ดาวเคราะห์น้อย (อังกฤษ: asteroid หรือบางครั้งเรียกว่า minor planet / planetoid) คือวัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว (ซึ่งโดยปกติมักมีขนาดราว 10 เมตรหรือน้อยกว่า) และไม่ใช่ดาวหาง การแบ่งแยกประเภทเช่นนี้กำหนดจากภาพปรากฏเมื่อแรกค้นพบ กล่าวคือ ดาวหางจะต้องมีส่วนของโคม่าที่สังเกตเห็นได้ชัด และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของดาวหางเอง ดาวเคราะห์น้อยมีลักษณะปรากฏคล้ายดวงดาว (คำว่า asteroid มาจากคำภาษากรีกว่า αστεροειδής หรือ asteroeidēs ซึ่งหมายถึง "เหมือนดวงดาว" มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า Aστήρ หรือ astēr ซึ่งแปลว่า ดวงดาว) และมีการกำหนดเรียกชื่ออย่างคร่าวๆ ตามชื่อปีที่ค้นพบ จากนั้นจึงมีการตั้งชื่อตามระบบ (เป็นหมายเลขเรียงตามลำดับ) และชื่อ ถ้ามีการพิสูจน์ถึงการมีอยู่และรอบการโคจรเรียบร้อยแล้ว สำหรับลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อยโดยส่วนใหญ่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด
ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่มีการตั้งชื่อคือ เซเรส ค้นพบในปี พ.ศ. 2344 โดย จูเซปเป ปิอาซซี ซึ่งในช่วงแรกคิดว่าได้ค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่ และกำหนดประเภทให้มันว่าเป็นดาวเคราะห์แคระ เซเรสนับเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน และจัดอยู่ในประเภทดาวเคราะห์แคระ ส่วนดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นๆ จัดเป็นวัตถุในระบบสุริยะขนาดเล็ก เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล (พ.ศ. 2281 - 2365 ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส เมื่อ พ.ศ. 2324) เป็นผู้ประดิษฐ์คำศัพท์ "asteroid" ให้แก่วัตถุอวกาศชุดแรก ๆ ที่ค้นพบในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งทั้งหมดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี โดยส่วนใหญ่วงโคจรมักบิดเบี้ยวไม่เป็นวงรี แต่หลังจากนั้นมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ นับตั้งแต่ดาวพุธไปจนถึงดาวเนปจูน และอีกหลายร้อยดวงอยู่พ้นจากดาวเนปจูนออกไป
ดาวเคราะห์น้อยส่วนมากพบอยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ซึ่งมีวงโคจรเป็นวงรีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่เป็นซากที่หลงเหลือในจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด ซึ่งไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ได้ระหว่างการก่อกำเนิดระบบสุริยะเนื่องจากแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมีดาวบริวาร หรือโคจรระหว่างกันเองเป็นคู่ เรียกว่า
ประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- Beech, M.; Steel, D. I. (September 1995). "On the Definition of the Term Meteoroid". Quarterly Journal of the Royal Astronomical Society 36 (3) : 281–284.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawekhraahnxy xngkvs asteroid hruxbangkhrngeriykwa minor planet planetoid khuxwtthuthangdarasastrkhnadelkkwadawekhraah aetihykwasaekddaw sungodypktimkmikhnadraw 10 emtrhruxnxykwa aelaimichdawhang karaebngaeykpraephthechnnikahndcakphaphpraktemuxaerkkhnphb klawkhux dawhangcatxngmiswnkhxngokhmathisngektehnidchd aelamiraychuxxyuinbychiraychuxkhxngdawhangexng dawekhraahnxymilksnapraktkhlaydwngdaw khawa asteroid macakkhaphasakrikwa asteroeidhs hrux asteroeides sunghmaythung ehmuxndwngdaw macakkhaphasakrikobranwa Asthr hrux aster sungaeplwa dwngdaw aelamikarkahnderiykchuxxyangkhraw tamchuxpithikhnphb caknncungmikartngchuxtamrabb epnhmayelkheriyngtamladb aelachux thamikarphisucnthungkarmixyuaelarxbkarokhcreriybrxyaelw sahrblksnathangkayphaphkhxngdawekhraahnxyodyswnihyyngimepnthithrabaenchddawekhraahnxy 253 mathiled epndawekhraahnxyaebb C Type dawekhraahnxydwngaerkthimikartngchuxkhux esers khnphbinpi ph s 2344 ody cuespep pixassi sunginchwngaerkkhidwaidkhnphbdawekhraahdwngihm aelakahndpraephthihmnwaepndawekhraahaekhra esersnbepndawekhraahnxydwngihythisudethathiepnthiruckkninpccubn aelacdxyuinpraephthdawekhraahaekhra swndawekhraahnxydwngxun cdepnwtthuinrabbsuriyakhnadelk esxrwileliym ehxrechl ph s 2281 2365 phukhnphbdawyuerns emux ph s 2324 epnphupradisthkhasphth asteroid ihaekwtthuxwkaschudaerk thikhnphbinkhriststwrrsthi 19 sungthnghmdmiwngokhcrrxbdwngxathityxyurahwangwngokhcrkhxngdawxngkharkbdawphvhsbdi odyswnihywngokhcrmkbidebiywimepnwngri aethlngcaknnmikarkhnphbdawekhraahnxyxyurahwangwngokhcrkhxngdawekhraahtang nbtngaetdawphuthipcnthungdawenpcun aelaxikhlayrxydwngxyuphncakdawenpcunxxkip dawekhraahnxyswnmakphbxyuinaethbdawekhraahnxy sungmiwngokhcrepnwngrixyurahwangdawxngkharkbdawphvhsbdi echuxwadawekhraahnxyswnihyepnsakthihlngehluxincandawekhraahkxnekid sungimsamarthrwmtwknepndawekhraahkhnadihyidrahwangkarkxkaenidrabbsuriyaenuxngcakaerngonmthwngrbkwncakdawphvhsbdi dawekhraahnxybangdwngmidawbriwar hruxokhcrrahwangknexngepnkhu eriykwaprawtiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingBeech M Steel D I September 1995 On the Definition of the Term Meteoroid Quarterly Journal of the Royal Astronomical Society 36 3 281 284 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk