ยัญ หรือ ยญ (สันสกฤต: यज्ञ, อักษรโรมัน: yajña, แปลตรงตัว 'บูชายัญ') ในศาสนาฮินดูหมายถึงพิธีกรรมที่กระทำต่อหน้ากองไฟ ส่วนใหญ่มีมนตร์ประกอบ ยัญเป็นพิธีกรรมแบบพระเวท มีอธิบายอยู่ในส่วนของพระเวท และในยชุรเวท พิธีกรรมพัฒนาขึ้นมาจากการเซ่นไว้และบวงสรวงแก่กองไฟ มาเป็นพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นการถวายบูชาแด่พระอัคนี
เนื้อหาในอุปนิษัทพระเวทส่วนที่เกี่ยวข้องกับยัญจะเรียกว่า "กรรมกัณฑ์" (ส่วนทำงาน) เพื่อให้แตกต่างจากส่วน "ญาณกัณฑ์" (ส่วนความรู้) การประกอบพิธียัญที่สมบูรณ์เป็นส่วนสำคัญหนึ่งของสำนักใน นอกจากนี้ยัญยังมีบทบาทสำคัญในพิธีกรรมเปลี่ยนผ่านของฮินดู เช่นงานแต่งงาน
ศัพทมูล
"ยญ" (สันสกฤต: यज्ञ, อักษรโรมัน: yajña) มีรากมาจากคำในภาษาสันสกฤต "ยช" (yaj) แปลว่า 'การยูชา ชื่นชม ยกย่อง เคารพ' ปรากฏในวรรณกรรมพระเวทยุคแรก อายุมากกว่า 2000 ปีก่อนริสต์กาล ในฤคเวท, ยชุรเวท (คำว่า "ยชุรเวท" ก็มาจากราก "ยช" เดียวกัน) และคัมภีร์อื่น ๆ ใช้คำว่ายัญหมายถึง "การบูชา การแสดงความเคารพ การสวดบูชา" ไปจนถึงความหมายเดียวกับ "การบูชายัญ" ในความหมายภาษาไทยปัจจุบัน ในวรรณกรรมยุคหลังพระเวท ยัญใช้เรียกพิธีกรรมใดก็ตามที่มีการประกอบพิธีในทางสัญลักษณ์
ในขณะที่ภาษาไทยปัจจุบัน "ยัญ" ดังที่ปรากฏในคำว่า "" หมายถึง "การบูชาของพราหมณ์อย่างหนึ่ง การเซ่นสรวงด้วยวิธีฆ่าคนหรือสัตว์เป็นเครื่องบูชา"
อ้างอิง
- SG Nigal (1986), Axiological Approach to the Vedas, Northern Book, ISBN , pages 80–81
- Laurie Patton (2005), The Hindu World (Editors: Sushil Mittal, Gene Thursby), Routledge, ISBN , pages 38-39
- Randall Collins (1998), The Sociology of Philosophies, Harvard University Press, ISBN , page 248
- Monier Monier-Williams, Sanskrit English Dictionary, Oxford University Press, ISBN (Reprinted in 2011), pages 839-840
- Jack Sikora (2002), Religions of India, iUniverse, ISBN , page 86
- พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. บูชายัญ. เข้าถึงจาก Sanook Dictionary.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yy hrux yy snskvt यज ञ xksrormn yajna aepltrngtw buchayy insasnahinduhmaythungphithikrrmthikrathatxhnakxngif swnihymimntrprakxb yyepnphithikrrmaebbphraewth mixthibayxyuinswnkhxngphraewth aelainychurewth phithikrrmphthnakhunmacakkaresniwaelabwngsrwngaekkxngif maepnphithikrrmskdisiththithiepnkarthwaybuchaaedphraxkhniyyin nganaetngnganaebbhindu enuxhainxupnisthphraewthswnthiekiywkhxngkbyycaeriykwa krrmknth swnthangan ephuxihaetktangcakswn yanknth swnkhwamru karprakxbphithiyythismburnepnswnsakhyhnungkhxngsankin nxkcakniyyyngmibthbathsakhyinphithikrrmepliynphankhxnghindu echnnganaetngngansphthmul yy snskvt यज ञ xksrormn yajna mirakmacakkhainphasasnskvt ych yaj aeplwa karyucha chunchm ykyxng ekharph praktinwrrnkrrmphraewthyukhaerk xayumakkwa 2000 pikxnristkal invkhewth ychurewth khawa ychurewth kmacakrak ych ediywkn aelakhmphirxun ichkhawayyhmaythung karbucha karaesdngkhwamekharph karswdbucha ipcnthungkhwamhmayediywkb karbuchayy inkhwamhmayphasaithypccubn inwrrnkrrmyukhhlngphraewth yyicheriykphithikrrmidktamthimikarprakxbphithiinthangsylksn inkhnathiphasaithypccubn yy dngthipraktinkhawa hmaythung karbuchakhxngphrahmnxyanghnung karesnsrwngdwywithikhakhnhruxstwepnekhruxngbucha xangxingSG Nigal 1986 Axiological Approach to the Vedas Northern Book ISBN 978 8185119182 pages 80 81 Laurie Patton 2005 The Hindu World Editors Sushil Mittal Gene Thursby Routledge ISBN 978 0415772273 pages 38 39 Randall Collins 1998 The Sociology of Philosophies Harvard University Press ISBN 978 0674001879 page 248 Monier Monier Williams Sanskrit English Dictionary Oxford University Press ISBN 978 8120831056 Reprinted in 2011 pages 839 840 Jack Sikora 2002 Religions of India iUniverse ISBN 978 0595247127 page 86 phcnanukrmaepl ithy ithy rachbnthitysthan buchayy ekhathungcak Sanook Dictionary