พระโพธิสัตว์ (สันสกฤต: बोधिसत्त्व bodhisattva; บาลี: बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ
ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป
คำศัพท์
พระโพธิสัตว์ มีภาษาต่าง ๆ มีดังนี้
การสร้างบารมี
ประเภทของพระโพธิสัตว์
พระธัมมปาละ ระบุไว้ในอรรถกถาสโมทานกถา (ในปรมัตถทีปนี) ว่าพระโพธิสัตว์มี 3 ประเภท คือ
- พระมหาโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้ตรัสรู้เป็นพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า
- พระปัจเจกโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
- พระสาวกโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีเพื่อให้ได้เป็นพระอนุพุทธะ
นอกจากนี้ ในอรรถกถาเถรคาถา (ในปรมัตถทีปนี) พระธัมมปาละยังจำแนกพระมหาโพธิสัตว์ออกเป็นอีก 3 ประเภท คือ
- ปัญญาธิกโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้ปัญญาเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 20 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 7 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 9 อสงไขย รวมเป็น 16 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น พระนิยตโพธิสัตว์ เมื่อเหลือเวลาอีก 4 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้าจนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
- สัทธาธิกโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้ศรัทธาเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 40 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 14 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 18 อสงไขย รวมเป็น 32 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น พระนิยตโพธิสัตว์ เมื่อเหลือเวลาอีก 8 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
- วิริยาธิกโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีโดยใช้วิริยะเป็นตัวนำ ระยะเวลาการสร้างบารมีทั้งหมด 80 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป คือตั้งความปรารถนาอยู่ในใจเป็นเวลา 28 อสงไขย หลังจากนั้นจึงออกปากกล่าววาจาต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้าเป็นเวลา 36 อสงไขย รวมเป็น 64 อสงไขย และได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกเป็น พระนิยตโพธิสัตว์ เมื่อเหลือเวลาอีก 16 อสงไขยกับเศษแสนมหากัป เป็นการสร้างบารมีอย่างยิ่งและเข็มงวดขึ้นเรื่อย และได้รับพยากรณ์ซ้ำมาตลอดเมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้า จนถึงสมัยพุทธภูมิของท่าน
ตามหลักฐานที่ปรากฏในอรรถกถาพบว่า ยิ่งใช้เวลาในการบำเพ็ญบารมีนานเท่าใด พระโพธิสัตว์จะมีพระชนมายุยืนขึ้นในสมัยที่ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า รวมทั้งสัตว์ที่เกิดในยุคนั้นจะมีอายุยืน และบรรลุธรรมได้ง่ายและมีจำนวนมาก แต่ไม่ประกันว่าศาสนาของพระองค์จะยืนยาวหลายชั่วอายุขัย เช่น พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ มีพระนามว่า พระโคตมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างบารมีมาทาง ปัญญาธิกโพธิสัตว์ มีพระชนมายุเพียง 80 พรรษา พระวรกายสูง 4 ศอก หรือ 2 เมตร บำเพ็ญทุกรกิริยา 6 ปี พุทธรังสีสร้านไปข้างละ 1 วาเป็นปกติ มนุษย์สมัยพระองค์มีอายุขัย 100 ปี แต่ในอนาคต เมื่อมนุษย์มีอายุขัย 80,000 ปี จะมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามพระศรีอริยเมตไตรย ทรงสร้างบารมีมาทาง"วิริยาธิกะพุทธเจ้า" มีพระวรกายสูงได้ 88 ศอก หรือ 44 เมตร บำเพ็ญทุกกิริยาชาติสุดท้าย 7 วัน พระพุทธรัศมีของพระองค์แผ่ซ่านตลอดไปเบื้องบนจนถึงพรหมโลก เบื้องต่ำตลอดลงไปจนถึงมหาอเวจีนรก
ส่วนเหตุที่ทำให้พระสัจธรรมตั้งอยู่ได้นานหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความผ่อนคลายของพระพุทธเจ้าในการแสดง และพระวินัยที่ได้ทรงบัญญัติไว้
ส่วนพระพุทธโฆสะแบ่งพระโพธิสัตว์ออกเป็น 2 ประเภทคือ
- อนิยตโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาเลย เรียกว่า อนิยตโพธิสัตว์ ความหมายคือยังไม่แน่นอนว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะอาจจะเลิกล้มความปรารถนาเมื่อไรก็ได้
- นิยตโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ที่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาแล้ว เรียกว่า นิยตโพธิสัตว์ ตามความหมายคือจะได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นนอน เพราะถ้าถึงนิพพานต้องดำรงค์ฐานะเป็นพระพุทธเจ้าอย่างเดียว แต่ถ้าบารมีและเวลายังไม่สมบูรณ์ แม้ว่าจะพยายามปฏิบัติอย่างยิ่งยวดบังเกิดปัญญาอย่างเยี่ยมยอด ก็ไม่สามารถถึงนิพพานก่อนได้ แม้จะทุกข์ท้อแท้ จนคิดว่าเลิกที่จะเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว แต่แล้วในที่สุดมหากุศลที่เป็นอนุสัย ก็จะพุ่งกระจายขึ้นมาให้ตั้งมั่นและบำเพ็ญบารมีกันต่อ จนกว่าบารมีและเวลาสมบูรณ์
บารมี 30 ทัศ
บารมี หมายถึง การกระทำที่ประเสริฐ การกระทำที่ประกอบด้วยกุศลเจตนาคุณงามความดีที่ควรกระทำ คุณงามความดีที่ได้บำเพ็ญมา คุณสมบัติที่ทำให้ยิ่งใหญ่ เป็นธรรมส่วนหนึ่งที่สำคัญ ซึ่งช่วย เหลือเกื้อกูลให้ผู้ปฏิบัติได้ถึงซึ่งโพธิญาณ
บารมีที่พระโพธิสัตว์บำเพ็ญ คือ
- 1. ทานบารมี หมายถึง การสละออก การให้ต่างๆ โดยมีเจตนาช่วยเหลือผู้อื่นเป็นสำคัญ
- 2. ศีลบารมี หมายถึง การรักษาศีลให้เป็นปกติ หากเป็นฆราวาสหมายถึงการถือศีล 5 หากเป็นนักบวชคือการถือศีล 8 ขึ้นไป
- 3. เนกขัมมะบารมี หมายถึง การออกบวช หากฆราวาสถือศีล 8 ก็นับเป็นเนกขัมบารมีได้เช่นกัน เพราะเป็นการกระทำเพื่อเว้นจากกามสุข
- 4. ปัญญาบารมี หมายถึง การกระทำเพื่อเพิ่มพูนปัญญา ปัญญาแบ่งออกเป็นปัญญาทางโลกและทางธรรม เนื่องจากพระโพธิสัตว์จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตตกาล จึงต้องมีปัญญาความรู้มาก เพื่อจะได้สั่งสอนสัตว์ให้พ้นจากทุกข์ได้ การเรียนของพระโพธิสัตว์จึงต้องเรียนมากกว่าผู้อื่น
- 5. วิริยะบารมี หมายถึง การกระทำที่ใช้ความเพียรเป็นที่ตั้ง การมีวิริยะอาจไม่ได้หมายถึงการเพียรจนกระทั่งตัวตายในครั้งเดียว แต่หมายถึงมีความพยายามทำอยู่เรื่อยๆ ทำไปทีละน้อยตามกำลังจนกว่าจะสำเร็จ
สัมมัปปธานหรือความเพียรที่ถูกต้อง มี 4 อย่างคือ
- o สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้น
- o ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
- o ภาวนาปธาน เพียรทำบุญให้เกิดขึ้น
- o อนุรักขนาปธาน เพียรรักษาการทำบุญไว้ต่อเนื่อง
- 6. ขันติบารมี หมายถึง การอดทนอดกลั้นต่อสิ่งต่างๆ
- 7. สัจจะบารมี หมายถึง การรักษาคำพูด ไม่กลับกลอก แม้ว่าจะต้องสละบางสิ่งเพื่อรักษาคำพูดไว้
- 8. อธิษฐานบารมี หมายถึง การตั้งมั่นในความปรารถนา ตั้งจิตมั่นต่อคำอธิษฐาน
- 9. เมตตาบารมี หมายถึง การมีความปรารถดี มีความรักต่อสัตว์ทั้งหลายในโลกอย่างเท่าเทียม ประดุจมารดารักบุตร เมตตาแตกต่างจากราคะตรงที่ ราคะอาจรักเฉพาะตัวหรือพวกพ้อง แต่เมตตาเป็นรักที่ไม่แบ่งแยก
- 10. อุเบกขาบารมี หมายถึง การวางเฉย มีใจเป็นกลาง การปล่อยวางในสิ่งที่ผิดพลาด ในสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ วางเฉยในความทุกข์ของตน และสัตว์ที่ช่วยไม่ได้ เนื่องจากมีปัญญาเห็นว่าสัตว์ทั้งหลายย่อมเป็นไปตามกรรมของตน ไม่มีใครได้รับความยากลำบากโดยไม่มีเหตุปัจจัย ล้วนแล้วแต่เป็นกรรมที่เคยทำมาทั้งสิ้น
ซึ่งในแต่ละบารมีนั้นแบ่งย่อยเป็น 3 ขั้น ได้แก่
- บารมีขั้นต้น คือ เนื่องด้วยวัตถุ และทรัพย์นอกกาย เช่น การสละทรัพย์ช่วยผู้อื่น จัดเป็น ทานบารมี, รักษาศีลแม้ว่าจะต้องสูญเสียทรัพย์สินเงินทอง จัดเป็น ศีลบารมี, หรือ ยอมถือบวชโดยไม่อาลัยในทรัพย์สิน จัดเป็น เนกขัมบารมี เป็นต้น
- บารมีขั้นกลางหรืออุปบารมี คือ เนื่องด้วยเลือดเนื้อ อวัยวะ เช่น การสละเลือดเนื้ออวัยวะแก่ผู้อื่น จัดเป็น ทานอุปบารมี, การใช้ปัญญารักษาอวัยวะเลือดเนื้อของผู้อื่น จัดเป็น ปัญญาอุปบารมี ,การมีความเพียรจนไม่อาลัยในเลือดเนื้อหรืออวัยวะ จัดเป็น วิริยะอุปบารมี, มีเมตตาต่อผู้ที่จะมาทำร้ายเลือดเนื้ออวัยวะของตน จัดเป็น เมตตาอุปบารมี, หรือ มีความอดทนอดกลั้นต่อผู้ที่จะมาทำลายอวัยวะของตน จัดเป็น ขันติอุปบารมี เป็นต้น
- บารมีขั้นสูงสุดหรือปรมัตถบารมี คือ เนื้องด้วยชีวิต เช่น การสละชีวิตเป็นทานแก่ผู้อื่น จัดเป็น ทานปรมัตถบารมี , ยอมสละแม้ชีวิตเพื่อจะรักษาคำพูด จัดเป็น สัจจปรมัตถบารมี, ตั้งจิตไม่หวั่นไหวต่อคำอธิษฐานแม้จะต้องเสียชีวิต จัดเป็น อธิษฐานปรมัตถบารมี, หรือ วางเฉยต่อผู้ที่จะมาทำร้ายชีวิตของตน จัดเป็น อุเบกขาปรมัตถบารมี เป็นต้น
ดังนั้น จึงรวมเป็นบารมี 30 ทัศ
คุณสมบัติและอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์
อานิสงส์ของการเป็นพระนิยตโพธิสัตว์
คัมภีร์วิสุทธชนวิลาสินี กล่าวว่าพระนิยตโพธิสัตว์ (ผู้ได้รับพุทธพยากรณ์แล้ว) จะได้อานิสงส์ 18 อย่างอยู่ตลอดจนได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ได้แก่
- ไม่ตาบอด หูหนวก มาแต่กำเนิด
- ไม่เป็นคนบ้า
- ไม่เป็นคนใบ้
- ไม่เป็นคนง่อยเปลี้ย ไม่เกิดในมิลักขประเทศคือประเทศป่าเถื่อน
- ไม่เกิดในท้องนางทาส (ไม่เป็นทาสในเรือนเบี้ย)
- ไม่เป็นนิยตมิจฉาทิฐิ
- ไม่เปลี่ยนแปลงเพศ
- ไม่ทำอนันตริยกรรม
- ไม่เป็นโรคเรื้อน
- ไม่เป็นเดรัจฉานที่มีกายเล็กกว่านกกระจาบ และไม่โตกว่าช้าง
- ไม่เกิดเป็นขุปปิปาสิกเปรตและนิชฌานตัณหิกเปรต
- ไม่เกิดเป็นกาลกัญชิกาสูร
- ไม่เกิดในอเวจีนรก
- ไม่เกิดในโลกันตริกนรก
- ไม่เกิดเป็นมาร
- ไม่เกิดในอสัญญสัตตาภูมิ
- ไม่เกิดในสุทธาวาสภูมิ
- ไม่เกิดในอรูปภูมิและไม่เกิดในจักรวาลอื่น
อานิสงส์พิเศษอีกอย่างหนึ่งของนิยตโพธิสัตว์ คือ การทำอธิมุตตกาลกริยา คือเมื่อท่านเกิดเป็นเทวดาหรือพระพรหม เกิดความเบื่อหน่าย ในการเสวยสุขนั้น ปรารถนาที่จะสร้างบารมีในโลกมนุษย์ ท่านก็สามารถทำการอธิมุตต คืออธิษฐานให้จุติ (ตายจากการเป็นเทพ) มาเกิดเป็นมนุษย์ได้ทันที ได้โดยง่าย ซึ่งเหล่าเทพเทวดาอื่นๆ ไม่สามารถทำอย่างนี้ได้
ธรรมสโมธาน 8 ประการ
สำหรับพระโพธิสัตว์ ที่เป็น อนิยตโพธิสัตว์ แต่สร้างบารมี 30 ทัศ และมีธรรมสโมธาน 8 ประการสมบูรณ์แล้ว ได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกเฉพาะพระพักตร์พุทธเจ้า โดยจะได้รับพุทธพยากรณ์โดยนัยว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ทรงนามว่าอย่างนั้น ในกัปอันเป็นอนาคตที่เท่านั้น และก็จะกลายเป็น นิยตโพธิสัตว์ ทันที คือเป็นพระโพธิสัตว์ที่เที่ยงแท้ ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอน ธรรมสโมธาน 8 ประการคือ
- ได้เกิดเป็นมนุษย์
- เป็นบุรุษเพศ
- มีอุปนิสสัยปัจจัยแห่งพระอรหันต์รุ่งเรืองอยู่ในขันธสันดาน (ถ้าเกิดเปลี่ยนใจก็จะเป็นพระอรหันต์ทันที)
- ต้องพบพระพุทธเจ้าขณะมีพระชนม์ชีพอยู่ และได้สร้างกองบุญกุศลต่อหน้าพระพักตร์
- ต้องเป็นบรรพชิต หรือต้องเป็น โยคี ฤๅษี ดาบส หรือปริพาชกในศาสนาหรือลัทธิกรรมวาทีหรือกิริยาวาที ที่เชื่อว่า บุญมี บาปมี ทำบุญได้บุญ ทำบาปได้บาป ต้องไม่เป็นคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน
- ต้องมีอภิญญาและฌานสมาบัติ อันเชี่ยวชาญ
- เคยให้ชีวิตของตนเป็นทาน เพื่อสัมโพธิญาณมาก่อนในอดีตชาติ
- ต้องมี ฉันทะ คือมีความรักความพอใจในพุทธภูมิเป็นกำลัง
กล่าวถึงพุทธภูมิธรรมของนิยตโพธิสัตว์ ในการเพิ่มพูนบารมีให้มากยิ่งขึ้น มีน้ำใจประกอบไปด้วย พุทธภูมิธรรม 4 ประการ คือ
- อุสสาโห คือประกอบไปด้วยพระอุตสาหะ มีความเพียรอันสลักติดแน่นในจิตใจอย่างมั่นคง
- อุมัตโต คือประกอบด้วยปัญญา มีปัญญาเชียวชาญเฉียบคม
- อวัตถานัง คือมีพระทัยอธิษฐานอันมั่นคง มิได้หวั่นไหวคลอนแคลน
- หิตจริยา คือประกอบไปด้วยพระเมตตา เจริญจิตอยู่ด้วยพรหมวิหารเป็นปกติ
อัธยาศัย ที่ทำให้พระโพธิญานของนิยตโพธิสัตว์แก่กล้ายิ่งขึ้น มี 6 ประการ
- เนกขัม พอใจในการรักษาศีล การบวช หรือบรรพชา
- วิเวก พอใจอยู่ในที่สงบ
- อโลภ พอใจในการบริจาคทาน
- อโทส พอใจในความไม่โกรธ เจริญเมตตา
- อโมห พอใจในการพิจารณาคุณและโทษ เจริญปัญญา
- นิพพาน พอใจที่ยกตนออกจากภพ ไม่ยินดีในการเวียนว่ายตายเกิด ประสงค์นิพพานเป็นอย่างยิ่ง
จริยธรรม 10 ประการ
จริยธรรม 10 ประการของพระโพธิสัตว์ ประกอบด้วย
- พระโพธิสัตว์ ไม่ปรารถนาเลยว่า ร่างกายจะไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ
- พระโพธิสัตว์ ครองชีพโดยไม่ปรารถนาว่าจะไม่มีภัยอันตราย
- พระโพธิสัตว์ ไม่ปรารถนาเลยว่า จะไม่มีอุปสรรคในการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์
- พระโพธิสัตว์ ไม่ปรารถนาเลยว่า จะไม่มีมารขัดขวางการปฏิบัติภารกิจ
- พระโพธิสัตว์ ถือว่าทำงานให้นานที่สุด โดยไม่ปรารถนาจะให้สำเร็จผลเร็ว
- พระโพธิสัตว์ คบเพื่อน โดยไม่ปรารถนาจะได้รับผลประโยชน์จากเพื่อน
- พระโพธิสัตว์ ไม่ปรารถนาว่า จะให้คนอื่นต้องตามใจตนเองเสมอไปทุกอย่าง
- พระโพธิสัตว์ ทำความดีกับคนอื่น โดยไม่ปรารถนาสิ่งตอบแทน
- พระโพธิสัตว์ เห็นลาภแล้ว ไม่ปรารถนาว่าจะได้รับ
- พระโพธิสัตว์ เมื่อถูกใส่ร้ายป้ายสี ติเตียนนินทาแล้ว ไม่ปรารถนาที่จะตอบโต้
คุณสมบัติของพระโพธิสัตว์
คุณสมบัติของพระโพธิสัตว์มีอยู่ 3 ข้อใหญ่
- มหาปรัชญาหรือปัญญาอันยิ่งใหญ่ หมายความว่าจะต้องเป็นผู้มีปัญญาเห็นแจ้งในสัจธรรม ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส
- มหากรุณา หมายความว่าจะต้องเป็นผู้มีจิตกรุณาต่อสัตว์ทั้งหลายอย่างปราศจากขอบเขต พร้อมที่จะสละตนเองเพื่อช่วยสัตว์ให้พ้นทุกข์
- มหาอุปาย หมายความว่าพระโพธิสัตว์จะต้องมีวิธีการชาญฉลาดในการแนะนำ อบรมสั่งสอนผู้อื่นให้เข้าถึงสัจธรรม
คุณสมบัติทั้งสามข้อนี้ เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ข้อแรกเป็นการบำเพ็ญประโยชน์ตนให้ถึงพร้อม ส่วนข้อหลัง 2 ข้อเป็นการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น
มหาปณิธาน 4
มหาปณิธาน 4 ประกอบด้วย
- เราจะละกิเลสให้หมด
- เราจะศึกษาสัจธรรมให้จบ
- เราจะช่วยโปรดสัตว์ทั้งหลายให้สิ้น
- เราจะบรรลุพระพุทธภูมิอันประเสริฐสุด
รายนามพระโพธิสัตว์
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. หน้า 852. ISBN
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2552. 734 หน้า. หน้า 108-11. ISBN
- ผาสุข อินทราวุธ. พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กทม. โรงพิมพ์อักษรสมัย. 2543. หน้า 83-84
- ปกิณณกคาถา, อรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก สโมธานกถา
- นิทานกถาวรรณนา, อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา เอกกนิบาต ปฐมวรรค ว่าด้วยคาถาสุภาษิต ในเอกกนิบาต วรรคที่ ๑
- จักกวัตติสูตร} พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
- พระสารีบุตรทูลถามถึงเหตุที่ทำให้พรหมจรรย์ดำรงอยู่นานและไม่นาน, พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, เล่ม 1, หน้า 11-12
- พรรณนาปัจเจกพุทธาปทาน, อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค ๒. ปัจเจกพุทธาปทาน
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Who Are Bodhisattvas? 2011-08-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, an excerpt from Lankavatara Sutra
- The Thirty-Seven Practices of Bodhisattvas 2007-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, all-in-one page with memory aids & collection of different versions.
- What A Bodhisattva Does: Thirty-Seven Practices by Ngulchu Thogme 2006-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน with slide show format.
- Access to Insight Library: Bodhi's Wheel409
- The Genesis of the Bodhisattva Ideal 2011-09-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Bhikkhu Analayo (PDF Document; 5,8 MB)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraophthistw snskvt ब ध सत त व bodhisattva bali ब ध सत त bodhisatta hmaythung phuthicaidtrsruepnphraphuththeca khawa ophthistw aeplwa phukhxngxyuinphraophthiyanphraprchyaparmita chwa silpasriwichyphraxwolkietswrophthistwwdothid thngfayethrwathaelamhayanechuxwamiphraophthistwepncanwnmak aetraylaexiydkhwamechuxaetktangknipkhasphthphraophthistw miphasatang midngni snskvt ophthist t w ब ध सत त व bali ophthist t phasacin 菩萨 phusa sungyxcakthbsphth 菩提薩埵 phuthisatw yipun 菩薩 bosatsu ekahli 보살 bosal ophsl obsl thiebt changchub sempa byang chub sems dpa ewiydnam Bồ Tat obtad xksrormn odythwip sakd Bodhisattva karsrangbarmipraephthkhxngphraophthistw phrathmmpala rabuiwinxrrthkthasomthanktha inprmtththipni waphraophthistwmi 3 praephth khux phramhaophthistw phraophthistwphubaephybarmiephuxihidtrsruepnphraxrhntsmmasmphuththeca phrapceckophthistw phraophthistwphubaephybarmiephuxihidepnphrapceckphuththeca phrasawkophthistw phraophthistwphubaephybarmiephuxihidepnphraxnuphuththa nxkcakni inxrrthkthaethrkhatha inprmtththipni phrathmmpalayngcaaenkphramhaophthistwxxkepnxik 3 praephth khux pyyathikophthistw khuxphraophthistwthisrangbarmiodyichpyyaepntwna rayaewlakarsrangbarmithnghmd 20 xsngikhykbessaesnmhakp khuxtngkhwamprarthnaxyuinicepnewla 7 xsngikhy hlngcaknncungxxkpakklawwacatxhnaphraphktrphraphuththecaepnewla 9 xsngikhy rwmepn 16 xsngikhy aelaidrbphuththphyakrnkhrngaerkepn phraniytophthistw emuxehluxewlaxik 4 xsngikhykbessaesnmhakp epnkarsrangbarmixyangyingaelaekhmngwdkhuneruxy aelaidrbphyakrnsamatlxdemuxidphbkbphraphuththecacnthungsmyphuththphumikhxngthan sththathikophthistw khuxphraophthistwthisrangbarmiodyichsrththaepntwna rayaewlakarsrangbarmithnghmd 40 xsngikhykbessaesnmhakp khuxtngkhwamprarthnaxyuinicepnewla 14 xsngikhy hlngcaknncungxxkpakklawwacatxhnaphraphktrphraphuththecaepnewla 18 xsngikhy rwmepn 32 xsngikhy aelaidrbphuththphyakrnkhrngaerkepn phraniytophthistw emuxehluxewlaxik 8 xsngikhykbessaesnmhakp epnkarsrangbarmixyangyingaelaekhmngwdkhuneruxy aelaidrbphyakrnsamatlxdemuxidphbkbphraphuththeca cnthungsmyphuththphumikhxngthan wiriyathikophthistw khuxphraophthistwthisrangbarmiodyichwiriyaepntwna rayaewlakarsrangbarmithnghmd 80 xsngikhykbessaesnmhakp khuxtngkhwamprarthnaxyuinicepnewla 28 xsngikhy hlngcaknncungxxkpakklawwacatxhnaphraphktrphraphuththecaepnewla 36 xsngikhy rwmepn 64 xsngikhy aelaidrbphuththphyakrnkhrngaerkepn phraniytophthistw emuxehluxewlaxik 16 xsngikhykbessaesnmhakp epnkarsrangbarmixyangyingaelaekhmngwdkhuneruxy aelaidrbphyakrnsamatlxdemuxidphbkbphraphuththeca cnthungsmyphuththphumikhxngthan tamhlkthanthipraktinxrrthkthaphbwa yingichewlainkarbaephybarminanethaid phraophthistwcamiphrachnmayuyunkhuninsmythitrsruepnphraphuththeca rwmthngstwthiekidinyukhnncamixayuyun aelabrrluthrrmidngayaelamicanwnmak aetimpraknwasasnakhxngphraxngkhcayunyawhlaychwxayukhy echn phraphuththecaxngkhpccubnni miphranamwa phraokhtmphuththeca phraxngkhthrngsrangbarmimathang pyyathikophthistw miphrachnmayuephiyng 80 phrrsa phrawrkaysung 4 sxk hrux 2 emtr baephythukrkiriya 6 pi phuththrngsisranipkhangla 1 waepnpkti mnusysmyphraxngkhmixayukhy 100 pi aetinxnakht emuxmnusymixayukhy 80 000 pi camiphrasmmasmphuththecaphranamphrasrixriyemtitry thrngsrangbarmimathang wiriyathikaphuththeca miphrawrkaysungid 88 sxk hrux 44 emtr baephythukkiriyachatisudthay 7 wn phraphuththrsmikhxngphraxngkhaephsantlxdipebuxngbncnthungphrhmolk ebuxngtatlxdlngipcnthungmhaxewcinrk swnehtuthithaihphrascthrrmtngxyuidnanhruximnnkhunxyukbkhwamphxnkhlaykhxngphraphuththecainkaraesdng aelaphrawinythiidthrngbyytiiw swnphraphuththokhsaaebngphraophthistwxxkepn 2 praephthkhux xniytophthistw phraophthistwthiyngimidrbphyakrncakphraphuththecaxngkhkxnmaely eriykwa xniytophthistw khwamhmaykhuxyngimaennxnwacaidepnphraphuththeca ephraaxaccaeliklmkhwamprarthnaemuxirkid niytophthistw phraophthistwthiidrbphyakrncakphraphuththecaxngkhkxnmaaelw eriykwa niytophthistw tamkhwamhmaykhuxcaidepnphraphuththecaxyangaennnxn ephraathathungniphphantxngdarngkhthanaepnphraphuththecaxyangediyw aetthabarmiaelaewlayngimsmburn aemwacaphyayamptibtixyangyingywdbngekidpyyaxyangeyiymyxd kimsamarththungniphphankxnid aemcathukkhthxaeth cnkhidwaelikthicaepnphraphuththecaaelw aetaelwinthisudmhakuslthiepnxnusy kcaphungkracaykhunmaihtngmnaelabaephybarmikntx cnkwabarmiaelaewlasmburnbarmi 30 ths barmi hmaythung karkrathathipraesrith karkrathathiprakxbdwykuslectnakhunngamkhwamdithikhwrkratha khunngamkhwamdithiidbaephyma khunsmbtithithaihyingihy epnthrrmswnhnungthisakhy sungchwy ehluxekuxkulihphuptibtiidthungsungophthiyan barmithiphraophthistwbaephy khux 1 thanbarmi hmaythung karslaxxk karihtang odymiectnachwyehluxphuxunepnsakhy 2 silbarmi hmaythung karrksasilihepnpkti hakepnkhrawashmaythungkarthuxsil 5 hakepnnkbwchkhuxkarthuxsil 8 khunip 3 enkkhmmabarmi hmaythung karxxkbwch hakkhrawasthuxsil 8 knbepnenkkhmbarmiidechnkn ephraaepnkarkrathaephuxewncakkamsukh 4 pyyabarmi hmaythung karkrathaephuxephimphunpyya pyyaaebngxxkepnpyyathangolkaelathangthrrm enuxngcakphraophthistwcatrsruepnphraphuththecainxnakhttkal cungtxngmipyyakhwamrumak ephuxcaidsngsxnstwihphncakthukkhid kareriynkhxngphraophthistwcungtxngeriynmakkwaphuxun 5 wiriyabarmi hmaythung karkrathathiichkhwamephiyrepnthitng karmiwiriyaxacimidhmaythungkarephiyrcnkrathngtwtayinkhrngediyw aethmaythungmikhwamphyayamthaxyueruxy thaipthilanxytamkalngcnkwacasaerc smmppthanhruxkhwamephiyrthithuktxng mi 4 xyangkhux o sngwrpthan ephiyrrawngimihbapekidkhun o phanpthan ephiyrlabapthiekidkhunaelw o phawnapthan ephiyrthabuyihekidkhun o xnurkkhnapthan ephiyrrksakarthabuyiwtxenuxng6 khntibarmi hmaythung karxdthnxdklntxsingtang 7 sccabarmi hmaythung karrksakhaphud imklbklxk aemwacatxngslabangsingephuxrksakhaphudiw 8 xthisthanbarmi hmaythung kartngmninkhwamprarthna tngcitmntxkhaxthisthan 9 emttabarmi hmaythung karmikhwamprarthdi mikhwamrktxstwthnghlayinolkxyangethaethiym praducmardarkbutr emttaaetktangcakrakhatrngthi rakhaxacrkechphaatwhruxphwkphxng aetemttaepnrkthiimaebngaeyk 10 xuebkkhabarmi hmaythung karwangechy miicepnklang karplxywanginsingthiphidphlad insingthiaekikhimid wangechyinkhwamthukkhkhxngtn aelastwthichwyimid enuxngcakmipyyaehnwastwthnghlayyxmepniptamkrrmkhxngtn immiikhridrbkhwamyaklabakodyimmiehtupccy lwnaelwaetepnkrrmthiekhythamathngsin sunginaetlabarminnaebngyxyepn 3 khn idaek barmikhntn khux enuxngdwywtthu aelathrphynxkkay echn karslathrphychwyphuxun cdepn thanbarmi rksasilaemwacatxngsuyesiythrphysinenginthxng cdepn silbarmi hrux yxmthuxbwchodyimxalyinthrphysin cdepn enkkhmbarmi epntn barmikhnklanghruxxupbarmi khux enuxngdwyeluxdenux xwywa echn karslaeluxdenuxxwywaaekphuxun cdepn thanxupbarmi karichpyyarksaxwywaeluxdenuxkhxngphuxun cdepn pyyaxupbarmi karmikhwamephiyrcnimxalyineluxdenuxhruxxwywa cdepn wiriyaxupbarmi miemttatxphuthicamatharayeluxdenuxxwywakhxngtn cdepn emttaxupbarmi hrux mikhwamxdthnxdklntxphuthicamathalayxwywakhxngtn cdepn khntixupbarmi epntn barmikhnsungsudhruxprmtthbarmi khux enuxngdwychiwit echn karslachiwitepnthanaekphuxun cdepn thanprmtthbarmi yxmslaaemchiwitephuxcarksakhaphud cdepn sccprmtthbarmi tngcitimhwnihwtxkhaxthisthanaemcatxngesiychiwit cdepn xthisthanprmtthbarmi hrux wangechytxphuthicamatharaychiwitkhxngtn cdepn xuebkkhaprmtthbarmi epntn dngnn cungrwmepnbarmi 30 thskhunsmbtiaelaxthyasykhxngphraophthistwxanisngskhxngkarepnphraniytophthistw khmphirwisuththchnwilasini klawwaphraniytophthistw phuidrbphuththphyakrnaelw caidxanisngs 18 xyangxyutlxdcnidtrsruepnphraphuththeca idaek imtabxd huhnwk maaetkaenid imepnkhnba imepnkhnib imepnkhnngxyepliy imekidinmilkkhpraethskhuxpraethspaethuxn imekidinthxngnangthas imepnthasineruxnebiy imepnniytmicchathithi imepliynaeplngephs imthaxnntriykrrm imepnorkheruxn imepnedrcchanthimikayelkkwankkracab aelaimotkwachang imekidepnkhuppipasikeprtaelanichchantnhikeprt imekidepnkalkychikasur imekidinxewcinrk imekidinolkntriknrk imekidepnmar imekidinxsyysttaphumi imekidinsuththawasphumi imekidinxrupphumiaelaimekidinckrwalxun xanisngsphiessxikxyanghnungkhxngniytophthistw khux karthaxthimuttkalkriya khuxemuxthanekidepnethwdahruxphraphrhm ekidkhwamebuxhnay inkareswysukhnn prarthnathicasrangbarmiinolkmnusy thanksamarththakarxthimutt khuxxthisthanihcuti taycakkarepnethph maekidepnmnusyidthnthi idodyngay sungehlaethphethwdaxun imsamarththaxyangniid thrrmsomthan 8 prakar sahrbphraophthistw thiepn xniytophthistw aetsrangbarmi 30 ths aelamithrrmsomthan 8 prakarsmburnaelw idrbphuththphyakrnepnkhrngaerkechphaaphraphktrphuththeca odycaidrbphuththphyakrnodynywa caidtrsruepnphraphuththecaphraxngkhnn thrngnamwaxyangnn inkpxnepnxnakhtthiethann aelakcaklayepn niytophthistw thnthi khuxepnphraophthistwthiethiyngaeth thicaidtrsruepnphraphuththecaxyangaennxn thrrmsomthan 8 prakarkhux idekidepnmnusy epnburusephs mixupnissypccyaehngphraxrhntrungeruxngxyuinkhnthsndan thaekidepliynickcaepnphraxrhntthnthi txngphbphraphuththecakhnamiphrachnmchiphxyu aelaidsrangkxngbuykusltxhnaphraphktr txngepnbrrphchit hruxtxngepn oykhi visi dabs hruxpriphachkinsasnahruxlththikrrmwathihruxkiriyawathi thiechuxwa buymi bapmi thabuyidbuy thabapidbap txngimepnkhvhsthphukhrxngeruxn txngmixphiyyaaelachansmabti xnechiywchay ekhyihchiwitkhxngtnepnthan ephuxsmophthiyanmakxninxditchati txngmi chntha khuxmikhwamrkkhwamphxicinphuththphumiepnkalng klawthungphuththphumithrrmkhxngniytophthistw inkarephimphunbarmiihmakyingkhun minaicprakxbipdwy phuththphumithrrm 4 prakar khux xussaoh khuxprakxbipdwyphraxutsaha mikhwamephiyrxnslktidaenninciticxyangmnkhng xumtot khuxprakxbdwypyya mipyyaechiywchayechiybkhm xwtthanng khuxmiphrathyxthisthanxnmnkhng miidhwnihwkhlxnaekhln hitcriya khuxprakxbipdwyphraemtta ecriycitxyudwyphrhmwiharepnpkti xthyasy thithaihphraophthiyankhxngniytophthistwaekklayingkhun mi 6 prakar enkkhm phxicinkarrksasil karbwch hruxbrrphcha wiewk phxicxyuinthisngb xolph phxicinkarbricakhthan xoths phxicinkhwamimokrth ecriyemtta xomh phxicinkarphicarnakhunaelaoths ecriypyya niphphan phxicthiyktnxxkcakphph imyindiinkarewiynwaytayekid prasngkhniphphanepnxyangyingcriythrrm 10 prakar criythrrm 10 prakarkhxngphraophthistw prakxbdwy phraophthistw imprarthnaelywa rangkaycaimmiorkhphyikhecb phraophthistw khrxngchiphodyimprarthnawacaimmiphyxntray phraophthistw imprarthnaelywa caimmixupsrrkhinkarcharaciticihbrisuththi phraophthistw imprarthnaelywa caimmimarkhdkhwangkarptibtipharkic phraophthistw thuxwathanganihnanthisud odyimprarthnacaihsaercphlerw phraophthistw khbephuxn odyimprarthnacaidrbphlpraoychncakephuxn phraophthistw imprarthnawa caihkhnxuntxngtamictnexngesmxipthukxyang phraophthistw thakhwamdikbkhnxun odyimprarthnasingtxbaethn phraophthistw ehnlaphaelw imprarthnawacaidrb phraophthistw emuxthukisraypaysi tietiynninthaaelw imprarthnathicatxbotkhunsmbtikhxngphraophthistw khunsmbtikhxngphraophthistwmixyu 3 khxihy mhaprchyahruxpyyaxnyingihy hmaykhwamwacatxngepnphumipyyaehnaecnginscthrrm imtkepnthaskhxngkiels mhakruna hmaykhwamwacatxngepnphumicitkrunatxstwthnghlayxyangprascakkhxbekht phrxmthicaslatnexngephuxchwystwihphnthukkh mhaxupay hmaykhwamwaphraophthistwcatxngmiwithikarchaychladinkaraenana xbrmsngsxnphuxunihekhathungscthrrm khunsmbtithngsamkhxni epnhwickhxngphraphuththsasnafaymhayan khxaerkepnkarbaephypraoychntnihthungphrxm swnkhxhlng 2 khxepnkarbaephypraoychnephuxphuxun mhapnithan 4 mhapnithan 4 prakxbdwy eracalakielsihhmd eracasuksascthrrmihcb eracachwyoprdstwthnghlayihsin eracabrrluphraphuththphumixnpraesrithsudraynamphraophthistwxangxingrachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw enuxnginoxkasphrarachphithimhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 7 rxb 5 thnwakhm 2554 krungethph rachbnthitysthan 2556 1 544 hna hna 852 ISBN 978 616 7073 56 9 rachbnthitysthan phcnanukrmsphthsasnasakl xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 3 krungethph rachbnthitysthan 2552 734 hna hna 108 11 ISBN 978 616 7073 03 3 phasukh xinthrawuth phuththptimafaymhayan kthm orngphimphxksrsmy 2543 hna 83 84 pkinnkkhatha xrrthktha khuththknikay criyapidk somthanktha nithankthawrrnna xrrthktha khuththknikay ethrkhatha exkknibat pthmwrrkh wadwykhathasuphasit inexkknibat wrrkhthi 1 ckkwttisutr phraitrpidk elmthi 11 phrasuttntpidk elmthi 3 thikhnikay patikwrrkh phrasaributrthulthamthungehtuthithaihphrhmcrrydarngxyunanaelaimnan phraitrpidkphasaithy chbbmhaculalngkrnrachwithyaly elm 1 hna 11 12 phrrnnapceckphuththapthan xrrthktha khuththknikay xpthan phakh 1 ethrapthan 1 phuththwrrkh 2 pceckphuththapthanduephimophthistwsil thsphumi krunaaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phraophthistw Who Are Bodhisattvas 2011 08 24 thi ewyaebkaemchchin an excerpt from Lankavatara Sutra The Thirty Seven Practices of Bodhisattvas 2007 06 10 thi ewyaebkaemchchin all in one page with memory aids amp collection of different versions What A Bodhisattva Does Thirty Seven Practices by Ngulchu Thogme 2006 07 15 thi ewyaebkaemchchin with slide show format Access to Insight Library Bodhi s Wheel409 The Genesis of the Bodhisattva Ideal 2011 09 11 thi ewyaebkaemchchin by Bhikkhu Analayo PDF Document 5 8 MB