ชะมดเช็ด | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Carnivora |
วงศ์: | Viverridae |
วงศ์ย่อย: | Viverrinae |
สกุล: | Viverricula , 1838 |
สปีชีส์: | V. indica |
ชื่อทวินาม | |
Viverricula indica (, 1804) | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของชะมดเช็ด (สีเขียว: สถานที่กระจายพันธุ์ สีชมพู: สถานที่มีความเป็นไปได้ว่าอาจมีประชากรอยู่) |
ชะมดเช็ด หรือ ชะมดเชียง หรือ มูสัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Viverricula indica) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นชะมดขนาดเล็ก ขาสั้น หูทั้งสองข้างอยู่ใกล้กัน เมื่อมองไกล ๆ อาจคล้ายแมว จนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง และมีจุดสีดำขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปตามลำตัว มีแถบสีดำและขาวบริเวณลำคอ หางมีวงสีดำ 6-9 ปล้องพาดขวางอยู่ ทำให้มีดูมีลักษณะเป็นปล้องสีดำ ไม่มีขนแผงสันหลัง ปลายหางมีสีขาว ขาหลังมีต่อมกลิ่นที่ใช้สื่อสารระหว่างพวกเดียวกัน และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Viverricula
ลักษณะ
มีขนาดความยาวลำตัวและหัว 54-63 เซนติเมตร ความยาวหาง 30-43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2-4 กิโลกรัม
ถิ่นที่อยู่
มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางตั้งแต่ตะวันออกของปากีสถาน, อินเดีย, จีนตอนใต้, ไต้หวัน, เนปาล, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบาหลี
ชะมดเช็ดมักอาศัยในป่าที่ไม่รกชัฏ หากินบริเวณชายป่าที่ติดต่อกับพื้นที่ที่มนุษย์อยู่อาศัยและทำการเกษตรกรรม กินอาหารได้หลากหลาย ทั้งพืชและสัตว์ และอาจล่าสัตว์เลี้ยงจำพวก เป็ด, ไก่ กินเป็นอาหารได้ด้วย ออกมากินในเวลากลางคืน นอนหลับพักผ่อนในเวลากลางวัน โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่ตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์จะอาศัยอยู่เป็นคู่ แม่ชะมดเช็ดจะออกลูกครั้งละ 3-5 ตัว โดยขุดโพรงดินตื้น ๆ หรือหาโพรงตามโขดหินสำหรับเป็นที่ออกลูกและเลี้ยงดูลูกอ่อน เมื่อผ่านช่วงผสมพันธุ์ไปแล้ว แม่ชะมดเช็ดจะเลี้ยงลูกตามลำพัง
ในประเทศไทย
ชะมดเช็ดในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกพื้นที่และทุกภาค ในจังหวัดเพชรบุรี มีการเลี้ยงชะมดเช็ดโดยเก็บเอาสารเคมีจากต่อมกลิ่นที่ขาหลังทำเป็นเครื่องหอม โดยเลี้ยงในกรงไม้กรงละตัว ให้อาหารสลับประเภทกันไป แต่ว่ายังไม่สามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ เนื่องจากยังเลี้ยงด้วยวิธีการที่ไม่ถูกต้องตามสุขลักษณะ โดยผู้เลี้ยงจะต้องหาชะมดเช็ดด้วยการจับจากในป่าเท่านั้น จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2014 สวนสัตว์เชียงใหม่ได้ริเริ่มโครงการศึกษาและเพาะเลี้ยงชะมดเช็ดขึ้น จนสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้สำเร็จ โดยเป็นโครงการที่มาจากพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงอนุรักษ์สายพันธุ์ชะมดเช็ดและพัฒนาให้เป็นสัตว์เลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจ
อ้างอิง
- Duckworth, J. W., Timmins, R. J. and Muddapa, D. (2008). "Viverricula indica". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2012.2.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Blanford, W. T. (1888–91). Genus Viverricula Hodgson. Pages 100–101 in: The fauna of British India, including Ceylon and Burma. Mammalia. Taylor and Francis, London.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-30. สืบค้นเมื่อ 2013-04-16.
- การเลี้ยงชะมดเช็ด
- "ตระเวนข่าว: ข่าววันใหม่". ช่อง 3. 29 November 2014. สืบค้นเมื่อ 29 November 2014.[]
แหล่งข้อมูลอื่น
- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Viverricula indica ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chamdechdsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Carnivorawngs Viverridaewngsyxy Viverrinaeskul Viverricula 1838spichis V indicachuxthwinamViverricula indica 1804 aephnthiaesdngkarkracayphnthukhxngchamdechd siekhiyw sthanthikracayphnthu sichmphu sthanthimikhwamepnipidwaxacmiprachakrxyu chamdechd hruxchamdechiyng hrux musng chuxwithyasastr Viverricula indica stweliynglukdwynanmchnidhnung cdepnchamdkhnadelk khasn huthngsxngkhangxyuiklkn emuxmxngikl xackhlayaemw cntamlatwmisinatalehluxng aelamicudsidakhnadelkaethrkxyuthwiptamlatw miaethbsidaaelakhawbriewnlakhx hangmiwngsida 6 9 plxngphadkhwangxyu thaihmidumilksnaepnplxngsida immikhnaephngsnhlng playhangmisikhaw khahlngmitxmklinthiichsuxsarrahwangphwkediywkn aelacdepnsingmichiwitephiyngchnidediywthixyuinskul Viverriculalksnamikhnadkhwamyawlatwaelahw 54 63 esntiemtr khwamyawhang 30 43 esntiemtr nahnk 2 4 kiolkrmthinthixyumikarkracayphnthuthikwangkhwangtngaettawnxxkkhxngpakisthan xinediy cintxnit ithwn enpal bngklaeths phma ithy law kmphucha ewiydnam maelesiy ekaasumatraaelaekaabahli chamdechdmkxasyinpathiimrkcht hakinbriewnchaypathitidtxkbphunthithimnusyxyuxasyaelathakarekstrkrrm kinxaharidhlakhlay thngphuchaelastw aelaxaclastweliyngcaphwk epd ik kinepnxahariddwy xxkmakininewlaklangkhun nxnhlbphkphxninewlaklangwn odypktiaelwcaxasyxyutamlaphng aetinvduphsmphnthucaxasyxyuepnkhu aemchamdechdcaxxklukkhrngla 3 5 tw odykhudophrngdintun hruxhaophrngtamokhdhinsahrbepnthixxklukaelaeliyngdulukxxn emuxphanchwngphsmphnthuipaelw aemchamdechdcaeliyngluktamlaphnginpraethsithychamdechdinpraethsithysamarthphbidthukphunthiaelathukphakh incnghwdephchrburi mikareliyngchamdechdodyekbexasarekhmicaktxmklinthikhahlngthaepnekhruxnghxm odyeliynginkrngimkrnglatw ihxaharslbpraephthknip aetwayngimsamarththicaephaakhyayphnthuinthieliyngid enuxngcakyngeliyngdwywithikarthiimthuktxngtamsukhlksna odyphueliyngcatxnghachamdechddwykarcbcakinpaethann cnkrathnginpi kh s 2014 swnstwechiyngihmidrierimokhrngkarsuksaaelaephaaeliyngchamdechdkhun cnsamarthephaakhyayphnthuinthieliyngidsaerc odyepnokhrngkarthimacakphrarachdarikhxngsmedcphranangecasirikiti phrabrmrachininath thithrngxnurkssayphnthuchamdechdaelaphthnaihepnstweliynginechingesrsthkicxangxingDuckworth J W Timmins R J and Muddapa D 2008 Viverricula indica IUCN Red List of Threatened Species Version 2012 2 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint multiple names authors list lingk Blanford W T 1888 91 Genus Viverricula Hodgson Pages 100 101 in The fauna of British India including Ceylon and Burma Mammalia Taylor and Francis London khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 10 30 subkhnemux 2013 04 16 kareliyngchamdechd traewnkhaw khawwnihm chxng 3 29 November 2014 subkhnemux 29 November 2014 lingkesiy wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Viverricula indicaaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Viverricula indica thiwikispichis