มอเนอรา (อังกฤษ: Monera) เป็นชื่ออาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ประมาณว่ามีจำนวนถึง 4 ล้านสปีชีส์ จำแนกได้เป็น 2 อาณาจักรย่อย คือ อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย, อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
มอเนอรา | |
---|---|
Scanning electron micrograph ใน Escherichia coli | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
กลุ่มที่รวมอยู่ด้วย | |
หน่วยที่รวมโดยแคลดิสติกส์แต่ไม่รวมโดยดั้งเดิม | |
โดเมนยูแคริโอตา |
อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย
อาร์เคียแบคทีเรียผนังเซลล์ไม่มีเปบทิโดไกลแคนอาจจะไม่นับว่าเป็นแบคทีเรีย ดำรงชีวิตในแหล่งน้ำพุร้อน ทะเลที่มีน้ำเค็มจัด บริเวณที่มีความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเลลึก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
- ซึ่งสร้างมีเทน และชอบความเค็มจัด
- ซึ่งชอบอุณหภูมิสูง และกรดจัดมาก
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
นับว่าเป็นแบคทีเรียแท้ แบ่งตามลักษณะการย้อมติดสี(gram's stain)ได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
- (Proteobacteria) พวกสังเคราะห์แสงได้ เช่น (purple-sulfur bacteria) พวกช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศ มาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไรโซเบียม(Rhizobium sp.)ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว
- (Chlamydia) เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หรือหนองใน เป็นต้น
- (Spirochaete) มีรูปทรงเกลียว ดำรงชีวิตแบบอิสระแต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือโรคฉี่หนู
- ไซยาโนแบคทีเรีย(Cyanobacteria) สังเคราะห์แสงได้ มี , แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าเป็นพวกทำให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน เช่น (Anabaena), (Nostoc) และ (Oscillatoria) สามารถตรึงแก๊สไนโตเจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไนเตรต
- แลคโตบาซิลลัส(Lactobacillus sp.) เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได้จึงนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ การทำเนย ผักดองและโยเกิร์ต;
ใช้ทำยาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น; สามารถสร้าง(endospore) ทำให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี บางชนิดเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
- ไมโคพลาสมา(Mycoplasma) เป็นเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมัน ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางพวกทำให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
ลักษณะรูปร่าง
แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็ก ประมาณ 1-5 ไมโครเมตร มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเปบทิโดไกลแคน ภายในเซลลฺไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม และไม่มีโครงสร้างอื่น มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม(coccus), รูปทรงท่อน(bacillus), รูปทรงเกลียว(spirillum)
การดำรงชีวิต
สามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis) หรือใช้พลังจากปฏิกิริยาเคมี (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ สามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่หนาวจัด ร้อนจัด ทะเลมีความเค็มมาก หรือในสภาพที่มีความเป็นกรดสูง
แหล่งข้อมูลอื่น
- Bacterial evolution 2006-05-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by (1987). Woese reviewed the historical steps leading to the use of the term "Monera" and its later abandonment (full text online).
- What is Monera? A descriptive details of the entire kingdom
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mxenxra xngkvs Monera epnchuxxanackrkhxngsingmichiwit pramanwamicanwnthung 4 lanspichis caaenkidepn 2 xanackryxy khux xanackryxyxarekhiyaebkhthieriy xanackryxyyuaebkhthieriymxenxraScanning electron micrograph in Escherichia colikarcaaenkchnthangwithyasastrklumthirwmxyudwyaebkhthieriyaelaxarekhiyhnwythirwmodyaekhldistiksaetimrwmodydngedimodemnyuaekhrioxtaxanackryxyxarekhiyaebkhthieriyxarekhiyaebkhthieriyphnngesllimmiepbthiodiklaekhnxaccaimnbwaepnaebkhthieriy darngchiwitinaehlngnaphurxn thaelthiminaekhmcd briewnthimikhwamepnkrdsung aelabriewnthaelluk aebngxxkepn 2 klum khux sungsrangmiethn aelachxbkhwamekhmcd sungchxbxunhphumisung aelakrdcdmakxanackryxyyuaebkhthieriynbwaepnaebkhthieriyaeth aebngtamlksnakaryxmtidsi gram s stain idepn 2 klumihy khux aebkhthieriyaekrmlb Proteobacteria phwksngekhraahaesngid echn purple sulfur bacteria phwkchwytrungaeksinotrecninxakas masrangepnsarprakxbinotrecnindin sungepnpraoychntxkarecriyetibotkhxngphuch echn irosebiym Rhizobium sp inpmrakkhxngphuchtrakulthw Chlamydia epnprsitinesllstwthaihekidorkhtidtxthangephssmphnth echn hruxhnxngin epntn Spirochaete mirupthrngekliyw darngchiwitaebbxisraaetbangspichisepnsaehtukhxngorkhsifilis hruxorkhchihnu isyaonaebkhthieriy Cyanobacteria sngekhraahaesngid mi aekhorthinxyd aelaifokhbilin nkwithyasastrkhadwaepnphwkthaihxxksiecninbrryakasephimmakkhun kxihekidwiwthnakarkhxngsingmichiwitthihayicodyichxxksiecninpccubn echn Anabaena Nostoc aela Oscillatoria samarthtrungaeksinotecninxakas ihepnsarprakxbinetrtaebkhthieriyaekrmbwk aelkhotbasills Lactobacillus sp epnphwkphlitkrdaelktikidcungnamaichinxutsahkrrmxahar idaek karthaeny phkdxngaelaoyekirt ichthayaptichiwna echn yasetrbotmysin yaettraiskhlin epntn samarthsrang endospore thaihthnthantxsphaphaewdlxmthiimehmaasmiddi bangchnidepnsaehtuthaihekidorkhaexnaethrks imokhphlasma Mycoplasma epnesllthiimmiphnngesll miephiyngeyuxhumesllthiprakxbdwychnkhxngikhmn swnihyimkxihekidxntraytxsingmichiwitxun aetmibangphwkthaihekidorkhpxdbwminkhnaelawwlksnaruprangaebkhthieriyepnsingmichiwitesllediywthimikhnadelk praman 1 5 imokhremtr miphnngesllepnsarprakxbepbthiodiklaekhn phayinesll immieyuxhumsarphnthukrrm aelaimmiokhrngsrangxun miruprang 3 aebb idaek rupthrngklm coccus rupthrngthxn bacillus rupthrngekliyw spirillum kardarngchiwitsamarthsrangxaharexngidodyichphlngngancakaesng photosynthesis hruxichphlngcakptikiriyaekhmi chemosynthesis echn slefxraebkhthieriy aetswnihysrangxaharexngimid samarthxyuidinsphaphaewdlxmthihnawcd rxncd thaelmikhwamekhmmak hruxinsphaphthimikhwamepnkrdsungaehlngkhxmulxunBacterial evolution 2006 05 08 thi ewyaebkaemchchin by 1987 Woese reviewed the historical steps leading to the use of the term Monera and its later abandonment full text online What is Monera A descriptive details of the entire kingdombthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk