บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
รังสีเอกซ์ (X-ray หรือ Röntgen ray) เป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นในช่วง 10 ถึง 0.01 นาโนเมตร ตรงกับความถี่ในช่วง 30 ถึง 30,000 เพตะเฮิรตซ์ (1015 เฮิรตซ์) ในเบื้องต้นมีการใช้รังสีเอกซ์สำหรับถ่ายภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และงานผลึกศาสตร์ (crystallography) รังสีเอกซ์เป็นการแผ่รังสีแบบแตกตัวเป็นไอออน และมีอันตรายต่อมนุษย์ รังสีเอกซ์ค้นพบโดยวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน เมื่อ ค.ศ. 1895
ทฤษฎีอิเล็กตรอนสมัยปัจจุบัน อธิบายถึงการเกิดรังสีเอกซ์ว่า ธาตุประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากในอะตอมแต่ละตัวมีนิวเคลียสเป็นใจกลาง และมีอิเล็กตรอนวิ่งวนเป็นชั้น ๆ ธาตุเบาจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่น้อยชั้น และธาตุหนักจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่หลายชั้น เมื่ออะตอมธาตุหนักถูกยิงด้วยกระแสอิเล็กตรอน จะทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นในถูกชนกระเด็นออกมาวิ่งวนอยู่รอบนอกซึ่งมีภาวะไม่เสถียรและจะหลุดตกไปวิ่งวนอยู่ชั้นในอีก พร้อมกับปล่อยพลังงานออกในรูปรังสี ถ้าอิเล็กตรอนที่ยิงเข้าไปมีพลังงานมาก ก็จะเข้าไปชนอิเล็กตรอนในชั้นลึก ๆ ทำให้ได้รังสีที่มีพลังงานมาก เรียกว่า ฮาร์ดเอกซเรย์ (hard x-ray) ถ้าอิเล็กตรอนที่ใช้ยิงมีพลังงานน้อยเข้าไปได้ไม่ลึกนัก จะให้รังสีที่เรียกว่า ซอฟต์เอกซเรย์ (soft x-ray)
กระบวนการเกิดหรือการผลิตรังสีเอกซ์ทั้งโดยฝีมือมนุษย์และในธรรมชาติ มีอยู่ 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ
- เป็นวิธีผลิตรังสีเอกซ์โดยการยิงลำอนุภาคอิเล็กตรอนใส่แผ่นโลหะ เช่น ทั้งสเตน อิเล็กตรอน ที่เป็นกระสุนจะวิงไปชนอิเล็กตรอนของอะตอมโลหะที่เป็นเป้า ทำให้อิเล็กตรอนที่ถูกชนเปลี่ยนตำแหน่ง การโคจรรอบนิวเคลียส เกิดตำแหน่งที่ว่างของอิเล็กตรอนในวงโคจรรอบนิวเคลียสเดิม อิเล็กตรอนตัวอื่นที่ อยู่ในตำแหน่งวงโคจรมีพลังงานสูงกว่า จะกระโดดเข้าไปแทนที่ของอิเล็กตรอนเดิมแล้วปล่อยพลังงานออก มาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือ รังสีเอกซ์
เครื่องฉายรังสีเอกซ์ที่ใช้งานกันทั่วไปในโรงพยาบาลและในโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนเป็นเครื่องผลิต รังสีเอกซ์จากวิธีการนี้
- เป็นวิธีผลิต หรือ กำเนิดรังสีเอกซ์จากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น อิเล็กตรอน โปรตอนหรืออะตอม อย่างมีความเร่ง คือ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเหล่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขึ้นแล้วก็เป็น ธรรมชาติของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเหล่านี้เอง ที่ต้องปล่อยพลังงานออกมาในรูปของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อย่างที่ไม่มีอะไรไปห้ามได้ ซึ่งถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมามีความถี่สูงพอก็จะเป็นรังสีเอกซ์
กำเนิดรังสีเอกซ์วิธีนี้เป็นวิธีที่นักวิทยาศาสตร์ที่นิยมใช้ในการผลิตรังสีเอกซ์ในห้องทดลอง
ประวัติศาสตร์ในการศึกษารังสีเอกซ์
Johann Hittorf (1824 - 1914) นักฟิสิกส์ที่ทำการศึกษารังสีพลังงานสูงที่ปลดปล่อยออกมาจากขั้วลบในท่อเอกซเรย์ รังสีนี้มีความเรืองแสงเมื่อกระทบหลอดแก้วของท่อเอกซเรย์ ในปี 1876 Eugen Goldstein ได้เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า รังสีแคโทด ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในปัจจุบันว่าคือ กระแสอิเล็กตรอน ต่อมา นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ William Crookes ได้ทำการศึกษาผลของกระแสอิเล็กตรอนในความดันที่ต่ำ และก็ได้เรียกสิ่งที่เขาค้นพบว่า Crookes tube ซึ่งเป็นท่อแก้วสุญญากาศ มีขั้วอิเล็กโทรดแรงเคลื่อนไฟฟ้าสูง โดยเขาได้ทดลองนำแผ่นถ่ายภาพไว้ข้างท่อแก้ว พบว่าเกิดรอยดำบนแผ่น แต่ Crookes ยังไม่ได้อธิบายปรากฏการณ์นี้
ในเดือนเมษายนปี 1887 Nikola Tesla ได้เริ่มทำการศึกษารังสีเอกซ์โดยใช้ท่อสุญญากาศแรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงที่เขาคิดค้นขึ้นเอง (เช่นเดียวกับ Crookes tube) จากวารสารตีพิมพ์ต่าง ๆ ได้บ่งชี้ว่า เขาได้เป็นผู้พัฒนาท่อเอกซเรย์ขึ้น ซึ่งแตกต่างจากท่อเอกซเรย์อื่น ๆ ที่มีขั้วอิเล็กโทรดเพียงด้านเดียว
โดยหลักการของ Tesla ที่ได้พัฒนาท่อเอกซเรย์ขึ้นมา ในปัจจุบันเรียกว่ากระบวนการ Bremsstrahlung ซึ่งเป็นกระบวนการที่รังสีเอกซเรย์ที่ถูกปลดปล่อยออกมานั้นเกิดจากการเร่งประจุเช่นอิเล็กตรอนในวิ่งผ่านสสารบางชนิด ในปี 1892 Tesla ได้ทำเสนอผลการทดลองซึ่งเขายังเรียกเพียงว่าเป็นพลังงานจากการแผ่รังสี ในตอนนั้นเขายังไม่ได้เสนอผลการทดลองให้เป็นที่กว้างขวางมากนัก แต่ผลจากการทดลองของเขาส่งผลต่อวงการวิทยาศาสตร์และทางการแพทย์ในปัจจุบันอย่างมาก
ในปี 1892 Heinrich Hertz ได้ทำการทดลองกับรังสีแคโทดรวมกับแผ่นโลหะบาง (เช่น อะลูมิเนียม) ต่อมา Philipp Lenard นักศึกษาของ Hertz ได้ทำการวิจัยปรากฏการณ์นี เขาได้พัฒนาท่อแคโทดขึ้นใหม่และใช้วัสดุหลายชนิดในการเป็นตัวกลาง เขาไม่ได้ตระหนักเลยว่า นั่นคือการสร้างรังสีเอกซ์ ต่อมา Hermann von Helmholtz ได้ทำการศึกษาสมการทางคณิตศาสตร์ของรังสีเอกซ์ เขาได้ตั้งสมมุติฐานก่อนที่ Röntgen จะค้นพบและพิสูจน์ได้ ซึ่งต่อมาเป็นรากฐานของทฤษฎีทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 1896 Wilhelm Conrad Röntgen นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้เริ่มทำการศึกษาและวิจัยรังสีเอกซ์ขณะทำการทดลองกับท่อสุญญากาศ แล้วในวันที่ 28 ธันวาคม 1895 เขาได้เขียนรายงานเรื่อง On a new kind of ray: A preliminary communication ซึ่งรายงานเล่มนี้ได้พูดถึง รังสีเอกซ์ ซึ่งได้ระบุไว้ว่าเป็นรังสีที่ยังระบุประเภทไม่ได้ (จึงตั้งชื่อไว้ก่อนว่า รังสีเอกซ์) ส่งผลให้ชื่อรังสีเอกซ์ถูกใช้กันมานิยมมากกว่าชื่อที่นักวิทยาศาสตร์ตั้งให้ว่า รังสีเรินต์เก้น (Röntgen rays) และทำให้ Röntgen ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากการค้นพบและพิสูจน์ปรากฏการณ์นี้
ในการทดลองของ Röntgen ได้เริ่มจากการใช้เครื่องสร้างรังสีแคโทดผ่านท่อแก้วสุญญากาศ เขาได้พบว่ามีแสงสีเขียวอ่อนวิ่งปะทะกับผนังท่อ เขาได้พบว่า แสงจากเครื่องสร้างรังสีแคโทดนี้ได้ทะลุผ่านวัสดุต่าง ๆ (เช่น กระดาษ ไม้ หนังสือ) เขาได้เริ่มวางวัตถุอื่น ๆ หลายประเภทไว้หน้าเครื่องนี้ และทำให้เขาได้พบว่า เขาสามารถถ่ายเห็นโครงร่างของกระดูกมือของเขาได้บนผนัง สองเดือนต่อมาเขาเริ่มทำการค้นคว้า และได้ทำการพิสูจน์และตีพิมพ์ในปี 1896 ในรายงานชื่อ On a New Kind of Radiation
ย้อนกลับไปในปี 1895 Thomas Edison ก็ได้ทำการศึกษาผลของวัสดุหลายประเภทที่เรืองแสงได้ด้วยรังสีเอกซ์ และได้พบ calcium tungstate ซึ่งเป็นวัสดุที่ดีที่สุด ในเดือนมีนาคม ปี 1896 ได้ริเริ่มพัฒนากล้องตรวจอวัยวะภายในด้วยเงารังสีเอกซ์บนจอเรืองแสง (fluoroscope) ซึ่งมีใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน แม้ว่า Edison จะหยุดการวิจัยเกี่ยวกับรังสีเอกซ์ในปี 1903 หลังจากการจากไปของ Clarence Madison Dally ซึ่งเป็นช่างเป่าแก้วของเขา Dally ในตอนนั้นมีนิสัยชอบทดสอบท่อรังสีเอกซ์ด้วยมือเปล่า เขาได้เริ่มเป็นมะเร็งและจำเป็นต้องตัดมือทั้งสองข้างก่อนที่จะเสียชีวิต
ในปี 1906 Charles Barkla ได้ค้นพบว่า รังสีเอกซ์สามารถถูกกระเจิงได้ด้วยก๊าซ และได้บอกว่าวัตถุใดที่มีคุณสมบัติเช่นนี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกับรังสีเอกซ์ (characteristic x-ray) เขาได้รับรางวัล Nobel prize ในปี 1917 จากการค้นพบสิ่งนี้
ในปี 1912 Max von Laue, Paul Knipping and Walter Friedrich ได้ทำการค้นคว้าการเบี่ยงเบนของรังสีเอกซ์ด้วยคริสตัล การทดลองนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของสาขา X-ray crystallography ที่มีนักฟิสิกส์ Paul Peter Ewald, William Henry Bragg and William Lawrence Bragg ได้วางรากฐานและพัฒนาต่อมา
ในการประยุกต์ใช้รังสีเอกซ์ทางการแพทย์นั้น (radiation therapy) ได้เริ่มต้นโดย Major John Hall-Edwards นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษในปี 1908 เขาจำเป็นต้องเสียแขนซ้ายด้วยผลของการแผ่รังสีเอกซ์ และในปี 1950 ได้กล้องถ่ายภาพเอกซเรย์ (x-ray microscope) ได้พัฒนาขึ้นสำเร็จ
ในปี 1980 เลเซอร์รังสีเอกซ์ (x-ray laser) ถูกนำมาใช้ในส่วนหนึ่งของแผนการป้องกันของรีแกน (Reagan administration's Strategic Defense Initiative) แต่ก็ไม่ได้ผลดีนัก
ในปี 1990 ห้องแลบเอกซเรย์จันทรา (Chandra X-ray Observatory) ได้เริ่มใช้งาน และได้เริ่มการสร้างรังสีเอกซ์อย่างต่อเนื่องเกิดขึ้น นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยทางดาราศาสตร์ซึ่งเปรียบเทียบกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น blackhole การปะทะของกาแลกซี่ nova รวมถึงดาวนิวตรอนหรือการระเบิดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเอกภพ
การประยุกต์ใช้ทางการแพทย์
ตั้งแต่การค้นพบของ Roentgen ว่ารังสีเอกซ์สามารถบอกรูปร่างของกระดูกได้ รังสีเอกซ์ได้ถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้ในการถ่ายภาพในการแพทย์ นำไปสู่สาขาที่เรียกว่า รังสีวิทยา โดยนักรังสีวิทยาได้ใช้ ภาพถ่าย (radiography) ที่ได้มาใช้ในการช่วยการวินิจฉัยโรคนั่นเอง
รังสีเอกซ์มักถูกนำมาใช้ในการตรวจหาสภาพทางพยาธิวิทยาของกระดูก แต่ก็สามารถหาความผิดปกติของบางโรคที่เป็นที่เนื้อเยื่อทั่วไปได้ ตัวอย่างที่พบเห็นได้ทั่วไปเช่นการเอกซเรย์ปอด ซึ่งสามารถบอกถึงความผิดปกติได้หลายโรค เช่น โรคปอดบวม (pneumonia) โรคมะเร็งปอด (lung cancer) หรือน้ำท่วมปอด (pulmonary edema) รวมถึงการเอกซเรย์ช่องท้อง เช่นการตรวจภาวะอุดตันในลำไส้เล็ก (ileus) ภาวะลมหรือของเหลวคั่งในช่องท้อง ในบางครั้งยังใช้ในการตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี หรือนิ่วในกระเพาะปัสสาวะได้ รวมทั้งในบางกรณีสามารถใช้ในการถ่ายภาพเนื้อเยื่อบางชนิด เช่น สมองและกล้ามเนื้อได้ แต่นับแต่ในปี 2005 รังสีเอกซ์ถูกขึ้นบัญชีในรัฐบาลสหรัฐอเมริกาว่า เป็นสารก่อมะเร็ง การถ่ายภาพเนื้อเยื่อส่วนใหญ่จึงถูกพัฒนาโดยใช้เทคนิด CAT หรือ CT scanning (computed axial tomography) หรือใช้เทคนิค MRI (magnetic resonance imaging) หรือ ultrasound ทดแทน
ปัจจุบัน การรักษาโรคมะเร็งส่วนใหญ่ได้มีการนำรังสีมาช่วยในการรักษาโรค (radiotherapy) และได้มีการรักษาพยาธิสภาพต่าง ๆ เช่น การรักษาแบบ real-time ในการผ่าตัดถุงน้ำดี การขยายหลอดเลือด (angioplasty) หรือการกลืนสาร barium enema เพื่อตรวจสภาพลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ โดยการใช้ fluoroscopy
การประยุกต์ใช้ในด้านอื่น
รังสีเอกซ์ได้ถูกพัฒนานำไปใช้ในหลายสาขา เช่น
- การวิเคราะห์ลักษณะของอะตอมและการผลิตโดยอาศัยการเบี่ยงเบนของรังสีเอกซ์ (x-ray crystallography)
- การวิจัยทางดาราศาสตร์ที่อาศัยการปลดปล่อยรังสีเอกซ์ที่มาจากวัตถุในวัตถุ (x-ray astronomy)
- การถ่ายภาพและผลิตภาพในขนาดเล็ก (x-ray microscopic analysis) รวมทั้งการตรวจหารอยร้าวขนาดเล็กในโลหะ
- การติดตามผลของตัวอย่างในการวิจัยโดยอาศัยคุณสมบัติของรังสีเอกซ์ (x-ray fluorescence) รวมถึงใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng rngsiexks X ray hrux Rontgen ray epnrngsiaemehlkiffa thimikhwamyawkhluninchwng 10 thung 0 01 naonemtr trngkbkhwamthiinchwng 30 thung 30 000 ephtaehirts 1015 ehirts inebuxngtnmikarichrngsiexkssahrbthayphaphephuxkarwinicchyorkh aelanganphluksastr crystallography rngsiexksepnkaraephrngsiaebbaetktwepnixxxn aelamixntraytxmnusy rngsiexkskhnphbodywilehlm khxnrad erintekn emux kh s 1895phaphrngsiexksmuxkhxng thayodywilehlm khxnrad erinteknexkserypxdkhxngmnusy thvsdixielktrxnsmypccubn xthibaythungkarekidrngsiexkswa thatuprakxbdwyxatxmcanwnmakinxatxmaetlatwminiwekhliysepnicklang aelamixielktrxnwingwnepnchn thatuebacamixielktrxnwingwnxyunxychn aelathatuhnkcamixielktrxnwingwnxyuhlaychn emuxxatxmthatuhnkthukyingdwykraaesxielktrxn cathaihxielktrxnthixyuchninthukchnkraednxxkmawingwnxyurxbnxksungmiphawaimesthiyraelacahludtkipwingwnxyuchninxik phrxmkbplxyphlngnganxxkinruprngsi thaxielktrxnthiyingekhaipmiphlngnganmak kcaekhaipchnxielktrxninchnluk thaihidrngsithimiphlngnganmak eriykwa hardexksery hard x ray thaxielktrxnthiichyingmiphlngngannxyekhaipidimluknk caihrngsithieriykwa sxftexksery soft x ray krabwnkarekidhruxkarphlitrngsiexksthngodyfimuxmnusyaelainthrrmchati mixyu 2 withiihy khux epnwithiphlitrngsiexksodykaryinglaxnuphakhxielktrxnisaephnolha echn thngsetn xielktrxn thiepnkrasuncawingipchnxielktrxnkhxngxatxmolhathiepnepa thaihxielktrxnthithukchnepliyntaaehnng karokhcrrxbniwekhliys ekidtaaehnngthiwangkhxngxielktrxninwngokhcrrxbniwekhliysedim xielktrxntwxunthi xyuintaaehnngwngokhcrmiphlngngansungkwa cakraoddekhaipaethnthikhxngxielktrxnedimaelwplxyphlngnganxxk mainrupkhxngkhlunaemehlkiffakhux rngsiexks ekhruxngchayrngsiexksthiichnganknthwipinorngphyabalaelainorngnganxutsahkrrm lwnepnekhruxngphlit rngsiexkscakwithikarni epnwithiphlit hrux kaenidrngsiexkscakkarekhluxnthikhxngxnuphakhthimipracuiffa echn xielktrxn oprtxnhruxxatxm xyangmikhwamerng khux xnuphakhthimipracuiffaehlaniekhluxnthidwykhwamerwsungkhunaelwkepn thrrmchatikhxngxnuphakhthimipracuiffaehlaniexng thitxngplxyphlngnganxxkmainrupkhxng khlunaemehlkiffa xyangthiimmixairiphamid sungthakhlunaemehlkiffathithukplxyxxkmamikhwamthisungphxkcaepnrngsiexks kaenidrngsiexkswithiniepnwithithinkwithyasastrthiniymichinkarphlitrngsiexksinhxngthdlxngprawtisastrinkarsuksarngsiexksJohann Hittorf 1824 1914 nkfisiksthithakarsuksarngsiphlngngansungthipldplxyxxkmacakkhwlbinthxexksery rngsinimikhwameruxngaesngemuxkrathbhlxdaekwkhxngthxexksery inpi 1876 Eugen Goldstein ideriykpraktkarnniwa rngsiaekhothd sungepnthiruckkninpccubnwakhux kraaesxielktrxn txma nkfisikschawxngkvs William Crookes idthakarsuksaphlkhxngkraaesxielktrxninkhwamdnthita aelakideriyksingthiekhakhnphbwa Crookes tube sungepnthxaekwsuyyakas mikhwxielkothrdaerngekhluxniffasung odyekhaidthdlxngnaaephnthayphaphiwkhangthxaekw phbwaekidrxydabnaephn aet Crookes yngimidxthibaypraktkarnni ineduxnemsaynpi 1887 Nikola Tesla iderimthakarsuksarngsiexksodyichthxsuyyakasaerngekhluxniffasungthiekhakhidkhnkhunexng echnediywkb Crookes tube cakwarsartiphimphtang idbngchiwa ekhaidepnphuphthnathxexkserykhun sungaetktangcakthxexkseryxun thimikhwxielkothrdephiyngdanediyw odyhlkkarkhxng Tesla thiidphthnathxexkserykhunma inpccubneriykwakrabwnkar Bremsstrahlung sungepnkrabwnkarthirngsiexkserythithukpldplxyxxkmannekidcakkarerngpracuechnxielktrxninwingphanssarbangchnid inpi 1892 Tesla idthaesnxphlkarthdlxngsungekhayngeriykephiyngwaepnphlngngancakkaraephrngsi intxnnnekhayngimidesnxphlkarthdlxngihepnthikwangkhwangmaknk aetphlcakkarthdlxngkhxngekhasngphltxwngkarwithyasastraelathangkaraephthyinpccubnxyangmak inpi 1892 Heinrich Hertz idthakarthdlxngkbrngsiaekhothdrwmkbaephnolhabang echn xalumieniym txma Philipp Lenard nksuksakhxng Hertz idthakarwicypraktkarnni ekhaidphthnathxaekhothdkhunihmaelaichwsduhlaychnidinkarepntwklang ekhaimidtrahnkelywa nnkhuxkarsrangrngsiexks txma Hermann von Helmholtz idthakarsuksasmkarthangkhnitsastrkhxngrngsiexks ekhaidtngsmmutithankxnthi Rontgen cakhnphbaelaphisucnid sungtxmaepnrakthankhxngthvsdithangkhlunaemehlkiffa inwnthi 8 phvscikayn 1896 Wilhelm Conrad Rontgen nkfisikschaweyxrmn iderimthakarsuksaaelawicyrngsiexkskhnathakarthdlxngkbthxsuyyakas aelwinwnthi 28 thnwakhm 1895 ekhaidekhiynraynganeruxng On a new kind of ray A preliminary communication sungraynganelmniidphudthung rngsiexks sungidrabuiwwaepnrngsithiyngrabupraephthimid cungtngchuxiwkxnwa rngsiexks sngphlihchuxrngsiexksthukichknmaniymmakkwachuxthinkwithyasastrtngihwa rngsierintekn Rontgen rays aelathaih Rontgen idrbrangwloneblsakhafisikscakkarkhnphbaelaphisucnpraktkarnni inkarthdlxngkhxng Rontgen iderimcakkarichekhruxngsrangrngsiaekhothdphanthxaekwsuyyakas ekhaidphbwamiaesngsiekhiywxxnwingpathakbphnngthx ekhaidphbwa aesngcakekhruxngsrangrngsiaekhothdniidthaluphanwsdutang echn kradas im hnngsux ekhaiderimwangwtthuxun hlaypraephthiwhnaekhruxngni aelathaihekhaidphbwa ekhasamarththayehnokhrngrangkhxngkradukmuxkhxngekhaidbnphnng sxngeduxntxmaekhaerimthakarkhnkhwa aelaidthakarphisucnaelatiphimphinpi 1896 inraynganchux On a New Kind of Radiation yxnklbipinpi 1895 Thomas Edison kidthakarsuksaphlkhxngwsduhlaypraephththieruxngaesngiddwyrngsiexks aelaidphb calcium tungstate sungepnwsduthidithisud ineduxnminakhm pi 1896 idrierimphthnaklxngtrwcxwywaphayindwyengarngsiexksbncxeruxngaesng fluoroscope sungmiichknaephrhlayinpccubn aemwa Edison cahyudkarwicyekiywkbrngsiexksinpi 1903 hlngcakkarcakipkhxng Clarence Madison Dally sungepnchangepaaekwkhxngekha Dally intxnnnminisychxbthdsxbthxrngsiexksdwymuxepla ekhaiderimepnmaerngaelacaepntxngtdmuxthngsxngkhangkxnthicaesiychiwit inpi 1906 Charles Barkla idkhnphbwa rngsiexkssamarththukkraecingiddwykas aelaidbxkwawtthuidthimikhunsmbtiechnnicamilksnaechnediywkbrngsiexks characteristic x ray ekhaidrbrangwl Nobel prize inpi 1917 cakkarkhnphbsingni inpi 1912 Max von Laue Paul Knipping and Walter Friedrich idthakarkhnkhwakarebiyngebnkhxngrngsiexksdwykhristl karthdlxngni epncuderimtnkhxngsakha X ray crystallography thiminkfisiks Paul Peter Ewald William Henry Bragg and William Lawrence Bragg idwangrakthanaelaphthnatxma inkarprayuktichrngsiexksthangkaraephthynn radiation therapy iderimtnody Major John Hall Edwards nkfisikschawxngkvsinpi 1908 ekhacaepntxngesiyaekhnsaydwyphlkhxngkaraephrngsiexks aelainpi 1950 idklxngthayphaphexksery x ray microscope idphthnakhunsaerc inpi 1980 elesxrrngsiexks x ray laser thuknamaichinswnhnungkhxngaephnkarpxngknkhxngriaekn Reagan administration s Strategic Defense Initiative aetkimidphldink inpi 1990 hxngaelbexkserycnthra Chandra X ray Observatory iderimichngan aelaiderimkarsrangrngsiexksxyangtxenuxngekidkhun naipsukarkhnkhwawicythangdarasastrsungepriybethiybkbpraktkarntang thiekidkhun echn blackhole karpathakhxngkaaelksi nova rwmthungdawniwtrxnhruxkarraebidtang thiekidkhuninexkphphkarprayuktichthangkaraephthytngaetkarkhnphbkhxng Roentgen warngsiexkssamarthbxkruprangkhxngkradukid rngsiexksidthukphthnaephuxnamaichinkarthayphaphinkaraephthy naipsusakhathieriykwa rngsiwithya odynkrngsiwithyaidich phaphthay radiography thiidmaichinkarchwykarwinicchyorkhnnexng rngsiexksmkthuknamaichinkartrwchasphaphthangphyathiwithyakhxngkraduk aetksamarthhakhwamphidpktikhxngbangorkhthiepnthienuxeyuxthwipid twxyangthiphbehnidthwipechnkarexkserypxd sungsamarthbxkthungkhwamphidpktiidhlayorkh echn orkhpxdbwm pneumonia orkhmaerngpxd lung cancer hruxnathwmpxd pulmonary edema rwmthungkarexkserychxngthxng echnkartrwcphawaxudtninlaiselk ileus phawalmhruxkhxngehlwkhnginchxngthxng inbangkhrngyngichinkartrwchaniwinthungnadi hruxniwinkraephaapssawaid rwmthnginbangkrnisamarthichinkarthayphaphenuxeyuxbangchnid echn smxngaelaklamenuxid aetnbaetinpi 2005 rngsiexksthukkhunbychiinrthbalshrthxemrikawa epnsarkxmaerng karthayphaphenuxeyuxswnihycungthukphthnaodyichethkhnid CAT hrux CT scanning computed axial tomography hruxichethkhnikh MRI magnetic resonance imaging hrux ultrasound thdaethn pccubn karrksaorkhmaerngswnihyidmikarnarngsimachwyinkarrksaorkh radiotherapy aelaidmikarrksaphyathisphaphtang echn karrksaaebb real time inkarphatdthungnadi karkhyayhlxdeluxd angioplasty hruxkarklunsar barium enema ephuxtrwcsphaphlaiselkaelalaisihy odykarich fluoroscopykarprayuktichindanxunrngsiexksidthukphthnanaipichinhlaysakha echn karwiekhraahlksnakhxngxatxmaelakarphlitodyxasykarebiyngebnkhxngrngsiexks x ray crystallography karwicythangdarasastrthixasykarpldplxyrngsiexksthimacakwtthuinwtthu x ray astronomy karthayphaphaelaphlitphaphinkhnadelk x ray microscopic analysis rwmthngkartrwcharxyrawkhnadelkinolha kartidtamphlkhxngtwxyanginkarwicyodyxasykhunsmbtikhxngrngsiexks x ray fluorescence rwmthungichtrwchaxawuthpunhruxraebidinkraepaedinthang k section