บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้ เนื่องจากยังไม่มีชื่อภาษาไทยที่กระชับ เหมาะสม, ไม่ปรากฏคำอ่านที่แน่ชัด หรือไม่ปรากฏคำแปลที่ใช้ในทางวิชาการ |
P53 : tumor protein 53 หรือชื่อทางการคือ Cellular tumor antigen p53 เป็น transcription factor ที่ควบคุม cell cycle และยังมีหน้าที่เป็น tumor suppressor ด้วย ทำให้ p53 มีความสำคัญในการยับยั้งมะเร็งของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ จึงมีการกล่าวถึง p53 ว่าเป็น "the guardian of the genome", "the guardian angel gene", หรือ "master watchman" เนื่องด้วยบทบาทในการป้องกันการผ่าเหล่าของสารพันธุกรรม
P53 มีมวลโมเลกุล 53 kilodalton (kDa) เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี SDS-PAGE แต่ในทางมวลโมเลกุลทฤษฏีนั้นจะเป็น 43.7 kilodalton ความแตกต่างที่เกิดขึ้นในทางทฤษฏี กับการวิเคราะห์ด้วย SDS-PAGE เกิดจาก p53 มี กรดอะมิโน Proline ในบริมาณสูงทำให้การ migration บน SDS-PAGE เปลี่ยนไป
ยีนส์
ยีนของมนุษย์ที่เป็นรหัสของโปรตีน p53 คือ TP53 โดยยีนนี้อยู่บนโครโมโซมที่ 17 (17p13.1)
p53 Pathway
p53 อยู่ในระห่างเส้นทางการส่งสัญญาณที่จำเป็นต่อการควบคุมการเจริญเติบโตของเซลล์และ เกิดการเสื่อมสลายของเซลล์ ซึ่งถูกเหนี่ยวนำโดย genotoxic และ non-genotoxic stress (Melino et al., 2002; Vogelstein et al., 2000; Vousden & Lu, 2002)
ในภาวะปกติ ระดับของโปรตีน p53 อยู่ในระดับต่ำ โดยจะจับอยู่กับ binding protein เช่น MDM2, COP1, PIRH2 หรือ JNK ซึ่งจะส่งเสริมการทำลาย p53 ผ่านกระบานการ ubiquitin/proteasome และ p53 จะเพิ่มระดับยีนที่ควบคุมกระบวนนี้ ทำให้ระดับของ p53 ในเซลล์ปกติอยู่ในระดับต่ำ หลังจากเซลล์ได้รับ genotoxic และ non-genotoxic stress โปรตีน p53 จะถูกกระตุ้น กระบวนการนี้มี 2 ขั้นตอน ขั้นแรกเกิดการยับยั้งการจับกันของ p53 กับ mdm2 ทำให้ระดับของ p53 เพิ่มขึ้น และจะเกิดการ overtranslation ของ p53 RNA ด้วย ขั้นที่สอง อนุกรมของตัวควบคุม (kinase, acetylase) จะเพิ่มระดับการ transcription ของ p53
ไม่ว่า cell จะได้รับ stress แบบใด p53 ก็จะถูกกระตุ้น ส่งผลให้เกิดการยับยั้ง cell cycle และการซ่อมแซม DNA หรือ เกิดการเสื่อมสลายของเซลล์ แต่การบวนการเลือกว่าจะเกิดผลอะไรนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด
กระบวนการทำงานของ p53 แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน (Levine et al., Cell Death and Diffrentiation (2006) , 1-10).
- stress signals จะกระตุ้นการทำงานของกระบวนการ
- ตัวกลางกระตุ้น ตรวจจับและแปลผล upstream signals
- การควบคุมส่วนกลางของ p53 จะปฏิกิริยาต่อโปรตีนหลายชนิดเพื่อเพิ่มความเสรียรภาพ
- การเกิด downstream หลักๆ แล้วเป็นการกระตุ้น transcription และการปฏิกิริยาระหว่างโปรตีนกับโปรตีน
- ผลลัพธ์คือการหยุดการเจริญเติบโตของเซลล์ การเสื่อมสลายของเซลล์ หรือการซ่อมแซม DNA
- p53 pathway: Upstream pathway (step 1-3)
- p53 pathways: downstream pathway (step 4-5)
- p53 pathways: The core control of p53
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakyngimmichuxphasaithythikrachb ehmaasm impraktkhaxanthiaenchd hruximpraktkhaaeplthiichinthangwichakar P53 tumor protein 53 hruxchuxthangkarkhux Cellular tumor antigen p53 epn transcription factor thikhwbkhum cell cycle aelayngmihnathiepn tumor suppressor dwy thaih p53 mikhwamsakhyinkarybyngmaerngkhxngsingmichiwithlayesll cungmikarklawthung p53 waepn the guardian of the genome the guardian angel gene hrux master watchman enuxngdwybthbathinkarpxngknkarphaehlakhxngsarphnthukrrm P53 mimwlomelkul 53 kilodalton kDa emuxwiekhraahdwywithi SDS PAGE aetinthangmwlomelkulthvstinncaepn 43 7 kilodalton khwamaetktangthiekidkhuninthangthvsti kbkarwiekhraahdwy SDS PAGE ekidcak p53 mi krdxamion Proline inbrimansungthaihkar migration bn SDS PAGE epliynipyinsyinkhxngmnusythiepnrhskhxngoprtin p53 khux TP53 odyyinnixyubnokhromosmthi 17 17p13 1 p53 Pathwayp53 xyuinrahangesnthangkarsngsyyanthicaepntxkarkhwbkhumkarecriyetibotkhxngesllaela ekidkaresuxmslaykhxngesll sungthukehniywnaody genotoxic aela non genotoxic stress Melino et al 2002 Vogelstein et al 2000 Vousden amp Lu 2002 inphawapkti radbkhxngoprtin p53 xyuinradbta odycacbxyukb binding protein echn MDM2 COP1 PIRH2 hrux JNK sungcasngesrimkarthalay p53 phankrabankar ubiquitin proteasome aela p53 caephimradbyinthikhwbkhumkrabwnni thaihradbkhxng p53 inesllpktixyuinradbta hlngcakesllidrb genotoxic aela non genotoxic stress oprtin p53 cathukkratun krabwnkarnimi 2 khntxn khnaerkekidkarybyngkarcbknkhxng p53 kb mdm2 thaihradbkhxng p53 ephimkhun aelacaekidkar overtranslation khxng p53 RNA dwy khnthisxng xnukrmkhxngtwkhwbkhum kinase acetylase caephimradbkar transcription khxng p53 imwa cell caidrb stress aebbid p53 kcathukkratun sngphlihekidkarybyng cell cycle aelakarsxmaesm DNA hrux ekidkaresuxmslaykhxngesll aetkarbwnkareluxkwacaekidphlxairnnyngimthrabaenchd krabwnkarthangankhxng p53 aebngepn 5 khntxn Levine et al Cell Death and Diffrentiation 2006 1 10 stress signals cakratunkarthangankhxngkrabwnkar twklangkratun trwccbaelaaeplphl upstream signals karkhwbkhumswnklangkhxng p53 captikiriyatxoprtinhlaychnidephuxephimkhwamesriyrphaph karekid downstream hlk aelwepnkarkratun transcription aelakarptikiriyarahwangoprtinkboprtin phllphthkhuxkarhyudkarecriyetibotkhxngesll karesuxmslaykhxngesll hruxkarsxmaesm DNAp53 pathway Upstream pathway step 1 3 p53 pathways downstream pathway step 4 5 p53 pathways The core control of p53wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb P53 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk