คทาแอสคลีเพียส (Rod of Asclepius) หรือไม้เท้าของแอสคลีเพียส เป็นคทาของเทพแอสคลีเพียส ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งการแพทย์และการรักษาในตำนานเทพปกรณัมกรีก คทาแอสคลีเพียสใช้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงการแพทย์และการรักษามาจนปัจจุบัน แต่ยังมีการใช้สับสนกันระหว่างคทาของแอสคลีเพียสและคทาของเฮอร์มีส ที่ชื่อว่า คาดูเซียส
ตามตำนานเทพปกรณัมกรีก แอสคลีเพียส ซึ่งมีสถานะครึ่งเทพครึ่งมนุษย์ ได้รับการยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าแห่งการแพทย์และการรักษา จะมีคทาประจำตัวอันหนึ่ง มีลักษณะเป็นแท่งและมักจะมีงูหนึ่งตัวพันเกลียวรอบคทาเป็นสัญลักษณ์ แต่ในบางครั้งอาจจะพบว่างูไม่ได้พันเกลียวรอบ แต่มักจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียง
แอสคลีเพียส ร่ำเรียนวิชาการรักษามาจากไครอน ซึ่งเป็นเซนทอร์ที่ชุบเลี้ยงแอสคลีเพียสมาตั้งแต่ยังเป็นทารก จนได้กลายมาเป็นแพทย์ที่มีชื่อเสียงของกรีก แอสคลีเพียสได้ใช้สัญลักษณ์คทาที่มีงูพันเกลียวรอบแทนการแพทย์และการรักษา
สมัยกรีกโบราณมีสถานที่ที่เป็นศาสนสถานสำหรับรักษาโรค (Healing temple) มีชื่อเรียกตามเทพแอสคลีเพียสว่า (Asclepioen) ในตำนานกรีกโบราณมีเหตุการณ์ที่กล่าวถึงแอสคลีเพียสที่สำคัญ คือเมื่อฮิปพอคราทีส บิดาแห่งการแพทย์แผนตะวันตกจะกล่าวคำสัตย์สาบาน (Hippocrates oath) ได้กล่าวการสาบานตนด้วยประโยคว่า "ข้าขอสาบานแด่อะพอลโลผู้เป็นแพทย์ แด่แอสคลีเพียส แด่ไฮเจียและพานาเซีย และแด่เหล่าเทพทั้งมวล" คำสัตย์สาบานของฮิปพอคราทีส ได้เป็นต้นแบบของปฏิญญาอันเป็นจริยธรรมของวิชาชีพแพทย์มาจนถึงปัจจุบันนี้
งูที่พันรอบคทาของแอสคลีเพียส ได้ถูกตีความว่าอย่างหลากหลาย มาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่มีการใช้สัญลักษณ์งูพันรอบคทาของแอสคลีเพียส
การลอกคราบของงู เป็นสัญลักษณ์ของการฟื้นฟูหรือการกำเนิดใหม่ หรือถูกตีความว่าเป็นเหมือนการรักษาของแพทย์ที่ต้องทำงานที่คาบเกี่ยวกันระหว่างความเป็นและความตาย ความคลุมเครือของงูยังแสดงถึงความขัดแย้งในปัจจุบันของการใช้ยา ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยถ้าใช้เหมาะสมและอาจจะให้โทษเมื่อใช้ไม่เหมาะสม ซึ่งไกล้เคียงกับคำในภาษากรีกว่า Pharmakon ที่หมายถึง ยา (medicine) หรือ ยาพิษ (poison) หรือแม้กระทั่งพิษของงูที่ใช้ในการรักษา ที่อาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้หากไม่ระวัง
ยังมีข้อถกเถียงกันอย่างแพร่หลายว่า สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการแพทย์ที่เชื่อว่าเป็นคทาแอสคลีเพียสนั้น ความจริงแล้วเป็นพยาธิที่ชื่อว่า Dracunculus medinensis ซึ่งมักจะชอนไชตามผิวหนังของผู้ป่วยในสมัยโบราณ แพทย์จะรักษาโดยการกรีดผิวหนัง เมื่อพยาธิออกมานอกผิวหนังแพทย์จะใช้อุปกรณ์ที่เป็นแท่งเพื่อพันตัวพยาธิออกมาจนหมด โดยลักษณะที่พยาธิพันบนแท่งนั้น เหมือนกันกับสัญลักษณ์งูพันเกลียวบนคทาของแอสคลีเพียส
ปัจจุบันคทาแอสคลีเพียสถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งสัญลักษณ์ขององค์กรนานาชาติเกี่ยวกับการแพทย์ เช่น องค์การอนามัยโลก สมาคมแพทย์อเมริกัน สมาคมแพทย์แห่งสหราชอาณาจักร สมาคมแพทย์ออสเตรเลีย
ความสับสนระหว่างคทาของแอสคลีเพียส และคทาคาดูเซียส
คทาคาดูเซียส เป็นสัญลักษณ์ที่ผิดและมักใช้สับสนกับคทาของแอสคลีเพียสซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่ถูกต้อง เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ของการแพทย์ โดยถูกใช้อย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา และในหลาย ๆ ประเทศ คทาคาดูเซียส เป็นคทาของเฮอร์มีส เทพผู้แจ้งข่าวของเหล่าเทพเจ้ากรีก ซึ่งมีลักษณะเป็นคทามีปีก 2 ข้างและมีงูพันไขว้กัน คทาคาดูเซียส ใช้เป็นสัญลักษณ์ของการค้า ความมั่งคั่ง การลักขโมย และบางครั้งทางการแพทย์ แทนคทาของแอสคลีเพียสที่เป็นคทาที่ไม่มีปีกและมีงูพันเกลียวเพียงตัวเดียว
การใช้สับสนนี้พบตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 3 เมื่อนักจักษุวิทยาใช้ตรารูปคทาคาดูเซียสบนฉลากยาที่ใช้กับตา เหตุผลที่นำคทาคาดูเซียส มาใช้แทนการแพทย์เนื่องจากเห็นว่า เฮอร์มีสมีความเชื่อมโยงกับการเล่นแร่แปรธาตุ รวมถึงวิชาเคมีและการปรุงยา ซึ่งในภายหลังมีผู้ให้เหตุผลว่า การเล่นแร่แปรธาตุไม่มีความเกี่ยวพันกับการแพทย์
หลักฐานที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งสัณนิษฐานว่าในศตวรรษที่ 18 หน่วยแพทย์ของกองทัพสหรัฐ ได้ใช้คทาคาดูเซียสแทนสัญลักษณ์ และได้ถูกถกเถียงอย่างแพร่หลายถึงความถูกต้อง แต่กองทัพได้ออกมากล่าวว่าสัญลักษณ์คทาคาดูเซียสที่ใช้ในหน่วยแพทย์ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ทางการแพทย์ แต่คทาแสดงถึงอำนาจ งูสองตัวแสดงถึงความรู้ ปีกแสดงถึงความขยัน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับหน่วยแพทย์ของกองทัพ
อย่างไรก็ตาม มีการใช้สัญลักษณ์คทาคาดูเซียส เป็นสัญลักษณ์ทางการแพทย์ และบางแห่งปรับเปลี่ยนจากคทาเป็นคบเพลิง แต่ยังคงความหมายเดิม เช่น สมาคมแพทย์แห่งอินเดีย สมาคมแพทย์แห่งมาเลเซีย และกระทรวงสาธารณสุขของไทย
อ้างอิง
- Medical Symbols in Practice: Myths vs Reality
- Farnell, Chapter 10, "The Cult of Asklepios" (pp. 234–279)
- Albert R. Jonsen, The New Medicine and the Old Ethics, Harvard University Press, 1990, p122-123
- https://www.doctor.or.th/clinic/detail/6957 สัญลักษณ์ทางการแพทย์
- https://stanglibrary.wordpress.com/2014/08/27/คทาคาดูซัส-สัญลักษณ์แห/ คทาคาดูซัส : สัญลักษณ์แห่งวิชาแพทย์
- Bohigian GM. The staff and serpent of Asclepius. Mo Med. 1997;94:210–11.
- Emerson, William K (1996). Encyclopedia of United States Army Insignia and Uniforms. University of Oklahoma Press. pp. 181–182. .
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-18. สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khthaaexskhliephiys Rod of Asclepius hruximethakhxngaexskhliephiys epnkhthakhxngethphaexskhliephiys sungepnethphecaaehngkaraephthyaelakarrksaintananethphpkrnmkrik khthaaexskhliephiysichepnsylksnthiaesdngthungkaraephthyaelakarrksamacnpccubn aetyngmikarichsbsnknrahwangkhthakhxngaexskhliephiysaelakhthakhxngehxrmis thichuxwa khaduesiyskhtha hruximethakhxngaexskhliephiysthiminguphnrxb tamtananethphpkrnmkrik aexskhliephiys sungmisthanakhrungethphkhrungmnusy idrbkarykyxngwaepnethphecaaehngkaraephthyaelakarrksa camikhthapracatwxnhnung milksnaepnaethngaelamkcaminguhnungtwphnekliywrxbkhthaepnsylksn aetinbangkhrngxaccaphbwanguimidphnekliywrxb aetmkcaxyuinbriewniklekhiyng aexskhliephiys raeriynwichakarrksamacakikhrxn sungepnesnthxrthichubeliyngaexskhliephiysmatngaetyngepnthark cnidklaymaepnaephthythimichuxesiyngkhxngkrik aexskhliephiysidichsylksnkhthathiminguphnekliywrxbaethnkaraephthyaelakarrksa smykrikobranmisthanthithiepnsasnsthansahrbrksaorkh Healing temple michuxeriyktamethphaexskhliephiyswa Asclepioen intanankrikobranmiehtukarnthiklawthungaexskhliephiysthisakhy khuxemuxhipphxkhrathis bidaaehngkaraephthyaephntawntkcaklawkhastysaban Hippocrates oath idklawkarsabantndwypraoykhwa khakhxsabanaedxaphxlolphuepnaephthy aedaexskhliephiys aediheciyaelaphanaesiy aelaaedehlaethphthngmwl khastysabankhxnghipphxkhrathis idepntnaebbkhxngptiyyaxnepncriythrrmkhxngwichachiphaephthymacnthungpccubnni ruppnkhxngaexskhliephiys thikhthaminguphnekliyw nguthiphnrxbkhthakhxngaexskhliephiys idthuktikhwamwaxyanghlakhlay matngaetsmykrikobranthimikarichsylksnnguphnrxbkhthakhxngaexskhliephiys karlxkkhrabkhxngngu epnsylksnkhxngkarfunfuhruxkarkaenidihm hruxthuktikhwamwaepnehmuxnkarrksakhxngaephthythitxngthanganthikhabekiywknrahwangkhwamepnaelakhwamtay khwamkhlumekhruxkhxngnguyngaesdngthungkhwamkhdaeynginpccubnkhxngkarichya thicaepnpraoychntxphupwythaichehmaasmaelaxaccaihothsemuxichimehmaasm sungiklekhiyngkbkhainphasakrikwa Pharmakon thihmaythung ya medicine hrux yaphis poison hruxaemkrathngphiskhxngnguthiichinkarrksa thixacthaihthungaekchiwitidhakimrawng yngmikhxthkethiyngknxyangaephrhlaywa sylksnthiaesdngthungkaraephthythiechuxwaepnkhthaaexskhliephiysnn khwamcringaelwepnphyathithichuxwa Dracunculus medinensis sungmkcachxnichtamphiwhnngkhxngphupwyinsmyobran aephthycarksaodykarkridphiwhnng emuxphyathixxkmanxkphiwhnngaephthycaichxupkrnthiepnaethngephuxphntwphyathixxkmacnhmd odylksnathiphyathiphnbnaethngnn ehmuxnknkbsylksnnguphnekliywbnkhthakhxngaexskhliephiys pccubnkhthaaexskhliephiysthukichepnswnhnungsylksnkhxngxngkhkrnanachatiekiywkbkaraephthy echn xngkhkarxnamyolk smakhmaephthyxemrikn smakhmaephthyaehngshrachxanackr smakhmaephthyxxsetreliykhwamsbsnrahwangkhthakhxngaexskhliephiys aelakhthakhaduesiyskhthakhaduesiys epnsylksnthiphidaelamkichsbsnkbkhthakhxngaexskhliephiyssungepnsylksnthithuktxng ephuxichaethnsylksnkhxngkaraephthy odythukichxyangaephrhlayinshrthxemrika aelainhlay praeths khthakhaduesiys epnkhthakhxngehxrmis ethphphuaecngkhawkhxngehlaethphecakrik sungmilksnaepnkhthamipik 2 khangaelaminguphnikhwkn khthakhaduesiys ichepnsylksnkhxngkarkha khwammngkhng karlkkhomy aelabangkhrngthangkaraephthy aethnkhthakhxngaexskhliephiysthiepnkhthathiimmipikaelaminguphnekliywephiyngtwediyw thngsylksnkhxngxngkhkarxnamyolk karichsbsnniphbtngaetsmystwrrsthi 3 emuxnkcksuwithyaichtrarupkhthakhaduesiysbnchlakyathiichkbta ehtuphlthinakhthakhaduesiys maichaethnkaraephthyenuxngcakehnwa ehxrmismikhwamechuxmoyngkbkarelnaeraeprthatu rwmthungwichaekhmiaelakarprungya sunginphayhlngmiphuihehtuphlwa karelnaeraeprthatuimmikhwamekiywphnkbkaraephthy hlkthanthisakhyxikxyanghnungsnnisthanwainstwrrsthi 18 hnwyaephthykhxngkxngthphshrth idichkhthakhaduesiysaethnsylksn aelaidthukthkethiyngxyangaephrhlaythungkhwamthuktxng aetkxngthphidxxkmaklawwasylksnkhthakhaduesiysthiichinhnwyaephthy imidekiywkhxngkbsylksnthangkaraephthy aetkhthaaesdngthungxanac ngusxngtwaesdngthungkhwamru pikaesdngthungkhwamkhyn sungepnsingsakhysahrbhnwyaephthykhxngkxngthph xyangirktam mikarichsylksnkhthakhaduesiys epnsylksnthangkaraephthy aelabangaehngprbepliyncakkhthaepnkhbephling aetyngkhngkhwamhmayedim echn smakhmaephthyaehngxinediy smakhmaephthyaehngmaelesiy aelakrathrwngsatharnsukhkhxngithyxangxingMedical Symbols in Practice Myths vs Reality Farnell Chapter 10 The Cult of Asklepios pp 234 279 Albert R Jonsen The New Medicine and the Old Ethics Harvard University Press 1990 p122 123 https www doctor or th clinic detail 6957 sylksnthangkaraephthy https stanglibrary wordpress com 2014 08 27 khthakhaduss sylksnaeh khthakhaduss sylksnaehngwichaaephthy Bohigian GM The staff and serpent of Asclepius Mo Med 1997 94 210 11 Emerson William K 1996 Encyclopedia of United States Army Insignia and Uniforms University of Oklahoma Press pp 181 182 ISBN 0 585 19489 0 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 05 18 subkhnemux 2018 10 08