การคลอดก่อนกำหนด (อังกฤษ: preterm birth) นั้นสำหรับมนุษย์มักหมายถึงการคลอดทารกก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ มักมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อย” ถ้าคลอดก่อน 30-32 สัปดาห์ น้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่า 1,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อยมาก” สาเหตุของการคลอดก่อนกำหนดนั้นในหลายครั้งมักไม่ปรากฏสาเหตุชัดเจน ปัจจัยที่มีผลหรือสัมพันธ์กับการเกิดการคลอดก่อนกำหนดนั้นมีหลายอย่างมาก ทำให้ความพยายามในการลดการคลอดก่อนกำหนดนั้นเป็นการยากอย่างยิ่ง
การคลอดก่อนกำหนด (Preterm birth) | |
---|---|
ทารกคลอดก่อนกำหนดกำลังได้รับการดูแลพิเศษด้วยการใส่ท่อช่วยหายใจและอยู่ในตู้ให้ความอบอุ่น | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | O60.1, P07.3 |
ICD- | 644, 765 |
10589 | |
001562 | |
ped/1889 | |
MeSH | D047928 |
premature birth มักใช้ในความหมายเดียวกันกับ preterm birth หมายถึงการที่ทารกคลอดก่อนที่อวัยวะต่างๆ จะเจริญเต็มที่พอที่จะมีชีวิตรอดและเจริญเติบโตได้ ทารกที่ premature จะมีความเสี่ยงสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงอาจมีความผิดปกติในการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ด้วย ในปัจจุบันการดูแลทารก premature มีความก้าวหน้ามาก แต่ยังไม่สามารถลดความชุก (prevalence) ของการคลอดก่อนกำหนดได้ ปัจจุบันการคลอด preterm เป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุดของการมีทารก premature และเป็นสาเหตุสำคัญของอัตราตายแรกเกิด (neonatal mortality) ในประเทศที่กำลังพัฒนา
สาเหตุ
ปัจจัยระหว่างการตั้งครรภ์
การติดเชื้อ
ความถี่ของการติดเชื้อในการคลอดก่อนกำหนดจะแปรผกผันกับอายุครรภ์ การติดเชื้อ มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของการคลอดก่อนกำหนดและการแท้งเอง
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karkhlxdkxnkahnd xngkvs preterm birth nnsahrbmnusymkhmaythungkarkhlxdtharkkxnxayukhrrph 37 spdah mkminahnknxykwa 2 500 krm eriykwa tharknahnknxy thakhlxdkxn 30 32 spdah nahnkechliynxykwa 1 500 krm eriykwa tharknahnknxymak saehtukhxngkarkhlxdkxnkahndnninhlaykhrngmkimpraktsaehtuchdecn pccythimiphlhruxsmphnthkbkarekidkarkhlxdkxnkahndnnmihlayxyangmak thaihkhwamphyayaminkarldkarkhlxdkxnkahndnnepnkaryakxyangyingkarkhlxdkxnkahnd Preterm birth tharkkhlxdkxnkahndkalngidrbkarduaelphiessdwykaristhxchwyhayicaelaxyuintuihkhwamxbxunbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10O60 1 P07 3ICD 644 76510589001562ped 1889MeSHD047928 premature birth mkichinkhwamhmayediywknkb preterm birth hmaythungkarthitharkkhlxdkxnthixwywatang caecriyetmthiphxthicamichiwitrxdaelaecriyetibotid tharkthi premature camikhwamesiyngsungthnginrayasnaelarayayaw rwmthungxacmikhwamphidpktiinkarecriyetibotaelaphthnakarthangstipyyaiddwy inpccubnkarduaelthark premature mikhwamkawhnamak aetyngimsamarthldkhwamchuk prevalence khxngkarkhlxdkxnkahndid pccubnkarkhlxd preterm epnsaehtuthisakhythisudkhxngkarmithark premature aelaepnsaehtusakhykhxngxtratayaerkekid neonatal mortality inpraethsthikalngphthnasaehtupccyrahwangkartngkhrrph kartidechux khwamthikhxngkartidechuxinkarkhlxdkxnkahndcaaeprphkphnkbxayukhrrph kartidechux mikhwamsmphnthkbkhwamesiyngthiephimkhunkhxngkarkhlxdkxnkahndaelakaraethngexngxangxingLis R Rowhani Rahbar A Manhart LE August 2015 Mycoplasma genitalium infection and female reproductive tract disease a meta analysis Clinical Infectious Diseases 61 3 418 26 doi 10 1093 cid civ312 PMID 25900174 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk