บทความนี้ไม่มีจาก(เมษายน 2564) |
สารสื่อประสาท (อังกฤษ: neurotransmitter) คือ สารเคมีที่มีหน้าที่ในการนำ, ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง ตามระบอบความเชื่อ ที่ตั้งขึ้นในทศวรรษที่ 1960 โดยที่สารเคมีนั้นจะเป็นสารสื่อประสาทได้จะต้องเป็นจริงตามเงื่อนไขดังนี้
- สารนั้นต้องสารภายในเซลล์ อันเป็นเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic neuron)
- สารที่พบใน presynaptic neuron จะต้องมีปริมาณเพียงพอที่เมื่อหลั่งออกมาแล้วสามารถทำให้เกิดผลที่ เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ (postsynaptic neuron) ได้
- ถ้าหากนำสารนี้ใส่ไปบริเวณ postsynaptic neuron (หมายถึง สารนั้นไม่ได้มาจาก presynaptic neuron แต่นำสารสกัดหรือสังเคราะห์ใส่ไปในการทดลอง) จะทำให้เกิดผลเหมือนกับผลที่ได้จากการหลั่งสารจาก presynaptic neuron
- จะต้องมีกลไกทางชีวเคมีที่ใช้ในการหยุดการทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น
อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสังกะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาคะตาบอลิซึ่ม เป็นสารสื่อประสาท ดังนั้น จำเป็นต้องมีคำนิยามใหม่ ๆ เกี่ยวกับสารสื่อประสาท เพื่อใช้อธิบายสารใหม่ ๆ ที่พบว่ามีหน้าที่เป็นหรือคล้ายสารสื่อประสาท
ชนิดของสารสื่อประสาท
- กรดอะมิโน (amino acids)
ลักษณะเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก สามารถขนส่งได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น กลูตาเมต (glutamate), ไกลซีน (glycine), GABA เป็นต้น
- Catecholamines
ตัวอย่างเช่น DA, 5-HT, NE เป็นต้น
- Neuropeptides
เป็นสารสื่อประสาทที่มีคุณสมบัติ slow communication ตัวอย่างเช่น substance P เป็นต้น
การส่งสารสื่อประสาท
เมื่อมีการส่งกระแสประสาท สารสื่อประสาทจะถูกนำเข้าสู่เซลล์ประสาทโดยผ่านทางช่องรับสารสื่อประสาทที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของปลายประสาทเดนไดรท์ หรือที่เรียกว่าประตูไอออน (ion channels) ซึ่งประตูไอออนนี้ก็จะมีหลายชนิดแตกต่างกันไปและมีกลไกในการเปิดรับสารสื่อประสาทที่แตกต่างกันด้วย โดยที่ประตูไอออนแต่ละชนิดก็จะจับกับสารสื่อประสาทอย่างจำเพาะเจาะจง เมื่อสารสื่อประสาทเหล่านี้เข้ามาสู่ภายในเซลล์แล้ว ก็จะถูกบรรจุในถุงที่เรียกว่าเวสสิเคิล (vesicle) ซึ่งเวสสิเคิลก็จะเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ประสาทเพื่อส่งสารสื่อประสาทนี้ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆต่อไปตามกลไกของมัน
กลไกในการกำจัดสารสื่อประสาท
เมื่อมีการหลั่งสารสื่อประสาทออกมา หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อยก็จะมีกลไกในการกำจัดสารสื่อประสาทที่เหลือได้หลายรูปแบบดังนี้
- นำกลับไปใช้ใหม่ (Reuptake) คือ การนำสารสื่อประสาทไปบรรจุไว้ในเวสสิเคิลเหมือนเดิม เพื่อทำหน้าที่ในการสื่อสัญญาณประสาทต่อไป
- ทำลายทิ้งโดยเอนไซม์ (Enzymatic degradation) คือ การกำจัดสารสื่อประสาทโดยใช้เอนไซม์เป็นตัวช่วย ทำให้สารสื่อประสาทนั้นมีโครงสร้างที่เสียไป และไม่สามารถใช้งานได้อีก
- การแพร่ออกไป (Diffusion) คือ การแพร่สารสื่อประสาทไปยังบริเวณอื่นๆ
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk emsayn 2564 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sarsuxprasath xngkvs neurotransmitter khux sarekhmithimihnathiinkarna khyay aelakhwbkhumsyyaniffacakesllprasathesllhnungipyngxikesllhnung tamrabxbkhwamechux thitngkhuninthswrrsthi 1960 odythisarekhminncaepnsarsuxprasathidcatxngepncringtamenguxnikhdngni sarnntxngsarphayinesll xnepnesllthieriykwa esllprasathkxnisaenps presynaptic neuron sarthiphbin presynaptic neuron catxngmiprimanephiyngphxthiemuxhlngxxkmaaelwsamarththaihekidphlthi esllprasathhlngisaenps postsynaptic neuron id thahaknasarniisipbriewn postsynaptic neuron hmaythung sarnnimidmacak presynaptic neuron aetnasarskdhruxsngekhraahisipinkarthdlxng cathaihekidphlehmuxnkbphlthiidcakkarhlngsarcak presynaptic neuron catxngmiklikthangchiwekhmithiichinkarhyudkarthangankhxngsarsuxprasathekidkhun xyangirktam bangkhnthuxwassarbangchnid echn ixxxnkhxngsngkasi sungimidsngekhraahhruxekidkhunodyptikiriyakhatabxlisum epnsarsuxprasath dngnn caepntxngmikhaniyamihm ekiywkbsarsuxprasath ephuxichxthibaysarihm thiphbwamihnathiepnhruxkhlaysarsuxprasathchnidkhxngsarsuxprasathkrdxamion amino acids lksnaepnomelkulkhnadelk samarthkhnsngidxyangrwderw twxyangechn klutaemt glutamate iklsin glycine GABA epntn Catecholamines twxyangechn DA 5 HT NE epntn Neuropeptides epnsarsuxprasaththimikhunsmbti slow communication twxyangechn substance P epntnkarsngsarsuxprasathemuxmikarsngkraaesprasath sarsuxprasathcathuknaekhasuesllprasathodyphanthangchxngrbsarsuxprasaththixyubneyuxhumesllkhxngplayprasathednidrth hruxthieriykwapratuixxxn ion channels sungpratuixxxnnikcamihlaychnidaetktangknipaelamiklikinkarepidrbsarsuxprasaththiaetktangkndwy odythipratuixxxnaetlachnidkcacbkbsarsuxprasathxyangcaephaaecaacng emuxsarsuxprasathehlaniekhamasuphayinesllaelw kcathukbrrcuinthungthieriykwaewssiekhil vesicle sungewssiekhilkcaekhluxnthiipyngesllprasathephuxsngsarsuxprasathniipyngesllprasathxuntxiptamklikkhxngmnklikinkarkacdsarsuxprasathemuxmikarhlngsarsuxprasathxxkma hlngcakichnganesrceriybrxykcamiklikinkarkacdsarsuxprasaththiehluxidhlayrupaebbdngni naklbipichihm Reuptake khux karnasarsuxprasathipbrrcuiwinewssiekhilehmuxnedim ephuxthahnathiinkarsuxsyyanprasathtxip thalaythingodyexnism Enzymatic degradation khux karkacdsarsuxprasathodyichexnismepntwchwy thaihsarsuxprasathnnmiokhrngsrangthiesiyip aelaimsamarthichnganidxik karaephrxxkip Diffusion khux karaephrsarsuxprasathipyngbriewnxunduephimrabbprasath smxng prasathwithyasastr