โมเมนต์ความเฉื่อย เป็นคุณสมบัติของที่จะกำหนดค่าความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงของรอบแกนของการหมุนของมัน มันเป็นวิธีการหมุนของวัตถุอันเป็นผลมาจากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน, ซึ่งระบุว่า "วัตถุทุกชนิดจะรักษาสภาพหยุดนิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอเป็นเส้นตรงนอกจากจะมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ" ในบริบทนี้ความเฉื่อยหมายถึงความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลง
โมเมนต์ความเฉื่อยถูกนำไปใช้กับการขยายตัวของวัตถุซึ่งมวลเป็นข้อจำกัดในการหมุนรอบแกน มันเกิดขึ้นจากการรวมกันของมวลและเรขาคณิตในการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างต่อเนื่อง, ส่วนประกอบของอนุภาค หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า (Dynamics of rigid body) มันเป็นโมเมนต์ความเฉื่อยของขั้วเสาที่ดำเนินการโดยนักไต่ลวดสลิงที่ต่อต้านการหมุนและช่วยให้นักไต่ลวดรักษาความสมดุลไว้ได้
บทนำ
เมื่อวัตถุกำลังหมุนรอบแกน, แรงบิดจะต้องถูกนำมาใช้เพื่อเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมของมัน ปริมาณของแรงบิดที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ก็ตามในโมเมนตัมเชิงมุมจะเป็นสัดส่วนกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ค่าคงที่ของความได้สัดส่วนเป็นคุณสมบัติของวัตถุที่รวมมวลและรูปร่างของมันเข้าไว้ด้วยกัน, ที่รู้จักกันว่าเป็นโมเมนต์ความเฉื่อย ในกลศาสตร์ดั้งเดิม,
นิยาม
โมเมนต์ความเฉื่อย สามารถเขียนได้ในรูปของอัตราส่วนระหว่างผลรวมของโมเมนตัมเชิงมุมระบบกับความเร็วเชิงมุมรอบแกนหมุนหลักของระบบได้ ดังนี้
ถ้าโมเมนตัมเชิงมุมของระบบมีค่าคงตัว แล้วโมเมนต์ความเฉื่อยจะมีค่าน้อยลง ในขณะที่ความเร็วเชิงมุมจะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อรูปร่างของวัตถุไม่เปลี่ยนแปลง แล้วโมเมนต์ความเฉื่อยของระบบจะสามารถพิจารณาในเรื่องกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันได้ นั่นคือโมเมนต์ความเฉื่อยจะอยู่ในรูปของอัตราส่วนระหว่างทอร์กที่มากระทำต่อระบบกับความเร่งเชิงมุมรอบแกนหมุนหลัก คือ
สำหรับระบบเพนดูลัมอย่างง่าย สามารถนิยามโมเมนต์ความเฉื่อย ได้ในรูปของผลคูณระหว่างมวลของวัตถุ กับกำลังสองของระยะห่าง จากจุดหมุนถึงวัตถุ
เพราะฉะนั้น โมเมนต์ความเฉื่อยของระบบจึงขึ้นกับมวล และรูปร่างของวัตถุ รวมถึงระยะห่างจากจุดหมุนถึงมวลด้วย
ตัวอย่าง
เพนดูลัมอย่างง่าย
โมเมนต์ความเฉื่อยสามารถหาได้จากเพนดูลัมอย่างง่าย เพราะมันมีความต้านทานการหมุนเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกอยู่ ในทางคณิตศาสตร์ โมเมนต์ความเฉื่อยของเพนดูลัมเป็นอัตราส่วนระหว่างทอร์กเนื่องจากแรงโน้มถ่วงกระทำรอบจุดหมุนกับความเร่งเชิงมุม สำหรับเพนดูลัมอย่างง่ายสามารถเขียนโมเมนต์ความเฉื่อย ในรูปของผลคูณระหว่างมวลของวัตถุ ต่อกำลังสองของระยะห่าง จากจุดหมุนถึงวัตถุนั้น
โดยที่แรงโน้มถ่วงของโลกมากระทำต่อวัตถุของระบบเพนดูลัมอย่างง่าย แล้วทำให้เกิดทอร์ก รอบแกนซึ่งตั้งฉากกับระนาบการหมุนของเพนดูลัม เป็นปริมาณเวกเตอร์ คือระยะห่างจากวัตถุถึงแรงที่มากระทำ มีทิศตั้งฉากกับแรงนั้น และ คือแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุนั้น สำหรับ จะเกี่ยวข้องกับความเร่งเชิงมุม และวัตถุจะถูกจำกัดการเคลื่อนที่ให้มีลักษณะเป็นวงกลมเท่านั้น โดยที่ความเร่งในแนวการเคลื่อนที่ คือ
เมื่อ เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย มีทิศตั้งฉากกับระนาบการเคลื่อนที่ของเพนดูลัม สำหรับ จะปรากฏในโมเมนตัมเชิงมุมของเพนดูลัมอย่างง่าย ซึ่งคำนวณมาจากความเร็ว ของเพนดูลัมรอบแกนหมุน โดยที่ เป็นความเร็วเชิงมุมของวัตถุรอบจุดหมุน สามารถเขียนโมเมนตัมเชิงมุมได้เป็น
นอกจากนี้ยังสามารถหาพลังงานจลน์ของเพนดูลัมได้ ซึ่งขึ้นกับมวลและความเร็วของวัตถุ คือ
ตามปกติแล้ว โมเมนต์ความเฉื่อยของระบบคือผลรวมค่า ของทุก ๆ วัตถุในระบบนั้น คือ
เทนเซอร์ของความเฉื่อย
เมทริกซ์ของความเฉื่อยสามารถอธิบายได้โดยใช้เทนเซอร์ของความเฉื่อย ซึ่งจะประกอบด้วยโมเมนต์ความเฉื่อยในระบบพิกัด 3 แกน สามารถคำนวณผลลัพธ์ในเวลาเดียวกันได้ เมทริกซ์ของความเฉื่อยถูกสร้างจากเทนเซอร์ซึ่งมี 9 องค์ประกอบ เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณเราจะเขียนในรูปของเมทริกซ์ เทนเซอร์ดีกรีสองหรือที่เราเรียกว่า เมทริกซ์สำหรับเทนเซอร์ของความเฉื่อยแล้วเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็น
เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะวัตถุแข็งเกร็งในทางกลศาสตร์จะถูกกำหนดอย่างชัดเจนด้วยพิกัด x y z เช่น Ixx and Ixy ในรูปขององค์ประกอบเทนเซอร์ของความเฉื่อย
แกนมุขสำคัญของความเฉื่อย
พิกัดภายในวัตถุที่ทำให้เทนเซอร์ความเฉื่อยเป็นเมทริกซ์ทแยง
สำหรับวัตถุแข็งเกร็งจะมีแกนหมุนอย่างน้อยสามแกนตั้งฉากกันและกัน เรียกว่า แกนหลักของความเฉื่อย ซึ่งจะเป็นแกนที่วัตถุหมุนได้ง่ายที่สุดโมเมนตัมเชิงมุมจะมีทิศเดียวกับความเร็วเชิงมุม แกนหลักนี้อาจทับกับแกน xyz หรือไม่ทับกันก็ได้ เมื่อวัตถุแข็งเกร็งหมุนรอบแกนหลักสำคัญของความเฉื่อยแกนใดแกนหนึ่ง โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุเกร็งจะเท่ากับโมเมนต์ของความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนนั้นคูณกับความเร็วเชิงมุมของวัตถุ
เราพิจารณาทิศทางของโมเมนตัมเชิงมุมและความเร็วเชิงมุม จะเห็นได้ว่า โดยทั่วไปโมเมนตัมเชิงมุมไม่จำเป็นต้องมีทิศทางในแนวเดียวกับความเร็วเชิงมุม โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุในกรณีทั่วไปไม่จำเป็นต้องมีทิศทางเดียวกับความเร็วเชิงมุม
วัตถุแข็งเกร็ง
วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body) คือกลุ่มของอนุภาคที่มีระยะห่างระหว่างอนุภาคคงตัว อย่างไรก็ตามระยะระหว่างอนุภาคจะมีค่าคงตัวก็ต่อเมื่ออุณหภูมิมีขนาดศูนย์เคลวิน ดังนั้นที่อุณหภูมิห้อง ระยะระหว่างอนุภาคมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีการสั่นของอนุภาคระยะที่ใช้จึงเป็นระยะเฉลี่ย หมายความว่าในการศึกษาการเคลื่อนที่ในระบบมหาภาค (macroscopic motion) จะไม่คำนึงถึงผลของระบบจุลภาค (microscopic motion) และในธรรมชาติวัตถุแข็งเกร็งจะมีความเสียรูป (deformation) เนื่องจากการเคลื่อนที่หรือการชนเกิดขึ้น ซึ่งในที่นี้ก็จะไม่คำนึงถึงเช่นเดียวกัน
จลนศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
ตำแหน่งเชิงเส้นและเชิงมุม
ตำแหน่งของวัตถุแข็งเกร็ง คือตำแหน่งขององค์ประกอบของอนุภาคทั้งหมด เพื่อลดความซับซ้อนในการอธิบายของตำแหน่งดังกล่าว เราจะใช้คุณสมบัติที่วัตถุมีความแข็งเกร็ง ซึ่งทุก ๆ อนุภาคจะรักษาระยะห่างระหว่างอนุภาคอย่างเท่า ๆ กัน และถ้าหากวัตถุมีความแข็งเกร็ง อย่างน้อยจะอธิบายตำแหน่งของอนุภาค 3 อนุภาคที่ไม่เกิดการชน ซึ่งทำให้สามารถสร้างตำแหน่งของอนุภาคอื่น ๆ ทั้งหมด โดยที่ตำแหน่งของอนุภาคสามตัวที่ไม่ได้แปรเปลี่ยนตามเวลา และจะเรียบง่ายขึ้นถ้าใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วย โดยมีธีการเทียบค่า ซึ่งตำแหน่งของวัตถุทั้งหมดอธิบายได้โดย
1.ตำแหน่งเชิงเส้น หรือตำแหน่งของวัตถุแข็งเกร็ง คือตำแหน่งของของอนุภาคทั้งหมด กล่าวคือตำแหน่งหนึ่งของวัตถุแข็งเกร็ง เลือกเป็นจุดอ้างอิงของทั้งวัตถุ (โดยทั่วไปจะเลือกใช้จุดศูนย์กลางมวล หรือจุดกึ่งกลางมวล
2.ตำแหน่งเชิงมุมของวัตถุ
ดังนั้น ตำแหน่งของวัตถุแข็งเกร็งจะมี 2 องค์ประกอบ คือ เชิงเส้น และเชิงมุม ตามลำดับ เช่นเดียวกันกับ จลนศาสตร์ และ พลังงานจลน์ ใช้ปริมาณอธิบายที่อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง ที่มีทั้งเชิงเส้นและเชิงมุมเช่น ความเร็ว ความเร่ง โมเมนตัม การดล และพลังงานจลน์
ตำแหน่งเชิงเส้น สามารถที่จะแทนได้ด้วย เวกเตอร์ ซึ่งหางของเวกเตอร์ จะเริ่มต้นที่จุดอ้างอิงใด ๆ จากระบบพิกัด และ ปลายของเวกเตอร์จะชี้ไปยังจุดใด ๆ ที่เราสนใจบน วัตถุแข็งเกร็ง ซึ่งโดยปกติเริ่มจากจุดศูนย์กลางมวล หรือจุดกึ่งกลาง ซึ่งจุดอ้างอิงนี้หาได้โดย จุดกำเนิดของระบบพิกัดบนวัตถุแข็งเกร็ง
มีหลายทางในการคำนวณเพื่ออธิบาย แนวทางของ วัตถุแข็งเกร็ง ประกอบด้วย ชุดมุม3มุมของออยเลอร์ หรือ 4 มุม หรือ การใช้ เมททริกซ์ตรีโกณเมทริกซ์โดยตรง(อ้างอิงโดย เมทริกซ์การหมุน) กระบวนการทั้งหมดนี้ใช้แนวทางการหาค่าจาก ระบบพิกัด ซึ่งมีความสัมพันธ์กับวัตถุ หรือความสัมพันธ์ของระบบพิกัดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็งจากการสังเกต
โดยทั่วไป เมื่อวัตถุแข็งเกร็งเคลื่อนที่ ทั้งตำแหน่ง และแนวทางจะขึ้นกับเวลา ในสัมผัสจลนศาสตร์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้อ้างอิงถึงการเลื่อนที่ และการหมุน (คือหมุนไปด้วยและเคลื่อนที่ไปด้วย) ของวัตถุ โดยเริ่มต้นจากสมมติฐานที่อ้างอิงจากตำแหน่ง (ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับตำแหน่งจริงที่วัตถุเคลื่อนที่)
ความเร็วเชิงเส้นและความเร็วเชิงมุม ความเร็ว หรือเรียกว่า ความเร็วเชิงเส้น และความเร็วเชิงมุม วัดได้โดยใช้กรอบอ้างอิง ความเร็วเชิงเส้น ของวัตถุแข็งเกร็ง คือปริมาณเวกเตอร์ มีค่าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของเวลา เทียบกับตำแหน่งเชิงเส้นที่เปลี่ยนไป ดังนั้น ความเร็วจะอ้างอิงโดยถูกยึดกับตัววัตถุ ซึ่งมีเพียงการเลื่อนที่เท่านั้น (ไม่มีการหมุนเกิดขึ้น) ทุก ๆ จุดบท วัตถุแข็งเกร็ง เคลื่อนที่ด้วยความเร็ซที่เท่ากัน อย่างไรก็ตามเมื่อการเคลื่อนที่มีการหมุนด้วย ความเร็วเชิงเส้น และความเร็วเชิงมุมจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่จะมีค่าเท่ากันถ้าการหมุนที่เกิดขึ้น ขนานไปกับแกนหมุน
ความเร็วชิงมุม คือปริมาณเวกเตอร์ที่อธิบายได้ด้วย อัตราเร็วเชิงมุม เมื่อเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุแข็งเกร็งตามแนวแกนที่เกิดการหมุน (ซึ่งอธิบาย การที่แกนเกิดการหมุน ด้วยทฤษฎีบทการหมุนของออยเลอร์) และทุก ๆ จุดบนวัตถุแข็งเกร็ง จะมีความเร็วเชิงมุมเท่ากันในทุก ๆ เวลา ในขณะที่วัตถุแข็งเกร็งเกิดการหมุนเพียงอย่างเดียว ทุก ๆ จุดบนวัตถุแข็งเกร็งจะขึ้นอยู่กับ การหมุนของแกนเพียงอย่างเดียว ความสัมพันธ์ระหว่าง แนวทางกับความเร็วเชิงมุมไม่เกี่ยวข้องกันโดยตรงกับความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งและความเร็วเชิงเส้น แนวทางของความเร็วเชิงมุม ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา เพราะว่าไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระยะเชิงมุมกับความเร็วเชิงมุม
โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรูปทรงต่าง ๆ
คำอธิบาย | รูปทรงวัตถุ | โมเมนต์ความเฉื่อย |
---|---|---|
แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้าบางยาว h กว้าง w และมีมวล m (แกนหมุนอยู่ที่ขอบแผ่น) | ||
แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้าบางยาว h กว้าง w และมีมวล m (แกนหมุนอยู่ที่กึ่งกลางแผ่น) | ||
แท่งวัตถุยาว L และมีมวล m หมุนอยู่ตรงกลาง ซึ่งเป็นกรณีหนึ่งของแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้าบาง | ||
แท่งวัตถุยาว L และมีมวล m จุดหมุนอยู่ที่ปลายแท่ง ซึ่งเป็นกรณีหนึ่งของแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้าบาง | ||
ทรงสี่เหลี่ยมตัน กว้าง w ยาว d สูง h และมีมวล m สำหรับลูกบาศก์ที่มีความยาวด้าน | ||
ทรงสี่เหลี่ยมตัน กว้าง w ยาว d สูง h และมีมวล m หมุนรอบเส้นทแยงมุมที่ยาวที่สุด สำหรับลูกบาศก์ที่มีความยาวด้าน |
อ้างอิง
- I. Newton, Philosophiae Naturalis Principia Mathematica
- Definition of Inertia, thefreedictionary.com
- Lorenzo Sciavicco, Bruno Siciliano (2000). "§2.4.2 Roll-pitch-yaw angles". Modelling and control of robot manipulators (2nd ed.). Springer. p. 32. ISBN .
- Raymond A. Serway (1986). Physics for Scientists and Engineers (2nd ed.). Saunders College Publishing. p. 202. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
omemntkhwamechuxy epnkhunsmbtikhxngthicakahndkhakhwamtanthantxkarepliynaeplngkhxngrxbaeknkhxngkarhmunkhxngmn mnepnwithikarhmunkhxngwtthuxnepnphlmacakkdkarekhluxnthikhxngniwtn sungrabuwa wtthuthukchnidcarksasphaphhyudninghruxsphaphekhluxnthixyangsmaesmxepnesntrngnxkcakcamiaernglphththimikhaimepnsunymakratha inbribthnikhwamechuxyhmaythungkhwamtanthantxkarepliynaeplngnkitlwdslingichomemntkhwamechuxycakimethayawthicachwyrksakhwamsmdul nikhux samuexl diksn khnakalngphyayamkhamaemnainaexkarainpi kh s 1890 omemntkhwamechuxythuknaipichkbkarkhyaytwkhxngwtthusungmwlepnkhxcakdinkarhmunrxbaekn mnekidkhuncakkarrwmknkhxngmwlaelaerkhakhnitinkarsuksakarekhluxnthikhxngwtthuxyangtxenuxng swnprakxbkhxngxnuphakh hruxthiruckkninchuxwa Dynamics of rigid body mnepnomemntkhwamechuxykhxngkhwesathidaeninkarodynkitlwdslingthitxtankarhmunaelachwyihnkitlwdrksakhwamsmduliwidbthnalxchwyaerng flywheel epnwnglxthimiomemntkhxngkhwamechuxythimikhnadihythiichinkarchwythaihkarekhluxnihwinekhruxngckrepnipidxyangrabrun nikhuxtwxyanginphiphithphnthrsesiy emuxwtthukalnghmunrxbaekn aerngbidcatxngthuknamaichephuxepliynomemntmechingmumkhxngmn primankhxngaerngbidthicaepnsahrbkarepliynaeplngid ktaminomemntmechingmumcaepnsdswnkbkhnadkhxngkarepliynaeplngnn khakhngthikhxngkhwamidsdswnepnkhunsmbtikhxngwtthuthirwmmwlaelaruprangkhxngmnekhaiwdwykn thiruckknwaepnomemntkhwamechuxy inklsastrdngedim niyamomemntkhwamechuxy I displaystyle I samarthekhiynidinrupkhxngxtraswnrahwangphlrwmkhxngomemntmechingmumrabbkbkhwamerwechingmumrxbaeknhmunhlkkhxngrabbid dngni I Lw displaystyle I frac L omega thaomemntmechingmumkhxngrabbmikhakhngtw aelwomemntkhwamechuxycamikhanxylng inkhnathikhwamerwechingmumcamikhaephimkhun emuxruprangkhxngwtthuimepliynaeplng aelwomemntkhwamechuxykhxngrabbcasamarthphicarnaineruxngkdkarekhluxnthikhxngniwtnid nnkhuxomemntkhwamechuxycaxyuinrupkhxngxtraswnrahwangthxrkthimakrathatxrabbkbkhwamerngechingmumrxbaeknhmunhlk khux t Ia displaystyle tau I alpha sahrbrabbephndulmxyangngay samarthniyamomemntkhwamechuxy I displaystyle I idinrupkhxngphlkhunrahwangmwlkhxngwtthu m displaystyle m kbkalngsxngkhxngrayahang r displaystyle r cakcudhmunthungwtthu I mr2 displaystyle I mr 2 ephraachann omemntkhwamechuxykhxngrabbcungkhunkbmwl aelaruprangkhxngwtthu rwmthungrayahangcakcudhmunthungmwldwytwxyangephndulmxyangngay omemntkhwamechuxysamarthhaidcakephndulmxyangngay ephraamnmikhwamtanthankarhmunenuxngcakaerngonmthwngkhxngolkxyu inthangkhnitsastr omemntkhwamechuxykhxngephndulmepnxtraswnrahwangthxrkenuxngcakaerngonmthwngkratharxbcudhmunkbkhwamerngechingmum sahrbephndulmxyangngaysamarthekhiynomemntkhwamechuxy I displaystyle I inrupkhxngphlkhunrahwangmwlkhxngwtthu m displaystyle m txkalngsxngkhxngrayahang r displaystyle r cakcudhmunthungwtthunn I mr2 displaystyle I mr 2 odythiaerngonmthwngkhxngolkmakrathatxwtthukhxngrabbephndulmxyangngay aelwthaihekidthxrk t r F displaystyle boldsymbol tau mathbf r times mathbf F rxbaeknsungtngchakkbranabkarhmunkhxngephndulm r displaystyle mathbf r epnprimanewketxr khuxrayahangcakwtthuthungaerngthimakratha mithistngchakkbaerngnn aela F displaystyle mathbf F khuxaernglphththikrathatxwtthunn sahrb t displaystyle tau caekiywkhxngkbkhwamerngechingmum a displaystyle mathbf alpha aelawtthucathukcakdkarekhluxnthiihmilksnaepnwngklmethann odythikhwamernginaenwkarekhluxnthi khux a a r displaystyle mathbf a boldsymbol alpha times mathbf r t r F r ma r m r r a r a r mr2a Iak displaystyle begin aligned boldsymbol tau amp mathbf r times mathbf F mathbf r times m boldsymbol alpha times mathbf r amp m mathbf r cdot mathbf r boldsymbol alpha mathbf r cdot boldsymbol alpha mathbf r amp mr 2 boldsymbol alpha I alpha mathbf hat k end aligned emux k displaystyle mathbf hat k epnewketxrhnunghnwy mithistngchakkbranabkarekhluxnthikhxngephndulm sahrb I mr2 displaystyle I mr 2 capraktinomemntmechingmumkhxngephndulmxyangngay sungkhanwnmacakkhwamerw v w r displaystyle mathbf v boldsymbol omega times mathbf r khxngephndulmrxbaeknhmun odythi w displaystyle boldsymbol omega epnkhwamerwechingmumkhxngwtthurxbcudhmun samarthekhiynomemntmechingmumidepn L r p r mw r m r r w r w r mr2w Iwk displaystyle begin aligned mathbf L amp mathbf r times mathbf p mathbf r times m boldsymbol omega times mathbf r amp m mathbf r cdot mathbf r boldsymbol omega mathbf r cdot boldsymbol omega mathbf r amp mr 2 boldsymbol omega I omega mathbf hat k end aligned nxkcakniyngsamarthhaphlngnganclnkhxngephndulmid sungkhunkbmwlaelakhwamerwkhxngwtthu khux EK 12mv v 12 mr2 w2 12Iw2 displaystyle E text K frac 1 2 m mathbf v cdot mathbf v frac 1 2 left mr 2 right omega 2 frac 1 2 I omega 2 tampktiaelw omemntkhwamechuxykhxngrabbkhuxphlrwmkha mr2 displaystyle mr 2 khxngthuk wtthuinrabbnn khux I i 1miri2 displaystyle I sum i 1 m i r i 2 ethnesxrkhxngkhwamechuxyemthrikskhxngkhwamechuxysamarthxthibayidodyichethnesxrkhxngkhwamechuxy sungcaprakxbdwyomemntkhwamechuxyinrabbphikd 3 aekn samarthkhanwnphllphthinewlaediywknid emthrikskhxngkhwamechuxythuksrangcakethnesxrsungmi 9 xngkhprakxb ephuxihngaytxkarkhanwneracaekhiyninrupkhxngemthriks ethnesxrdikrisxnghruxthieraeriykwa emthrikssahrbethnesxrkhxngkhwamechuxyaelwekhiyninrupemthriksidepn I I11I12I13I21I22I23I31I32I33 IxxIxyIxzIyxIyyIyzIzxIzyIzz displaystyle I begin bmatrix I 11 amp I 12 amp I 13 I 21 amp I 22 amp I 23 I 31 amp I 32 amp I 33 end bmatrix begin bmatrix I xx amp I xy amp I xz I yx amp I yy amp I yz I zx amp I zy amp I zz end bmatrix epneruxngthiekhaicidimyaknk ephraawtthuaekhngekrnginthangklsastrcathukkahndxyangchdecndwyphikd x y z echn Ixx and Ixy inrupkhxngxngkhprakxbethnesxrkhxngkhwamechuxyaeknmukhsakhykhxngkhwamechuxyphikdphayinwtthuthithaihethnesxrkhwamechuxyepnemthriksthaeyng L I1000I2000I3 displaystyle Lambda begin bmatrix I 1 amp 0 amp 0 0 amp I 2 amp 0 0 amp 0 amp I 3 end bmatrix sahrbwtthuaekhngekrngcamiaeknhmunxyangnxysamaekntngchakknaelakn eriykwa aeknhlkkhxngkhwamechuxy sungcaepnaeknthiwtthuhmunidngaythisudomemntmechingmumcamithisediywkbkhwamerwechingmum aeknhlknixacthbkbaekn xyz hruximthbknkid emuxwtthuaekhngekrnghmunrxbaeknhlksakhykhxngkhwamechuxyaeknidaeknhnung omemntmechingmumkhxngwtthuekrngcaethakbomemntkhxngkhwamechuxykhxngwtthurxbaeknnnkhunkbkhwamerwechingmumkhxngwtthu eraphicarnathisthangkhxngomemntmechingmumaelakhwamerwechingmum caehnidwa odythwipomemntmechingmumimcaepntxngmithisthanginaenwediywkbkhwamerwechingmum omemntmechingmumkhxngwtthuinkrnithwipimcaepntxngmithisthangediywkbkhwamerwechingmumwtthuaekhngekrngtaaehnngkhxngwtthuaekhngekrngcaphicarnacakcudsunyklangmwlkhxngtwmnexng xyangnxy 6 twdaeninkar wtthuaekhngekrng Rigid body khuxklumkhxngxnuphakhthimirayahangrahwangxnuphakhkhngtw xyangirktamrayarahwangxnuphakhcamikhakhngtwktxemuxxunhphumimikhnadsunyekhlwin dngnnthixunhphumihxng rayarahwangxnuphakhmikarepliynaeplngtlxdewla enuxngcakmikarsnkhxngxnuphakhrayathiichcungepnrayaechliy hmaykhwamwainkarsuksakarekhluxnthiinrabbmhaphakh macroscopic motion caimkhanungthungphlkhxngrabbculphakh microscopic motion aelainthrrmchatiwtthuaekhngekrngcamikhwamesiyrup deformation enuxngcakkarekhluxnthihruxkarchnekidkhun sunginthinikcaimkhanungthungechnediywknclnsastrkhxngwtthuaekhngekrngtaaehnngechingesnaelaechingmum taaehnngkhxngwtthuaekhngekrng khuxtaaehnngkhxngxngkhprakxbkhxngxnuphakhthnghmd ephuxldkhwamsbsxninkarxthibaykhxngtaaehnngdngklaw eracaichkhunsmbtithiwtthumikhwamaekhngekrng sungthuk xnuphakhcarksarayahangrahwangxnuphakhxyangetha kn aelathahakwtthumikhwamaekhngekrng xyangnxycaxthibaytaaehnngkhxngxnuphakh 3 xnuphakhthiimekidkarchn sungthaihsamarthsrangtaaehnngkhxngxnuphakhxun thnghmd odythitaaehnngkhxngxnuphakhsamtwthiimidaeprepliyntamewla aelacaeriybngaykhunthaichethkhnikhthangkhnitsastrekhamachwy odymithikarethiybkha sungtaaehnngkhxngwtthuthnghmdxthibayidody 1 taaehnngechingesn hruxtaaehnngkhxngwtthuaekhngekrng khuxtaaehnngkhxngkhxngxnuphakhthnghmd klawkhuxtaaehnnghnungkhxngwtthuaekhngekrng eluxkepncudxangxingkhxngthngwtthu odythwipcaeluxkichcudsunyklangmwl hruxcudkungklangmwl 2 taaehnngechingmumkhxngwtthu dngnn taaehnngkhxngwtthuaekhngekrngcami 2 xngkhprakxb khux echingesn aelaechingmum tamladb echnediywknkb clnsastr aela phlngngancln ichprimanxthibaythixthibaykarekhluxnthikhxngwtthuaekhngekrng thimithngechingesnaelaechingmumechn khwamerw khwamerng omemntm kardl aelaphlngngancln taaehnngechingesn samarththicaaethniddwy ewketxr sunghangkhxngewketxr caerimtnthicudxangxingid cakrabbphikd aela playkhxngewketxrcachiipyngcudid thierasnicbn wtthuaekhngekrng sungodypktierimcakcudsunyklangmwl hruxcudkungklang sungcudxangxingnihaidody cudkaenidkhxngrabbphikdbnwtthuaekhngekrng mihlaythanginkarkhanwnephuxxthibay aenwthangkhxng wtthuaekhngekrng prakxbdwy chudmum3mumkhxngxxyelxr hrux 4 mum hrux karich emththrikstrioknemthriksodytrng xangxingody emthrikskarhmun krabwnkarthnghmdniichaenwthangkarhakhacak rabbphikd sungmikhwamsmphnthkbwtthu hruxkhwamsmphnthkhxngrabbphikdcakkarekhluxnthikhxngwtthuaekhngekrngcakkarsngekt odythwip emuxwtthuaekhngekrngekhluxnthi thngtaaehnng aelaaenwthangcakhunkbewla insmphsclnsastr sungkarepliynaeplngnixangxingthungkareluxnthi aelakarhmun khuxhmunipdwyaelaekhluxnthiipdwy khxngwtthu odyerimtncaksmmtithanthixangxingcaktaaehnng imcaepntxngsxdkhlxngkbtaaehnngcringthiwtthuekhluxnthi khwamerwechingesnaelakhwamerwechingmum khwamerw hruxeriykwa khwamerwechingesn aelakhwamerwechingmum wdidodyichkrxbxangxing khwamerwechingesn khxngwtthuaekhngekrng khuxprimanewketxr mikhaethakbxtrakarepliynaeplngkhxngewla ethiybkbtaaehnngechingesnthiepliynip dngnn khwamerwcaxangxingodythukyudkbtwwtthu sungmiephiyngkareluxnthiethann immikarhmunekidkhun thuk cudbth wtthuaekhngekrng ekhluxnthidwykhwamersthiethakn xyangirktamemuxkarekhluxnthimikarhmundwy khwamerwechingesn aelakhwamerwechingmumcamikhaimethakn aetcamikhaethaknthakarhmunthiekidkhun khnanipkbaeknhmun khwamerwchingmum khuxprimanewketxrthixthibayiddwy xtraerwechingmum emuxekidkarepliyntaaehnngkhxngwtthuaekhngekrngtamaenwaeknthiekidkarhmun sungxthibay karthiaeknekidkarhmun dwythvsdibthkarhmunkhxngxxyelxr aelathuk cudbnwtthuaekhngekrng camikhwamerwechingmumethakninthuk ewla inkhnathiwtthuaekhngekrngekidkarhmunephiyngxyangediyw thuk cudbnwtthuaekhngekrngcakhunxyukb karhmunkhxngaeknephiyngxyangediyw khwamsmphnthrahwang aenwthangkbkhwamerwechingmumimekiywkhxngknodytrngkbkhwamsmphnthrahwangtaaehnngaelakhwamerwechingesn aenwthangkhxngkhwamerwechingmum imepliynaeplngtamewla ephraawaimmikhwamsmphnthekiywkbkarepliynaeplngrayaechingmumkbkhwamerwechingmumomemntkhwamechuxykhxngwtthurupthrngtang khaxthibay rupthrngwtthu omemntkhwamechuxyaephnsiehliymphunphabangyaw h kwang w aelamimwl m aeknhmunxyuthikhxbaephn Ie 112m 4h2 w2 displaystyle I e frac 1 12 m left 4h 2 w 2 right aephnsiehliymphunphabangyaw h kwang w aelamimwl m aeknhmunxyuthikungklangaephn Ic 112m h2 w2 displaystyle I c frac 1 12 m left h 2 w 2 right aethngwtthuyaw L aelamimwl m hmunxyutrngklang sungepnkrnihnungkhxngaephnsiehliymphunphabang thimiaeknhmunxyuthicudkungklangkhxngaephn mikhwamkwang w L aelakhwamyaw h 0 Icenter 112mL2 displaystyle I mathrm center frac 1 12 mL 2 aethngwtthuyaw L aelamimwl m cudhmunxyuthiplayaethng sungepnkrnihnungkhxngaephnsiehliymphunphabang thimiaeknhmunxyuthikhxbaephn mikhwamkwang w 0 aelakhwamyaw h L Iend 13mL2 displaystyle I mathrm end frac 1 3 mL 2 thrngsiehliymtn kwang w yaw d sung h aelamimwl m sahrblukbaskthimikhwamyawdan s displaystyle s camiomemntkhwamechuxy ICM 16ms2 displaystyle I mathrm CM frac 1 6 ms 2 Ih 112m w2 d2 displaystyle I h frac 1 12 m left w 2 d 2 right Iw 112m d2 h2 displaystyle I w frac 1 12 m left d 2 h 2 right Id 112m w2 h2 displaystyle I d frac 1 12 m left w 2 h 2 right thrngsiehliymtn kwang w yaw d sung h aelamimwl m hmunrxbesnthaeyngmumthiyawthisud sahrblukbaskthimikhwamyawdan s displaystyle s camiomemntkhwamechuxy I 16ms2 displaystyle I frac 1 6 ms 2 I 16m W2D2 D2L2 W2L2W2 D2 L2 displaystyle I frac 1 6 m left frac W 2 D 2 D 2 L 2 W 2 L 2 W 2 D 2 L 2 right xangxingI Newton Philosophiae Naturalis Principia Mathematica Definition of Inertia thefreedictionary com Lorenzo Sciavicco Bruno Siciliano 2000 2 4 2 Roll pitch yaw angles Modelling and control of robot manipulators 2nd ed Springer p 32 ISBN 1 85233 221 2 Raymond A Serway 1986 Physics for Scientists and Engineers 2nd ed Saunders College Publishing p 202 ISBN 0 03 004534 7