthikhnadelkdwykarpldplxykhwamekhriydphayitsphaphthimikhwamekhnsung mnephiyngekidkhunemuxrxyaetkculphakhephiyngphxthiechuxmtxkbphunthieluxnithlkhnadihyxnhnungthiekidcakehtukarnihwsaethuxnhruxaephndinihwkhnadihy tamthvsdininn hlngcakekidaephndinihwkhnadihykhwamekhnswnihycathukplxyxxkmaaelakhwamthikhxngkarekidrxyaetkculphakhcatalngxyangepnthwikhun thvsdithiekiywkhxngxyang Accelerating Moment Release AMR thimismmutithanwaxtrakhwamihwsaethuxnmikarerngipinlksnathirusukidxyangchdecnkxnkarekidaephndinihwkhrngihy aelanixacichepnekhruxngmuxbngbxkinkarthanaykarekidaephndinihwlwnghnatngaetinradbwnipcnthungradbpiid thvsdinikalngmikarthuknaipichephimkhunepnxyangmakephuxthanaykaraetkkhxnghininehmuxngaeraelarwmthungkarprayuktxikmakthikalngidrbkhwamphyayaminswnkhxngrxyeluxnphayinhinthiepraa phvtikrrmkhlayknnikthuksngektidinkarsnihwkxnkarraebidkhxngphuekhaifdwyrayaeluxn rayaeluxnaenwnxn aelarayaeluxnaenwyunrxyeluxnhnungin praethsfrngess dansaymuxekhluxnthilngkhnathidankhwamuxekhluxnthikhun karbidngxkhxngchnhinthangkhwamuxduehmuxncaepnphlmacakmichnhinkhdokhngywy drag folding rayaeluxn slip khuxrayakarekhluxnthismphththkhxnglksnathangthrniwithyathipraktxyubnaetladankhxngranabrxyeluxnaelaepn ewketxrrayaeluxnxnhnung rupaebbkhxngrayaeluxnnnichinkarbxkpraephthkhxngrxyeluxn sungmikhwamchdecncakrayaeluxnaenwyun throw khxngrxyeluxnsungepnkarehluxmkninaenwding swnrayaeluxnaenwnxn heave cawdrayaehluxmkhxngrxyeluxninaenwradb ewketxrkhxngrayaeluxnsamarthpraemininthangkhunphaphidodykarsuksa fault bend folding xyangechnchnhinkhdokhngywykhxngchnhinbnaetladankhxngrxyeluxn thisthangaelakhnadkhxngrayaeluxnaenwnxnaelarayaeluxnaenwyunwdidodykarhacudtdthrrmda bnaetladankhxngrxyeluxn inthangptibtiaelwepnipidthieracahathisthangrayaeluxnkhxngrxyeluxnaelapramankhaewketxrkhxngrayaeluxnaenwnxnkbrayaeluxnaenwyunidpraephthkhxngrxyeluxnrxyeluxnthnghlaysamarthcaaenkxxkidepn 3 klumtamlksnakhxngrayaeluxn sense of slip rxyeluxnthimikarekhluxnthismphthth hruxrayaeluxn bnranabrxyeluxnxyuinaenwdingcaeriykwa dip slip fault aethakwarayaeluxnxyuinaenwradbcaeriykwa rxyeluxntamaenwradb transcurrent hrux strike slip fault swnrxyeluxnthimirayaeluxniptamaenwechiyngcaeriykwa oblique slip fault sahrbkhwamaetktanginkareriykchuxthnghmdnn khunxyukbmumexiyngethsuththiaelalksnakhxngrayaeluxnkhxngrxyeluxnsungimidphicarnakarwangtwinpccubnthixacepliynaeplngipcakkarokhngngxhruxkarexiyngradbinradbthxngthinhruxinradbphumiphakhid rxyeluxntamaenwmumeth aesdngphaphtdkhwangkhxngrxyeluxnprktiaelarxyeluxnyxn rxyeluxntamaenwmumeth xngkvs dip slip fault samarthcaaenkaeykyxyidepnchnid reverse fault aela normal fault rxyeluxnprktiekidkhunemuxepluxkolkthukdungxxkcakknsungsamartheriykrxyeluxnchnidniwa extensional fault odydanphnngephdankhxngrxyeluxncaekhluxnthilngsmphththkbdanphnngphun mwlhinthiekhluxnthilngthixyurahwangrxyeluxnprktisxngrxythimimumexiyngethekhahakneriykwa graben swnmwlhinthngsxngthiekhluxnthikhuntamrxyeluxnprktitidkbkraebndngklaweriykwa horst low angle normal fault thiminysakhythangethkhothnikinradbphumiphakhthixaceriykwa detachment fault reverse fault caklbknkbrxyeluxnprktiklawkhux phnngephdancaekhluxnthikhunsmphththkbphnngphun rxyeluxnyxnbngchithungmikarhdtwlngkhxngepluxkolk mumethkhxngrxyeluxnyxncamikhwamchnsungmakkwa 45 xngsa thrust fault milksnakarekhluxnthiehmuxnknkbrxyeluxnyxnaetmimumethkhxngranabrxyeluxncanxykwa 45 xngsa rxyeluxnyxnmumtathaihekidlksnakhxngkarphthnaipinaenwladchn ramp flats aela fault bend fold rxyeluxnyxnmumtakihekidepnchnhinthbtw nappe aelamwlhinoddrxyeluxn klippe inaenwyxnmumta thrust belt khnadihy ranabrxyeluxnepnranabkhxngphunphiwrxyaetkkhxngrxyeluxn swnthirabkhxngrxyeluxnyxnmumtacaeriykwa flats aelaswnthiladexiyngeriykwa aenwladchn aebbchbbkhxngrxyeluxnyxnmumtacaekhluxnxyuphayinhmwdhmuekidepn flats aelakaykhunipdwyaenwladchn Fault bend fold ekidkhunodykarekhluxnthikhxngphnngephdanbnphiwrxyeluxnthiimraberiybaelaekidrwmsmphnthknkbthngrxyeluxnyxnmumtaaelarxyeluxnthiekidcakkaryudaeladung rxyeluxnxacklbmamiphlngxikkhrnginphayhlngiddwykarekhluxnthiinthisthangtrngknkhamkbkarekhluxnthidngedim fault inversion dngnnrxyeluxnprktihnung xacklayepnrxyeluxnyxnidhruxinthangklbkn rxyeluxntamaenwradb rxyeluxnaesnaexnedrxsepnhnungkhxngrxyeluxnthimichuxesiyngkhxngshrthxemrika epnrxyeluxntamaenwradbkhwarxyhnungthithaihekidaephndinihwaesnaefrnsisokkhrngihyinpi 1906 phunphiwkhxngrxyeluxntamaenwradb xngkvs strike slip fault prktiaelwcawangtwekuxbxyuinaenwdingaelaphnngphuncaekhluxnthiipimipthangsaykipthangkhwahruxipthangdankhangodythimikarekhluxnthiinaenwdingephiyngelknxymak rxyeluxntamaenwradb thimikarekhluxnthiipthangdansayeriykxikxyanghnungwa rxyeluxn khnathithimikarekhluxnthidankhangipthangdankhwaeriykxikchuxhnungwa rxyeluxn phngaesdngrxyeluxntamaenwradbsxngpraephth swnphiesskhxngrxyeluxntamaenwradbkhux rxyeluxnaeprsphaphkhnadihy transform fault sungepnlksnathiekidcakephlthethkhothnikthiekiywkhxngkbkarekhluxnaephxxkipcakaenwsunyklangxyangechn ethuxkekhaklangsmuthr rxyeluxnaeprsphaphkhnadihymkeriykkhanknwa aenwaephnepluxkolktamrxyeluxnaeprsphaphkhnadihy transform plate boundary rxyeluxntamaenwechiyng rxyeluxntamkhxbekhtthangitkhxng Ramon in xisraexltxnit rxyeluxnhnung thimixngkhprakxbthiepnthngrxyeluxnprktiaelarxyeluxntamaenwradbcaeriykwa rxyeluxntamaenwechiyng xngkvs oblique slip fault rxyeluxnekuxbthnghmdcamixngkhprakxbthngkareluxnprktiaelakareluxntamaenwradb dngnnkarcaniyamihrxyeluxnepnaebbtamaenwechiyngnntxngmikareluxnthngtamaenwprktiaelatamaenwradbthimikhnadthiwdidaelaminysakhy rxyeluxntamaenwechiyngbangrxyphbxyuinaenwechuxnaebb transtensional aelainaenwechuxnaebb transpressional hruxinlksnaxunthithisthangkhxngkarepliynaeplngkhxngkaraephkhyaytwxxkhruxkarhdsnlnginrahwangkaresiyrupaetinchwngaerkthiekidepnrxyeluxnnnyngkhngmiphlngxyu mumklb hade thuxepnmumkmodyepnmumrahwangranabrxyeluxnkbranabaenwdingthimiaenwradbkhnanipkbrxyeluxnnnhinrxyeluxnrxyeluxnthnghmdmikhakhwamhnaxyukhahnungthiwdidthiprakxbipdwyhinthiesiyrupthimilksnaepniptamradbkhwamlukinepluxkolkthirxyeluxnehlannekidkhun chnidkhxnghinepnphlmacakrxyeluxnaelakarpraktaelathrrmchatikhxngkhxngihlthikxihekidaer hinrxyeluxnthukcaaenkcakenuxhinaelakliklkarekid rxyeluxnhnungthiaephphanlngipinradbtangkhxngthrniphakhcamichnidkhxnghinrxyeluxnthiaetktangknxxkipxyangmakthiekidkhuntamphunphiwhnakhxngmn karekhluxntwinaenwprktixyangtxenuxngmiaenwonmthicathaihekidhinrxyeluxninlksnathiaetktangkniptamradbkhxngchnepluxkolkdwymikaraeprphninradbkhxngkarphimphthblngip phlkrathbnicapraktchdecnepnkarechphaainkrnikhxngrxyeluxnaeykxxk detachment fault aelarxyeluxnyxnmumtakhnadihy praephthhlkkhxnghinrxyeluxn cataclasite hinrxyeluxnchnidhnungthiesshinmikarekaatidknaennodyphbxyangebabanghruxekidepnesshinpnimekaakn odythwipcamilksnaepnesshinthimikhwamehliymkhmxyuinenuxtakxnlaexiydthimixngkhprakxbehmuxnknimolint Mylonite hinrxyeluxnchnidhnungthiesshinmikarekaatidknaenndwy planar fabric thiphthnakhunmaxyangdixnepnphlenuxngmacakmikarldlnginkhnadkhxngemdtakxnthangethkhothnikaelaodythwipcaepn porphyroclast klmmnaelaesshinthimixngkhprakxbkhxngaerin matrix thiehmuxnkn Fault breccia epnkhatakhlaistenuxpanklangthungenuxhyabprakxbdwyesshinthimxngehnidmakkwa 30 Fault gouge epnkhatakhlaistenuxlaexiydthunglaexiydmakthixudmipdwyenuxekhlythipnepnphngimekaakn sungxacmi planar fabric aelaprakxbipdwyesshinthimxngehnidnxykwa 30 xacmiesshinxyudwy Pseudotachylite milksnaepnwtthuenuxlaexiydmakduepnenuxaekwprktipraktepnenuxflintsida ekidepnsaybang hruxepnenuxprasaninhinkrwdmnhruxhinkrwdehliymsungekhaipinrxyaetkkhxnghinehya Clay smear epnphngrxyeluxnthixudmipdwyekhlyekidkhuninkarladbchntakxnthimichntakxnthixudmipdwydinekhlysungthukechuxnaelaesiyrupxyangrunaerngekidepnphngrxyeluxnduephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb rxyeluxn klumrxyeluxninpraethsithyxangxingMcKnight Tom L Hess Darrel 2000 The Internal Processes Types of Faults Physical Geography A Landscape Appreciation Upper Saddle River NJ Prentice Hall pp 416 7 ISBN 0 13 020263 0 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Davis George H Reynolds Stephen J 1996 Folds Structural Geology of Rocks and Regions New York John Wiley amp Sons pp 372 424 ISBN 0 471 52621 5 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Proposed classification of fault rocks Diagrams explaining thrust fault geometries 2010 01 12 thi ewyaebkaemchchinechuxmtxphaynxkFault Motion Animations 2005 02 17 thi ewyaebkaemchchin An aerial view of the San Andreas fault in the Carrizo Plain Central California LANDSAT image of the San Andreas Fault in southern California 2008 04 04 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamthrniwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk